เฉลย แบบฝึกหัด ภาษาไทยเพื่ออาชีพ บทที่ 2

การวิเคราะห์และประเมินค่าสารจากการฟัง การดู และการอ่าน การวิเคราะห์สารเป็นกระบวนการภายในสมองที่เกิดขึ้นขณะที่รับสาร (ฟัง ดู อ่าน) โดย ผู้รับสารต้องฝึกใช้ความคิด พิจารณาแยกแยะสิ่งต่าง ๆ ที่ได้จากสาร ซึ่งหากผู้รับสารมีความสามารถ ในการวิเคราะห์แล้วก็ส่งผลให้เป็นผู้ที่มีเหตุผล มีความรอบรู้ สามารถน าประโยชน์จากการอ่านไป ใช้ในชีวิตประจ าวันได้ 

                ๑.๑ ความหมายของการฟัง และการดู ราตรี โพธิ์เต็ง กล่าวว่า การฟัง หมายถึง กระบวนการ รับสาร หรือรับรู้เรื่องราวต่าง ๆ ผ่านประสาทสัมผัสทางหู โดยจะต้องได้ยินเสียง เกิดการรับรู้และ เข้าใจ การดู หมายถึง กระบวนการรับสารผ่านทางสายตา โดยจะต้องเห็นภาพและเข้าใจ ความหมายของภาพนั้น 

                ๑.๒ จุดมุ่งหมายของการฟังและการดู 

๑.๒.๑ เพื่อให้ได้รับสาระความรู้ ได้แก่ การฟัง การดู ข่าวสาร ข้อมูลต่าง ๆ 

๑.๒.๒ เพื่อให้เกิดความเพลิดเพลิน ได้แก่ การฟัง การดู ละคร 

๑.๒.๓ เพื่อให้เกิดความจรรโลงใจ ได้แก่ การฟัง การดู เรื่องราว หรือ ข้อมูลต่าง ๆ ที่ ช่วยพัฒนาตนเอง และสังคม เช่น การฟัง การดูการแสดงธรรม

                 ๑.๓ ประโยชน์ของการฟัง และการดู 

    ๑.๓.๑.๑ ท าให้ได้รับรู้เรื่องราวต่าง ๆ สามารถเข้าใจข้อความส าคัญของเรื่อง และจุดมุ่งหมายของการสื่อสาร 

    ๑.๓.๑.๒ ช่วยพัฒนาสมรรถภาพการใช้ภาษา เนื่องจากได้เรียนรู้กระบวนการพูด ที่ดีของผู้อื่น 

    ๑.๓.๑.๓ เป็นพื้นฐานที่ท าให้เกิดสมรรถภาพทางความคิด ผู้ฟัง ผู้ดู จะได้พัฒนา พื้นฐานความรู้ และสติปัญญาจากการรวบรวมข้อมูล และข้อคิดต่าง ๆ 

    ๑.๓.๑.๔ การเป็นผู้ฟัง ผู้ดูที่ดีท าให้ได้เรียนรู้มารยาทในการเข้าสังคม เมื่อเข้า สังคมจะท าให้เกิดบรรยากาศของความเป็นมิตร และได้รับการยอมรับ ๙

    ๓ ๑.๓.๒ ประโยชน์ต่อสังคม การฟัง การดูที่ดีก่อให้เกิดประโยชน์แก่สังคม และประเทศชาติ ในแง่ที่ว่าเมื่อผู้ฟัง ผู้ดูน าความรู้และแง่คิดต่าง ๆ ไปใช้จนเกิดผลดีจากการปฏิบัติแล้ว สังคมก็จะได้ ประโยชน์ทางอ้อมไปด้วย เช่น เมื่อเราได้ฟัง ได้ดูเกี่ยวกับวิธีดูแลรักษาสุขภาพ และน าไปปฏิบัติจนเป็น ผู้มีสุขภาพพลานามัยที่แข็งแรงแล้ว ขณะเดียวกันสังคมก็จะมีสมาชิกที่มีสุขภาพแข็งแรงด้วย ๑.๔ ลักษณะการฟังและการดูที่มีประสิทธิภาพ การฟังและการดูที่มีประสิทธิภาพต้องมี องค์ประกอบ ดังนี้ 

๑.๔.๑ มีจุดมุ่งหมายในการฟัง และการดูว่าจะฟังและดูเพื่ออะไร การฟังและดูโดยขาด จุดมุ่งหมายท าให้ไม่ได้รับประโยชน์เท่าที่ควร 

๑.๔.๒ เลือกฟัง และดูในสิ่งที่เหมาะสมและเป็นไปในทางสร้างสรรค์ เพื่อเป็นการ ยกระดับจิตใจให้สูงขึ้น 

๑.๔.๓ ฟังและดูโดยไม่มีอคติ โดยวางใจให้เป็นกลาง ใจกว้างพอที่จะยอมที่จะยอมรับ ฟังความคิดเห็นที่แตกต่างออกไป 

๑.๔.๔ ฟังและดูด้วยความตั้งใจมีสมาธิ โดยสลัดความกังวลอื่น ๆ ให้พ้นจากจิตใจ ตั้งใจฟัง และดูก็จะเข้าใจเรื่องราวและได้รับประโยชน์อย่างเต็มที่ 

๑.๔.๕ จับใจความส าคัญของเรื่องได้ โดยต้องใช้การสังเกต มีความรอบคอบเพื่อจับ ความคิดส าคัญของเรื่อง สรุปความคิดรวบยอดในเรื่องได้ และจดจ าเพื่อน าไปถ่ายทอดต่อ 

๑.๔.๖ ฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ โดยพยายามวิเคราะห์ ใคร่ครวญ วินิจฉัย และ ประเมินค่าสิ่งที่ได้ฟังและดูว่าดีหรือไม่ สมเหตุสมผลหรือไม่ 

๑.๔.๗ จดบันทึกสิ่งที่ได้ฟังและดูอย่างถูกวิธี โดยไม่จ าเป็นต้องจดทุกค าพูด อาจใช้ อักษรย่อหรือเครื่องหมายต่าง ๆ เพื่อให้จดบันทึกได้เร็วขึ้น และหลังจากนั้นค่อยน ามาเรียบเรียงใหม่ ให้สมบูรณ์ 

                    ๑.๕ ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการฟัง การดูขึ้นอยู่กับปัจจัยต่อไปนี้ 

๑.๕.๑ ผู้ส่งสารมีความสามารถในการถ่ายทอดเรื่องราวต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิผล 

๑.๕.๒ ผู้ฟัง ผู้ดู มีความศรัทธาต่อผู้ส่งสาร 

๑.๕.๓ อยู่ในสถานที่ ที่เหมาะสม เช่น สถานที่ ที่มีอากาศถ่ายเทดี ไม่ร้อนหรือเย็น เกินไป 

๑.๕.๔ ไม่ใจลอย หรือมีจิตใจฟุ้งซ่านขณะที่ฟัง ดู 

๑.๕.๕ มีประสบการณ์ในการฟัง และดูเรื่องที่มีเนื้อหายาก ๆ มาบ้างแล้ว 

๑.๕.๖ ผู้ฟัง ผู้ดู ใช้ภาษาเดียวกับผู้ส่งสารจึงจะสามารถเข้าใจถ้อยค าภาษาของผู้ส่งสารได้ดี ๙๔ อย่างไรก็ตามแม้ว่าผู้ฟัง ผู้ดู จะมีลักษณะการฟัง การดู ดังที่กล่าวมาแล้วก็ตาม 

แต่ บางครั้ง การรับสารก็อาจจะไม่สัมฤทธิผล ดังนั้นสิ่งส าคัญก็คือ ต้องมีความเชื่อมั่น และต้อง ปรับปรุงสมรรถภาพการฟังอยู่เสมอ โดยสังเกตข้อบกพร่องในการฟัง และต้องรีบแก้ไข ปรับปรุง การฟังทุก ๆ ครั้ง

ปฏิบัติเกี่ยวกับการฟังคำสั่งหรือข้อแนะนำการปฏิบัติงาน การฟังและดูสารในงานอาชีพจากสื่อบุคคล  สื่อสิ่งพิมพ์  สื่ออิเล็กทรอนิกส์และแหล่งเรียนรู้ในชุมชน การอ่านคู่มือการปฏิบัติงาน คู่มือการใช้อุปกรณ์หรือรายละเอียดของผลิตภัณฑ์  การนำเสนอผลงาน การสาธิตขั้นตอนการปฏิบัติงานหรือกระบวนการผลิตชิ้นงาน  การสัมภาษณ์งาน การพูดติดต่อสื่อสารงาน การเขียนรายงานการปฏิบัติงาน การเขียนโครงการและแผนธุรกิจ  และการเขียนโฆษณาประชาสัมพันธ์ในงานอาชีพ

ใบความรู้ วชิ าภาษาไทยเพื่ออาชีพ (Thai for Careers) รหสั วชิ า ๒๐๐๐๐-๑๑๐๒ รายวิชาภาษาไทยเพื่ออาชีพ จานวน ๑ หนว่ ยกิต ๐–๒–๑ จุดประสงค์รายวิชา เพอื่ ให้ 1. มีทักษะในการใช้ภาษาไทยเพื่อสอ่ื สารในงานอาชีพถกู ตองตามหลักการใช้ภาษา 2. สามารถนาทกั ษะทางภาษาไทยไปใชพ้ ฒั นาตนเองและงานอาชีพ 3. เหน็ คุณคา่ และความสาคญั ของการใช้ภาษาไทยในงานอาชพี สมรรถนะรายวชิ า 1. วิเคราะหส์ งเคราะหแ์ ละประเมินค่าสารในงานอาชพี จากการฟังการดูและการอ่านตามหลกั การ 2. พดู ส่อื สารในงานอาชพี ตามหลกั การ 3. เขยี นเอกสารในงานอาชพี ตามหลกั การ คาอธบิ ายรายวชิ า ปฏบิ ตั ิเกย่ี วกบั การฟังคาสงั่ หรอื ขอแนะนาการปฏบิ ัตงิ าน การฟงั และดสู ารในงานอาชพี จากส่อื บคุ คล สือ่ สงิ่ พมิ พส์ ือ่ อิเล็กทรอนิกส์และแหลง่ เรียนรใู้ นชุมชน การอา่ นคู่มือการปฏบิ ตั ิงาน คู่มือการใช้อุปกรณห์ รือ รายละเอียดของผลิตภณั ฑ์ การนาเสนอผลงาน การสาธิตข้นตอนการปฏิบัตงิ านหรือกระบวนการผลิตชิ้นงานการ สมั ภาษณ์งาน การพูดติดตอ่ ส่อื สารงาน การเขียนรายงานการปฏิบัตงิ าน การเขยี นโครงการและแผนธุรกิจและการ เขียนโฆษณาประชาสมพันธใ์ นงานอาชีพ

เรื่อง การใช้ภาษาไทยในงานอาชีพ 1. สาระสาคัญ ภาษาเป็นเครื่องมือสาหรับใช้ติดต่อส่ือสารในทุกสาขาอาชีพเป็นเครื่องมือในการพัฒนางานอาชีพให้มี ความก้าวหน้าและทันสมัยและเป็นเครื่องมือในการสร้างมนุษยสัมพันธ์ท่ีดีของคนในองค์กร ฉะน้ันจึงควรใช้ ภาษาไทยอย่างถกู วิธี 2. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ จุดประสงคท์ ว่ั ไป 1) เพอ่ื ให้มีความรู้เบื้องตน้ เกย่ี วกับการใชภ้ าษาไทยในงานอาชพี 2) เพ่ือใหม้ ีความเข้าใจกระบวนการสื่อสารโดยการการใชภ้ าษาไทย จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม/บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพียง 1) พทุ ธิพิสยั 1. บอกความหมายของภาษาได้ 2. อธบิ ายความสาคญั ของการใชภ้ าษาไทยได้ 3. อธิบายการใช้ภาษาไทยเพีอ่ ประโยชนใ์ นงานอาชีพได้ 2) ทกั ษะพิสยั 1. สื่อสารได้โดยความเข้าใจในกระบวนการสือ่ สาร 2. สอื่ สารโดยใช้ภาษาไทยในงานอาชพี ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 3. ส่อื สารโดยใชภ้ าษาไทยอยา่ งมีศลิ ปะในงานอาชพี 3) จติ พิสยั 1. เตรยี มพร้อมอยเู่ สมอเมื่อมีโอกาสฝกึ การสอื่ สารในงานอาชพี 2. หม่นั ฝกึ ปฏบิ ัติการสือ่ สารเม่ือมโี อกาสอย่างสม่าเสมอ 3. สมรรถนะประจาหนว่ ย สามารถใช้ภาษาไทยในงานอาชีพตามเงือ่ นไขทีก่ าหนด 4. สาระการเรยี นรู้ ความหมายของภาษา ภาษา คือ เครื่องหมายหรอื สัญลักษณ์ที่มนุษย์คิดคน้ ขนึ้ เพื่อใชเ้ ป็นเคร่อื งมอื ในการติดตอ่ ส่อื สารซ่ึงกัน และกนั ทกุ ชาติทุกภาษาย่อมมกี ารคดิ ค้นภาษาข้ึนใชใ้ นหมชู่ นของตนเองเพื่อประโยชน์ในการสอ่ื สารและ ประโยชนด์ ้านอื่น ๆ อันเปน็ ผลมาจากภาษา

ความสาคญั ของภาษาไทย 1.ภาษาไทยเป็นเอกลกั ษณ์ของชนชาติไทย มลี กั ษณะเด่น ดังน้ี -ภาษาไทยเปน็ ภาษาคาโดด เช่น คาเรยี กคน สัตว์ สงิ่ ของ คาเรยี กเครือญาติ มักเปน็ คา ๆ เดียวโดด ๆ จงึ เรยี กวา่ “ภาษาคาโดด” -ภาษาไทยเป็นภาษาท่มี คี วามลดหล่ันชนั้ เชิง เช่น การใชค้ าเรยี กท่ีมีการแบ่งแยกตามระดบั อาวุโส ความสาคญั หรือตามตาแหนง่ -ภาษาไทยมีระบบระเบียบในการเรยี งคาเข้าประโยค ในประโยคจะประกอบไปด้วยกลุ่มคาทาหนา้ ที่ตรง ตามที่กาหนดไว้ เชน่ ประธาน กริยา กรรม 2.ภาษาเป็นเคร่อื งมือส่ือสารของคนในสงั คม ดงั น้ี -การประชาสมั พันธ์ในการจดั งานต่าง ๆ เช่น โครงการพฒั นาท่ีต้องอาศัยความร่วมแรงรว่ มใจกนั ซง่ึ ตอ้ งอาศยั การส่อื สารแบบประชาสมั พันธ์ -การตดิ ตอ่ สอื่ สารในชีวติ ประจาวนั คนสว่ นใหญ่ตอ้ งมกี ารตดิ ต่อกจิ ธุระต่อกนั เปน็ กิจวตั ร โดยใช้ภาษา สอื่ สารกนั -การชแ้ี จงกฎระเบียบขอ้ บงั คับต่าง ๆ ให้แก่คนในสังคม -การปรกึ ษาหารอื ในการแกไ้ ขปัญหา โดยอาศัยความรว่ มมือซง่ึ กันและกนั 3.ภาษาเปน็ เคร่ืองมือในการเผยแพร่วชิ าความรู้ เชน่ -การเรยี นการสอนในสถานศกึ ษาท่วั ไป -การรวบรวมจัดเกบ็ ข้อมูลอยา่ งเป็นระบบ -การประชาสัมพนั ธใ์ ห้ความรแู้ ก่ชมุ ชน การใช้ภาษาไทยเพอ่ื ประโยชน์ในงานอาชีพ การใชภ้ าษาไทยเพือ่ ประโยชนใ์ นงานอาชพี ผู้ใช้ภาษาจะต้องคานงึ ถงึ องคป์ ระกอบหลาย ๆ อย่างท่จี ะทา ใหเ้ กดิ ผลสาเรจ็ ในงานอาชพี โดยคานึงถึงสิ่งตอ่ ไปนี้ 1.ความถกู ตอ้ งในการใช้ภาษา -การอา่ นเคร่ืองหมายต่าง ๆ -การอ่านตวั เลขต่าง ๆ -การเขียนศัพท์บัญญตั ิ -การเขยี นคาทับศพั ท์

เร่ือง การฟงั และดูสารในงานอาชีพ สาระสาคญั การฟังและการดูมคี วามสัมพนั ธก์ นั อยา่ งชดั เจนและเป็นทักษะท่ีใช้มากทส่ี ุดในชีวิตประจาวัน ผู้รับสารดว้ ย การฟังและดูควรใช้สติปัญญาไตร่ตรองอย่างมีวิจารณญาณเพราะอาจมีข้อมูลข่าวสารส่วนหน่ึงท่ีไม่มีการพิสูจน์ ขอ้ เทจ็ จรงิ ถอื เปน็ อนั ตรายอย่างยิง่ ต่อการรับสาร การฟังและการดู กค็ ือ การรับรู้ความหมายของสารโดยความสมั พนั ธ์ของอวัยวะรับสารจากสอื่ ประเภทท่ีมี เสียงหรอื ภาพ และท่มี ที ้ังเสียงและภาพ ความสาคญั ของการฟงั และดู ในชีวิตประจาวันของมนุษย์เราน้ันกิจกรรมท่ีต้องใช้การฟังและดูมากที่สุดในแต่ละวัน การพัฒนา ความสามารถของมนุษย์เกิดจากการเรียนรู้ ฉะน้ัน กิจกรรมท่ีเก่ียวข้องกับการฟังและดูจึงมีส่วนสร้างเสริมและ พฒั นาศักยภาพของมนษุ ยใ์ นหลาย ๆ ดา้ น ดังนี้ ด้านสติปัญญา การฟงั และดมู ีสว่ นช่วยในการพฒั นาสติปัญญาของมนุษย์ ตง้ั แตแ่ รกเกดิ และเจรญิ วยั ขน้ึ โดยลาดบั ความรูท้ ี่ไดร้ ับจากการฟังและดูจะถูกเก็บสะสมไว้ และสามารถนามาใชไ้ ด้ในทุกสถานการณ์ เช่น การตอบข้อ ซกั ถาม การตอบขอ้ สมั ภาษณ์ การอธิบาย การบรรยาย การปาฐกถา การเลา่ เร่ือง แมก้ ระท่งั การสนทนากันทั่ว ๆ ไปในชวี ิตประจาวัน ด้านอารมณ์ กิจกรรมที่เกี่ยวขอ้ งกบั การฟังและดูท่มี สี ่วนช่วยในพัฒนาการด้านอารมณข์ องมนุษย์ในยามท่จี ิตใจสบาย หรอื ตอ้ งการผ่อนคลายความเครียด มนุษย์เรามวี ธิ ีผอ่ นคลายความเครยี ดไดห้ ลากหลายรปู แบบ หนึ่งในนน้ั ยอ่ มมี กจิ กรรมการฟังและดอู ยู่ด้วย เช่น ดภู าพยนตร์ ฟงั เพลง ดคู อนเสิร์ต สารคดีทไี่ ม่หนกั สมองอยา่ งสารคดี ทอ่ งเท่ยี ว เป็นต้น ดา้ นสงั คม โดยปกตแิ ลว้ กิจกรรมทางสงั คมของมนษุ ย์ในแต่ละหนว่ ยงานหรอื องค์กรย่อมมีความสัมพนั ธ์กับกจิ กรรม การฟงั และดูอยู่เสมออยา่ งแยกไม่ออก ทเ่ี ป็นเชน่ นก้ี เ็ พราะว่าการฟงั และดเู ปน็ สว่ นหน่งึ ของชวี ติ ประจาวนั ของ มนุษย์เราน่นั เอง ดังนนั้ ไม่วา่ หน่วยงานหรือองคก์ รจะจัดกิจกรรมใด ๆ ขนึ้ มาใหป้ ระสบผลสาเรจ็ บคุ ลากรในงาน จะต้องรับรู้รับทราบรว่ มกัน เร่มิ ตงั้ แต่การเขา้ ประชุม รับฟงั การประชมุ ตรวจตราสถานทจ่ี ดั ดาเนินงาน และอื่น ๆ อกี มากมายทีจ่ ะตอ้ งใช้ความรแู้ ละประสบการณ์ในการฟงั และดู

ดา้ นคณุ ธรรม คณุ ธรรมเป็นภมู ิความร้ขู ้ันสงู เหนอื ความรู้ทั่วไปท่ีมสี ั่งสมไวเ้ ฉพาะมนุษยเ์ ท่านั้น เกิดจากประสบการณ์ใน ฟังและดูในสง่ิ ทก่ี อ่ ให้เกิดปญั ญารูค้ ดิ ในเชงิ สร้างสรรคแ์ ละนาน ๆ เข้ากพ็ ัฒนาข้นึ กลายเปน็ คุณธรรมประจาตนของ บุคคลนน้ั ๆ อยา่ งไรกต็ าม มนุษยส์ ามารถพฒั นาตนเองในด้านคณุ ธรรมโดยอาศยั การฟังและดู อาทิ การฟังและ ดูรายการธรรมะ บทความหรือสารคดีในบางแง่มุมของชีวติ มขี อ้ คดิ คาคม หรอื คติคาสอนต่าง ๆ จุดมุ่งหมายของการฟงั และดู ส่ิงสาคัญประการแรก ผู้ฟังสามารถกาหนดจุดมุ่งหมายในการฟังและดูสารให้สอดคล้องกบั ความต้องการ ของตนเอง เพราะจดุ มงุ่ หมายเปรยี บเสมอื นเขม็ ทิศทจี่ ะนาพาให้ผู้ฟังได้รับผลสมั ฤทธิ์ใน การฟงั และดู จุดมุ่งหมายของการฟงั และดู มดี งั น้ี 1.เพอ่ื ความรู้ 2.เพอื่ ความเพลดิ เพลิน 3.เพอื่ ความจรรโลงใจ 4.เพื่อการตัดสนิ ใจ ประเภทของส่ือในการฟงั และดู จาแนกตามลกั ษณะของสอ่ื ทม่ี ีความสัมพนั ธก์ บั การฟงั และดู โดยไดจ้ าแนกประเภทของสอ่ื เป็น 4 ประเภท คือ 1.สื่อบคุ คล เช่น นักพูด นกั วชิ าการ ผ้ปู ระกาศขา่ ว นกั ปราชญ์ชมุ ชน นักแสดง 2.สื่อส่ิงพมิ พ์ เช่น หนงั สอื พมิ พ์ นติ ยสาร วารสาร แผน่ พบั แผน่ โปสเตอร์ 3.สื่ออิเล็กทรอนกิ ส์ เช่น วิทยกุ ระจายเสยี ง วทิ ยสุ อ่ื สาร โทรทัศน์ คอมพวิ เตอร์ 4.สอื่ แหลง่ เรยี นร้ใู นชมุ ชน เชน่ วัด โบราณสถาน พิพิธภณั ฑ์ ศูนยว์ ัฒนธรรม สวนพฤกษชาติ ประเภทของสารในงานอาชีพ 1.สารทใ่ี ห้ความรู้ 2.สารทใี่ ห้ความเพลิดเพลนิ ใจ 3.สารทใี่ ห้ความจรรโลงใจ 4.สารทใี่ ห้ความโนม้ นา้ วใจ หลกั การฟงั และดสู ารในงานอาชพี 1.เมอ่ื ต้องการจะทากิจกรรมในการฟงั และดู ผู้ฟงั ควรต้ังจดุ ประสงคใ์ นการฟังและดูเปน็ อนั ดับแรก เช่น ฟังและดขู ่าวเกษตรกรเพราะสนใจเรือ่ งมเี ทคนิคอะไรใหม่ ๆ บ้างในวงการเกษตร 2.ผู้ฟังควรมีวิจารณญาณในการฟังและดูในทุกกิจกรรมของการฟังและดู โดยเฉพาะการฟังและดูสารท่ี โนม้ น้าวใจ โดยเริ่มตง้ั แต่การจบั ประเดน็ สาคัญของเรื่องท่ีได้ฟังใหไ้ ด้เสยี ก่อน จากน้นั ควรมีการแยกแยะข้อเท็จจริง ออกจากขอ้ คิดเหน็ หรอื ข้อแสดงความรสู้ กึ และอารมณ์ของผฟู้ งั คานึงถึงผพู้ ูด วเิ คราะหเ์ นือ้ หาสาระของสาร การ

นาเสนอเป็นไปในทางสร้างสรรค์หรอื ไม่ สดุ ทา้ ยควรประเมินค่า ความน่าเชือ่ ถอื ความเป็นไปได้ ความเหมาะสม ในการนาไปใช้ 3.ผู้ฟงั ควรมกี ารจดบันทึกหรืออาจใชเ้ ทคโนโลยที ี่ทนั สมัยช่วยในการบันทกึ ก็ได้ เร่ือง การฟงั คาสัง่ และอ่านคู่มอื ในการปฏบิ ัตงิ าน 1.สาระสาคญั การฟงั คาส่งั และการอ่านคมู่ ือในการปฏบิ ตั งิ าน เปน็ วธิ ีการรบั สารรปู แบบหนึ่งท่ใี ชใ้ นการสอื่ สารเพ่ือการ ปฏิบัตงิ าน การฟงั คาสั่งและอ่านคมู่ ือจาเป็นต้องอาศัยการฝึกฝนจนเกดิ ความชานาญ ผลก็คือจะช่วยให้เกดิ ประสทิ ธิภาพยิ่งขน้ึ 2. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ จดุ ประสงค์ท่ัวไป 1) เพอ่ื ใหม้ ีความรูพ้ ื้นฐานเกย่ี วกับการฟังคาสง่ั ในการปฏบิ ตั งิ าน 2) เพื่อใหม้ ีความรพู้ ืน้ ฐานเกีย่ วกับการอา่ นคูม่ ือในการปฏบิ ัตงิ าน 3) เพ่อื ใหร้ จู้ ักวิธกี ารฟงั คาสงั่ และอ่านคูม่ อื ในการปฏิบตั ิงาน จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม/บูรณาการเศรษฐกิจพอเพยี ง 1) พุทธพิ สิ ัย 4.บอกความรทู้ ่ีได้รับจากการฟังคาสัง่ ในการปฏบิ ัติงานได้ 5.บอกความรทู้ ่ไี ดร้ ับจากการอา่ นคู่มอื ในการปฏบิ ตั งิ านได้ 6.บอกหลกั ในการรบั ฟังคาสงั่ และอา่ นคู่มือในการปฏบิ ตั ิงานได้ 2) ทกั ษะพิสัย 1.รบั ฟังคาสง่ั ในขณะปฏบิ ตั งิ านไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ 2.อา่ นคู่มอื ในขณะปฏบิ ตั งิ านไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ 3) จติ พิสัย 1. มคี วามตง้ั ใจในฝึกการปฏบิ ัติงานตามคาส่งั 2. มีกระตือรือร้นท่ีจะฝกึ ฝนการปฏบิ ตั งิ านอยเู่ สมอ 3. สมรรถนะประจาหนว่ ย 1.ปฏิบัตงิ านตามคาสง่ั ในสถานการณ์ท่กี าหนดให้ 2.อา่ นคมู่ อื ตามเง่ือนไขและสถานการณท์ ีก่ าหนดให้

4. สาระการเรยี นรู้ ความหมายของการฟงั คาส่ัง การฟงั คาสงั่ คือ การทีผ่ ้รู บั สารใช้การฟงั ในการรบั สาร แปลความหมายของสารที่อย่ใู นรูปแบบของคาส่ัง และมีปฏกิ ริ ยิ าตอบสนองตอ่ คาสั่งน้นั ๆ ตามเง่อื นไขของสถานการณ์ ฉะนนั้ ประสทิ ธิภาพของการรบั สารจงึ อยทู่ ีอ่ งค์ประกอบต่าง ๆ ไมว่ า่ จะเปน็ ผสู้ ่งสาร สาร สือ่ หรือแมแ้ ตต่ วั ผ้รู บั สาร เอง การตอบสนองหรือการแปลความหมายของสาร เพราะทกุ องค์ประกอบล้วนมสี ว่ นทจี่ ะทาให้กลไกหรอื ผลของ การส่อื สารเปน็ ไปอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพหรอื ขาดประสิทธภิ าพก็ได้ ประเภทของคาสงั่ ในการปฏิบตั ิงาน แบ่งตามเง่ือนไขของโอกาสและสถานการณไ์ ด้ ดงั น้ี 1)คาส่งั โดยตรง 2)คาสัง่ แบบขอร้อง 3)คาสัง่ แบบการแนะนา จุดมงุ่ หมายของคาสัง่ ในการปฏิบัตงิ าน แบง่ ออกเป็น 3 ลักษณะ คือ 1)ส่งั ใหก้ ระทา 2)สงั่ หา้ มกระทา 3)สั่งยกเลิกการกระทา หลักในการรบั ฟังคาส่งั 1)ผู้รับคาสงั่ จะต้องจบั ประเด็นของคาส่ังใหไ้ ด้ 2)ใชว้ ิจารณญาณในการฟงั คาสงั่ 3)หาแนวทางปฏิบัติให้เกิดประสทิ ธิภาพ คุณสมบตั ิที่ดขี องผ้รู บั ฟงั คาสงั่ 1)ต้องเป็นผมู้ ไี หวพริบปฏภิ าณฉับไว ทาความเขา้ ใจกับคาสง่ั ได้รวดเรว็ 2)ต้องเปน็ ผ้มู ีความจดจาถกู ต้องแมน่ ยา หรอื จดบันทึกอยา่ งละเอียด 3)ตอ้ งเปน็ ผ้แู สดงออกถึงความกระตือรือรน้ ในการรบั ฟังคาส่งั 4)ตอ้ งเปน็ ผู้มมี ารยาททีด่ ี นอบน้อมในการรับฟังคาสง่ั ไม่พดู จาโตเ้ ถียงผู้สั่งการ 5)ตอ้ งเป็นผู้มีความอดทน อดกลัน้ ต่อการแสดงออกใด ๆ ในการรอรบั ฟงั คาสั่ง 6)ต้องเป็นผมู้ ีสมาธิในการรบั ฟงั คาสง่ั แม้ในสถานการณท์ ่ี มเี สียงอกึ ทกึ ครึกโครม ความหมายของคู่มือ คมู่ อื คือ เอกสารที่จัดทาขึน้ เพ่ือใชป้ ระกอบหรอื ศึกษาในเรอ่ื งใดเร่อื งหนง่ึ ฉะนั้น การอ่านค่มู ือคือ การ รบั สารโดยการอ่านหรอื แปลความหมายของขอ้ มูลที่อยูใ่ นเอกสารประเภทคู่มือเพอ่ื ประโยชน์ในการใช้งานอยา่ งใด อยา่ งหนงึ่

ความสาคญั ของคู่มอื ในการปฏิบัติงานไมว่ ่าจะเปน็ กจิ กรรมงานประเภทใดย่อมมปี ัญหา และอุปสรรคเกิดขนึ้ ได้มากหรือนอ้ ย ขนึ้ อยกู่ ับสภาพเหตุการณ์และวธิ กี ารทางานนัน้ การมีคมู่ อื จงึ เป็นเคร่ืองชว่ ยอานวยความสะดวกนานปั การ เพราะ เน้อื หาของข้อมูลมักจะเกย่ี วขอ้ งกบั การทางาน อาทิ เมอื่ ต้องการจะประกอบพดั ลมทีซ่ ้อื มารา้ นอุปกรณไ์ ฟฟ้า โดย ตอ้ งมาประกอบเอง ก็ต้องอาศัยคู่มือทีใ่ ห้มาพร้อมในกลอ่ งพดั ลม หรอื ผลิตภัณฑ์บางอย่างมีความซบั ซอ้ นเม่ือ ตอ้ งการจะใช้งานก็ตอ้ งมีคาอธบิ ายประกอบเพอื่ ชว่ ยให้ผ้ใู ช้เกดิ ความเข้าใจในการใช้งาน หรือคมู่ ือบางประเภทก็ ช่วยในด้านเทคนคิ ในการทางาน ให้ขอ้ เสนอแนะหรอื แนวทางแกไ้ ขปัญหาอุปสรรคในการปฏบิ ัตงิ าน ประเภทของค่มู ือ 1 .คูม่ อื การใช้ผลิตภัณฑ์ เปน็ เอกสารที่จัดทาข้นึ เพื่อใช้ประกอบการใชผ้ ลติ ภณั ฑ์หรือเครอ่ื งมือ เคร่ืองใช้ อย่างใดอย่างหนง่ึ มีลักษณะเปน็ คาอธบิ าย วิธีการหรือขั้นตอนในการใช้งาน หรือวธิ กี ารประกอบ เพือ่ ประโยชน์ สาหรับผู้ใช้งานจะได้มคี วามเข้าใจและสะดวกในการทางาน เชน่ ค่มู อื การใช้เครอื่ งคอมพวิ เตอร์ คมู่ อื การใช้ เครือ่ งซกั ผ้า คูม่ ือการใช้โทรศัพทเ์ คล่ือนท่ี คู่มอื การใช้เครอ่ื งไมโครเวฟ 2. คมู่ ือการปฏบิ ตั ิงาน เปน็ เอกสารท่ีจดั ทาข้นึ เพือ่ ใชป้ ระกอบการปฏิบตั ิงานของหนว่ ยงาน เปรียบเสมอื นแผนที่บอกเส้นทางการทางานทม่ี ีจดุ เริม่ ตน้ และส้ินสดุ กระบวนการ มีรายละเอียดครอบคลุมเนือ้ หา ของงาน มคี าแนะนาในการทางานรวมทั้งวธิ กี ารท่อี งคก์ รใช้ในการปฏบิ ัตงิ าน มีคาอธบิ ายรายละเอยี ดและข้ันตอน ในการปฏบิ ัตงิ านโดยละเอยี ด จัดทาขนึ้ สาหรับลักษณะงานทซี่ บั ซ้อน มีหลายขน้ั ตอนและเก่ยี วข้องกับหลายฝ่าย เพื่อให้เกิดการแบง่ แยกอานาจหน้าท่ใี นการปฏิบัติของบุคลากรและผู้ปฏิบัติงานอย่างชัดเจน หลักและวธิ ีการอา่ นคู่มือท่วั ไป 1.การอ่านค่มู ือการใช้ผลิตภัณฑ์ มีหลักและวิธกี ารอ่าน ดังน้ี 1)โดยมากคมู่ อื การใช้ผลิตภณั ฑ์จะจดั ทาเป็นรูปเล่ม ถา้ ตอ้ งการร้รู ายละเอียดต่าง ๆ ให้ศกึ ษา โดยดจู ากสารบญั เรื่องและอ่านคาแนะนาอยา่ งละเอยี ดรอบคอบ 2)อา่ นทบทวนรายละเอียดต่าง ๆ หลายคร้ังเพ่อื ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจ และทดลองกระทาตามอยา่ ง ระมดั ระวงั 3)ทดสอบดอู ีกครัง้ หนง่ึ กอ่ นการใช้งาน เพ่ือให้แน่ใจว่าไม่มีปญั หาและข้อขัดข้องใด ๆ เมื่อเกดิ ความม่นั ใจแลว้ นาผลิตภัณฑไ์ ปใช้ตามขนั้ ตอนตามที่ค่มู ือกาหนดไว้ 4)ผใู้ ช้จะต้องตระหนักถึงคาเตือนและข้อควรระวงั ของคูม่ ืออยา่ งเครง่ ครดั 2.การอา่ นคู่มือการปฏบิ ตั ิงาน มีหลักและวธิ ีการอ่าน ดงั นี้ 1)ผ้ปู ฏบิ ัติงานต้องศึกษาภายในค่มู ือโดยเริม่ ต้นจากการอ่านหน้าสารบัญ

2)ผปู้ ฏบิ ัตงิ านต้องศกึ ษารายละเอยี ดอื่น ๆ เพราะคมู่ ือการปฏบิ ัติงานมักจะจดั ทาเป็นรูปเล่ม ประกอบไปด้วยรายละเอยี ดต่าง ๆ เช่น ขอบเขตขององค์กร ขอ้ มูลแนะนาองคก์ ร ประวัติองค์กร โครงสร้างองคก์ ร หน้าท่คี วามรบั ผิดชอบ นโยบาย วิสัยทัศน์ ภารกิจขององคก์ ร ผัง กระบวนการของภายในองค์กร ตลอดจนรายละเอยี ดของกระบวนการโดยสงั เขป 3)ผปู้ ฏิบัตงิ านตอ้ งตงั้ ใจอา่ นและจบั ใจความสาคัญให้ได้ แยกแยะใหไ้ ดว้ ่า อะไรคอื ข้อควรปฏิบตั ิ อะไรคือขอ้ ห้าม กฎ ระเบยี บ ข้อบงั คบั ตา่ ง ๆ 4)ผ้ปู ฏิบัติงานต้องพยายามทาความเขา้ ใจเกีย่ วกับวัตถุประสงค์ นโยบาย วิสยั ทัศน์ และภารกจิ ขององคก์ ร ตลอดจนตาแหนง่ หน้าทีท่ ่ีจะตอ้ งรบั ผดิ ชอบ 5)ผู้ปฏิบตั งิ านต้องจดจาใหไ้ ดว้ ่ากฎระเบียบ ขอ้ บงั วา่ ดว้ ยเรอื่ งใดบา้ ง และจะต้องปฏบิ ัตอิ ย่างไร 6)ผูป้ ฏบิ ตั ิงานควรจดบนั ทกึ ขอ้ มูลหรอื รายละเอยี ดทสี่ าคญั ทาเป็นสรปุ ย่อไว้ เพ่ือสะดวกในการใช้ งาน เร่ือง การนาเสนอผลงาน สาระสาคญั การนาเสนอผลงานมบี ทบาทในสังคมปัจจุบันอย่างยิง่ ทกุ วงการไม่ว่าวงการธุรกิจ การศกึ ษา หรือ หน่วยงานสาคัญ ๆ ไดน้ าไปใชใ้ ห้เกิดประโยชน์ การนาเสนอผลงานทาได้หลายรปู แบบขึน้ อยู่กับปัจจยั แวดล้อม ต่าง ๆ กอ่ ให้เกิดความรู้ท่แี พรห่ ลายกวา้ งขวาง สาระการเรียนรู้ ความหมายของ “การนาเสนอผลงาน” การนาเสนอผลงาน หมายถงึ การสื่อสารเพ่ือแสดงผลิตผลของงานทจี่ ัดทาขึน้ ใหผ้ ู้อนื่ ได้รบั รู้ เขา้ ใจ ประวัติความเปน็ มาและเนื้อหาของผลงานน้ัน ๆ ตลอดจนรู้จักแหลง่ ของผลงานและผู้จดั ทา เชน่ ผลงาน ส่งิ ประดษิ ฐ์ของนักเรยี น นกั ศึกษา ผลงานทางวิชาการ ความสาคัญของการนาเสนอผลงาน การนาเสนอผลงานมีความสาคัญและจาเปน็ อยา่ งย่งิ เพราะผลงานท่ีถูกผลติ ขึน้ มาแตไ่ ม่มีใครทราบความ เป็นมา วิธีการนาไปใช้งานให้เกดิ ประโยชน์เป็นอย่างไรไมม่ ีใครทราบ ก็ไมเ่ กิดประโยชนต์ อ่ สงั คม ผลงาน บางอยา่ งมปี ระโยชนใ์ นทางสงั คมเป็นอยา่ งมาก เช่น ผลงานทางการแพทย์ ผลงานวจิ ยั ท่ีสาคัญ ๆ ในวงการต่าง ๆ ฉะนน้ั การเปดิ โอกาสใหส้ าธารณชนได้รับรู้วา่ มผี ลิตผลของงานทีก่ ่อให้เกิดประโยชน์ตอ่ สงั คมเกิดขน้ึ นบั เปน็ ประโยชน์ตอ่ สงั คมและประเทศชาติทัง้ ในปจั จุบนั และในอนาคตดว้ ย การนาเสนอผลงานเปน็ การเปิดโอกาสให้

สังคมไดร้ ับรวู้ า่ ผลงานอันมีค่าน่าภมู ิใจ และนา่ ศกึ ษาเหลา่ นนั้ อย่ทู ีใ่ ด ใครเป็นผู้สรา้ ง และสามารถติดตามคน้ หา ศกึ ษาไดง้ ่ายขน้ึ น่นั เอง จุดมุ่งหมายของการนาเสนอผลงาน ในการจัดทาผลงานนอกจากจะเปน็ ความภาคภูมิใจของผู้จดั ทาแลว้ ผู้จัดทายงั มีจุดมุ่งหมายเพ่ือการเผยแพร่ ดังนี้ 1)เพ่ือเป็นการเผยแพรร่ ูปลกั ษณ์ และคุณสมบัติของผลงานท่ีจดั ทาขึน้ ตอ่ สาธารณชน 2)เพอ่ื ใหเ้ ปน็ การเผยแพร่วัตถปุ ระสงค์ วธิ ีการผลติ วิธกี ารใชง้ านและประโยชน์ของผลงานท่ีได้ นาเสนอนั้น 3)เพื่อเปดิ โอกาสให้สงั คมไดพ้ จิ ารณาและประเมนิ คณุ ค่าของผลงาน รวมทง้ั ให้คาติชมหรือให้ ข้อเสนอแนะตอ่ ผ้จู ัดทาผลงาน หลกั การนาเสนอผลงาน การเผยแพร่ผลงานโดยวธิ ีการนาเสนอมจี ดุ มุ่งหมายคือ ต้องการให้คนท่วั ไปหรือกล่มุ เป้าหมายไดร้ บั รู้ เพราะฉะนัน้ จงึ ต้องพิจารณาหลกั การนาเสนอผลงาน ดังน้ี 1)พยายามคดั เลอื กส่ิงท่เี ป็นจุดเดน่ ของผลงานมานาเสนอ 2)จดั ทาเป็นเอกสารประกอบเพื่อใหร้ ายละเอียดชัดเจนย่งิ ขน้ึ 3)พยายามเลือกกลุ่มเปา้ หมายในการนาเสนอใหเ้ หมาะสม 4)พยายามใช้เทคนคิ ต่าง ๆ เข้าชว่ ยในการอธิบายให้ผ้ฟู งั เข้าใจไดง้ ่าย

ใบงาน เรือ่ ง การใชภ้ าษาไทยในงานอาชีพ คาส่ัง จงทาเครอื่ งหมายกากบาท (X) ลงหนา้ ขอ้ ที่ถูกต้องท่ีสุด ตอนที่ ๑ จงทาเครอ่ื งหมายกากบาท (X) ลงหนา้ ขอ้ ทถ่ี กู ตอ้ งท่สี ุด ๑.ขอ้ ใดคอื ความหมายของภาษา ง. สัญลักษณ์ท่มี นษุ ยค์ ิดคน้ ขนึ้ เพือ่ ใช้ตดิ ต่อสือ่ สารซึ่งกนั และกัน ๒. ขอ้ ใดจัดเปน็ ภาษาคาโดดทกุ คา จ. ปู่ ยา่ ตา ยาย พ่ี น้อง ๓. ขอ้ ใดใชค้ าผิดความหมาย ง. เดี๋ยวนี้เขาดูพุงพุ้ยมาก ๔. ข้อใดเปน็ ช่อื เฉพาะ ก. โรงพิมพไ์ ทย ๕.ขอ้ ใดไมไ่ ด้ใช้ภาษาระดับเดียวกนั ก.มา้ มงคลวิ่งนาหน้าอาชาตัวที่วงิ่ ออกมากอ่ น ๖.ข้อใดไม่เกี่ยวขอ้ งกับการอ่านตวั เลข ง. เครอื่ งหมาย ๗.ขอ้ ใดใชภ้ าษาไม่ชดั เจน ค.แม่ค้าขายปลาตาย ๘. “น้าหนักมาก” ประโยคนี้บกพรอ่ งอย่างไร ค. ใช้คากากวม ๙. ขอ้ ใดใชก้ ารเขียนตัวสะกดการนั ต์ผดิ ทุกคา ง. บริสุทธิ์ กาฬสนิ ธุ กรรมพนั ธ์ุ ๑๐.ข้อใดเป็นการใช้คาบัญญัตศิ ัพท์ผดิ ง. แสตมป์ – ตราไปรษณีย์ ตอนที่ ๒ จงเตมิ คาหรือข้อความลงในชอ่ งวา่ งให้ถูกต้อง ๑.ภาษา คอื เครอื่ งหมายหรอื สัญลกั ษณท์ ี่มนษุ ย์คดิ คน้ ขนึ้ เพ่ือใชเ้ ปน็ เคร่ืองมือในการติดตอ่ ส่อื สารซง่ึ กนั และกัน ๒.ภาษาไทยมลี ักษณะเดน่ คือ ๑) ภาษาไทยเปน็ ภาษาคาโดด

๒) ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีความลดหลัน่ ช้ันเชงิ ๓) ภาษาไทยมรี ะบบระเบยี บในการเรยี งคาเข้าประโยค ๔) ภาษาไทยมีการกาหนดหมวดหมู่ของคาอย่างชัดเจน ๓. การใชภ้ าษาไทยมีความสาคัญ ดงั น้ี ๑)ภาษาเป็นเคร่ืองมอื สอ่ื สารของคนในสังคม ๒)ภาษาเป็นเครอื่ งมือในการเผยแพร่วิชาความรู้ ๓)ภาษาเปน็ เครื่องมอื ส่ือสารในงานอาชีพ ๔.ภาษาไทยเป็นภาษาท่มี ีความลดหล่ันช้ันเชิง หมายความวา่ อยา่ งไร การใช้คาเรยี กที่มกี ารแบง่ แยกตามระดับอาวโุ ส ความสาคัญ หรอื ตามตาแหนง่ ๕. การอา่ นตวั เลขท่ีแสดงมาตราสว่ น ๑ : ๕๐๐ อ่านว่า หนง่ึ – ตอ่ – หา้ รอ้ ย ๖. การอ่านตัวเลขบา้ นเลขท่ี ๕๖/๑๕ อ่านว่า หา้ – หก – ทบั – หน่งึ – หา้ ๗. คาวา่ “chocolate” เขียนเปน็ คาทับศพั ทว์ า่ ชอ็ กโกแลต ๘. คาวา่ “ice cream” เขยี นเป็นคาทับศพั ท์วา่ ไอศกรมี ๙. คาวา่ “แสตมป์” มกี ารใชค้ าศัพท์บญั ญตั วิ ่า ดวงตราไปรษณีย์ยากร ๑๐. การเขียนตัวสะกด การันต์ ไว้ โดยมากมกั มาจากภาษาอ่ืน ไดแ้ ก่ ภาษา องั กฤษ ฝรัง่ เศส ภาษาบาลี – สันสกฤต ตอนที่ ๓ จงตอบคาถามตอ่ ไปน้ี ๑. “นา้ ร้อนหมดแลว้ ” ประโยคน้ไี ม่เหมาะสมเพราะเหตุใด และควรแก้ไขอยา่ งไร เปน็ ประโยคกากวม ควรแกไ้ ขเป็น น้ารอ้ นไมม่ ีแล้ว ๒. นกั เรียนคดิ ว่าการใช้ภาษาอย่างชัดเจนตรงประเดน็ มลี ักษณะอย่างไร ใชภ้ าษาใหต้ รงเปา้ หมายและชัดเจน ไม่ก่อใหเ้ กิดข้อบกพรอ่ งหรอื ปัญหาในการส่อื สาร เช่น ในกรณีที่ให้ สมั ภาษณ์บุคคลผมู้ าตดิ ต่อขอสมั ภาษณก์ ็ตอ้ งตอบใหต้ รงกับหัวข้อคาถามทไ่ี ดร้ บั อาจมกี ารเล่าเร่ืองหรือยกตัวอยา่ ง ประกอบการตอบคาถามบา้ งเล็กน้อย ๓. ภาษามาตรฐานมลี ักษณะอย่างไร

ภาษามาตรฐานเปน็ ภาษาที่นยิ มใชเ้ ขยี นในโอกาสทเ่ี ปน็ ทางการ เช่น โรงหมอ ภาษามาตรฐานเปน็ โรงพยาบาล ๔. นักเรยี นคิดวา่ “คากากวม” คอื อะไร และก่อให้เกิดผลอยา่ งไรต่อการส่ือสาร เปน็ การใช้คาทส่ี อ่ื ความหมายไม่ชัดเจน อาจสร้างความเข้าใจผิดในการส่ือสารได้ ๕. เหตใุ ดจึงกลา่ ววา่ “ภาษาเป็นเครื่องมือสอื่ สารของคนในสังคม” เพราะตอ้ งอาศยั การประชาสมั พันธ์ขอ้ มูลข่าวสารให้สงั คมได้รบั รู้ โดยอาศยั ความรว่ มมิซึ่งกนั และกนั รวมท้งั การตดิ ตอ่ สอ่ื สารในชีวติ ประจาวนั คาสง่ั จงทาเครือ่ งหมายกากบาท (X) ลงหนา้ ขอ้ ท่ีถูกต้องท่สี ดุ ตอนท่ี ๑ จงทาเครือ่ งหมายกากบาท (X) ลงหนา้ ข้อทีถ่ กู ตอ้ งทสี่ ุด ๑.ข้อใดตรงกบั ความหมายของการพดู แสดงความเห็น จ. คุณสนองกล่าวคัดคา้ นการย้ายสนามเปตอง ๒.นักเรยี นคิดวา่ ข้อใดมกี ารพูดเสนอความเห็น ค. การท่ีบุคคลมาแก้ไขปญั หารว่ มกัน ๓.ขอ้ ใดเก่ียวขอ้ งกบั การแสดงความคิดเหน็ ง. ถกู ท้ังข้อ ก. และข้อ ข. ๔.ข้อใด ไมเ่ กยี่ ว กับการเสนอความเหน็ ในท่ีประชุม ข. เปน็ กิจกรรมทมี่ กี ารเล้ยี งสังสรรคร์ ่วมกันในองคก์ ร ๕.ขอ้ ใด ไม่ใช่ จดุ มงุ่ หมายของการพูดในท่ปี ระชมุ ง. เพื่อรณรงคใ์ หอ้ งคก์ รใช้เวลาว่างให้เปน็ ประโยชน์ ๖.ข้อใดจดั เป็นการเสนอความคดิ เหน็ ในท่ปี ระชุม ค. คุณองอาจพูดมาน้ันกน็ า่ สนใจครับ แต่ผมว่ายังมีส่ิงสาคัญอีก ๗.ข้อใดเหมาะสมที่สุดในการใช้ภาษาโตแ้ ยง้ ง. ผมวา่ คุณนชิ าพูดมีเหตุผลน่าฟังครบั แต่ผมไมค่ ิดเช่นนน้ั ๘.ข้อใดพงึ ควรระวงั ในการเสนอความคิดเหน็ ค. ใช้ความเห็นสว่ นตัวช้นี าใหท้ ป่ี ระชมุ ยอมรับ ๙.ข้อใดจดั เป็นมารยาทในการพูดเสนอความเห็น ข. ขออนุญาตประธานกอ่ นลุกออกจากหอ้ งประชมุ ๑๐.ข้อใดไม่ใช่ประเภทของการเสนอความเห็นในที่ประชุม ค. ความเหน็ กงึ่ โตแ้ ย้ง

ตอนที่ ๒ จงเตมิ คาหรอื ขอ้ ความลงในชอ่ งว่างให้ถูกต้อง ๑.ประโยชน์ในการพดู เสนอความเหน็ ในที่ประชมุ คือ การท่ีบุคคลใชว้ ิธีการพูดเพอื่ แสดงเหตุผลในการอธิบาย ขอ้ เท็จจริง หลกั การหรอื แนวความคดิ เห็นส่วนตวั ให้ผอู้ ื่นเกิดความเชื่อถือ ยอมรับหรือเห็นดว้ ยกบั สิ่งทไ่ี ดก้ ลา่ วมาทง้ั หมด ๒.จดุ มุ่งหมายของการประชมุ คอื ๑)เพื่อรว่ มกันปรกึ ษาและพิจารณาเรอื่ งตา่ ง ๆ ตามระเบยี บวาระของการประชุม ๒)เพอื่ ให้ทีป่ ระชุมได้ชีแ้ จงแถลงนโยบาย หรอื แถลงขอ้ มูลข่าวสารต่าง ๆ ๓)เพ่อื ใหเ้ กดิ การประสานงานและดาเนนิ การในเร่อื งต่าง ๆ มคี วามคลอ่ งตัว ๔)เพื่อใหเ้ กดิ การแลกเปล่ยี นความรู้ ความคิดและประสบการณ์ต่าง ๆ ร่วมกนั ๕)การพดู เสนอความเหน็ ในท่ปี ระชุมมีกี่ประเภท ได้แกอ่ ะไรบา้ ง จงอธบิ าย ๓. การพดู เสนอความเห็นในที่ประชมุ มี ๓ ประเภท ไดแ้ ก่ ๑)การเสนอแนวความคดิ ๒)การเสนอความเห็นโต้แย้ง ๓)การเสนอความเหน็ สนบั สนุน ๔. เมอ่ื สมาชกิ ผูเ้ สนอความเห็นพูดจบลง สมาชิกอีกคนหนึ่งคาพดู ทานองไมเ่ หน็ ด้วย จดั เป็นการเสนอความเหน็ แบบ โต้งแย้ง ๕. เม่อื สมาชกิ ผู้เสนอความเห็นพดู จบลง สมาชกิ อกี คนหนึ่งคาพูดทานองเหน็ ดว้ ย จดั เป็นการเสนอความเห็นแบบ สนับสนนุ ๖. การใช้สรรพนาม ในการเสนอความเห็นน้นั ผู้พดู ต้องใช้คาสรรพนามใหเ้ หมาะสมกบั โอกาส และสถานการณ์ ได้แก่ ผม กระผม ดิฉนั ข้าพเจา้ ๗. การใช้ถอ้ ยคาบง่ ชี้ว่าเป็นการแสดงความเห็น ไดแ้ ก่ นา่ ท่จี ะคิด คิดวา่ นา่ จะ ควรจะ ๘. ก่อนการเสนอความเห็น นักเรยี นควรแสดงมารยาทโดย ๑)ควรขออนุญาตประธานในทีป่ ระชุมกอ่ นการเสนอความเหน็ ๒)ควรทาความเคารพประธาน ก่อนลุกออกจากห้อง ๓)ควรใชน้ ้าเสียงนุม่ นวล และแสดงกริ ยิ าวาจาท่ีสุภาพ ๔)ไม่ควรใช้คาพดู เสียดสหี รือพาดพิงใหผ้ ู้อน่ื เสยี หาย ๕)ควรใชร้ ะยะเวลาในการเสนอความเห็นอย่างเหมาะสม ๖)ควรใหค้ วามเคารพตอ่ กฎ กตกิ าหรือมตขิ องท่ีประชุม ๙.การใช้ภาษาในการเสนอความเห็นในที่ประชุมควรมลี กั ษณะ ดงั น้ี ๑)ใชป้ ระโยคที่ส่ือความหมายชดั เจน สมบรู ณ์

๒)ต้องใชค้ าสรรพนามให้เหมาะสมกับโอกาสและสถานการณ์ ๓)ต้องใช้คาทบี่ ง่ บอกว่าส่ิงท่ีจะพูดนเ้ี ปน็ ข้อมูลเชงิ ความคดิ เหน็ เชน่ อาจ คงจะ เปน็ ตน้ ๔)ใชภ้ าษาทแ่ี สดงเหตผุ ลและทม่ี าของเรื่องใหเ้ กิดความสมั พันธ์กันในเชงิ อธิบาย ๑๐.ขอ้ ดีของใชภ้ าษาและถ้อยคาทสี่ ภุ าพและให้เกียรตติ ่อท่ปี ระชุม คือ ควรเปน็ คาพดู ที่สร้างบรรยากาศท่ีดีแกส่ มาชิกในท่ีประชมุ ตอนที่ ๒ จงเติมคาหรือขอ้ ความลงในชอ่ งวา่ งใหถ้ ูกต้อง ๑. การประชาสัมพนั ธ์ มีวตั ถปุ ระสงค์เพอื่ ๑)เพื่อใชใ้ นการติดตอ่ สื่อสารระหวา่ งองคก์ รกับกลุ่มเปา้ หมาย ๒)เพื่อใหค้ วามรู้และขอ้ มลู ท่กี ล่มุ เปา้ หมายจาเปน็ จะต้องรับทราบ ๓)เพื่อสร้างความเขา้ ใจอนั ดีระหว่างองค์กรกบั กลมุ่ เปา้ หมาย ๔)เพอื่ ใชใ้ นการป้องกนั ความเขา้ ใจผิดในหมู่สาธารณชน ๒. ส่ือท่ใี ชใ้ นการประชาสัมพันธ์มี ๖ ประเภท ได้แก่ สอ่ื บุคคล ส่อื อเิ ล็กทรอนิกส์ ส่อื ส่ิงพมิ พ์ สอื่ กจิ กรรม สื่อ เคลอ่ื นที่ สอ่ื ติดตัง้ นอกอาคาร ๓. สือ่ สารอิเลก็ ทรอนิกส์ ไดแ้ ก่ วิทยุ โทรทัศน์ คอมพวิ เตอร์ ๔. สื่อเคลอ่ื นท่ี ไดแ้ ก่ ป้ายติดข้างรถ ป้ายขบวนพาเหรด ๕. สอื่ สงิ่ พมิ พ์ ได้แก่ หนงั สือพิมพ์ โปสเตอร์ ใบปลวิ ๖. ส่ือบคุ คล ไดแ้ ก่ นักวชิ าการ นักเขียน ๗. คณุ ลักษณะของการเขยี นประชาสัมพันธท์ ดี่ ี มีลักษณะดงั นี้ ๑)ต้องมีประเดน็ ท่ชี ดั เจน ๒)ตอ้ งมกี ารลาดบั เนอ้ื หาตามข้ันตอน ๓)เน้ือหาหรอื เร่อื งราวท่ีนาเสนอจะต้องไมค่ ลมุ เครอื มีกระจ่าง ชดั เจน ๔)เลือกใชภ้ าษาให้เหมาะสมกับกล่มุ เปา้ หมาย ๘. ข้อควรระวังในการเขยี นประชาสมั พนั ธ์มดี ังนี้ ตอ้ งสะกดตัวอักษรของชอื่ – นามสกลุ ให้ถกู ต้อง ยศ- ตาแหน่ง และตัวเลข ๙. การเขยี นข่าวเพื่อการประชาสมั พนั ธ์ มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พื่อ ส่ือขา่ วสารแก่กลุม่ เป้าหมายให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ที่ดี ๑๐. การเขยี นคาประกาศเพ่อื การประชาสมั พนั ธ์ มีวัตถุประสงคเ์ พ่อื ชี้แจงสร้างความเข้าและป้องกนั ความเข้าใจ ผดิ หรอื เหตุขัดข้องทจี่ ะเกิดข้นึ แกก่ ลุ่มเปา้ หมาย

ตอนที่ ๓ จงตอบคาถามตอ่ ไปนี้ ๑.จงบอกความหมายของการเขยี นประชาสัมพันธ์ มาพอเขา้ ใจ การเขยี นประชาสมั พนั ธ์ หมายถึง การสือ่ สารด้วยการเขียน เพอื่ สร้างความสัมพันธก์ ันระหว่างองคก์ รและ ประชาชน หรือกลมุ่ เป้าหมายที่เกีย่ วข้องกับองคก์ ร ๒.จงบอกความสาคญั ของการประชาสมั พันธ์ มาพอเข้าใจ การเขยี นประชาสัมพนั ธ์เป็นเครอื่ งมอื ในการประชาสมั พนั ธ์ประเภทหนึง่ ท่สี ามารถทาให้บรรลุ วัตถุประสงคไ์ ด้ ๓. จงอธิบายข้ันตอนในการเขียนประชาสมั พนั ธ์ ๑)การศึกษาวตั ถุประสงคด์ ้านการประชาสมั พันธ์ขององค์กร ๒)ศึกษาวิเคราะห์กลมุ่ เป้าหมายในการประชาสัมพันธ์ ๓)ศกึ ษาวิเคราะหส์ ่อื ทีจ่ ะใช้ในการประชาสัมพันธ์ ๔)กาหนดโครงเรอื่ งสอดคลอ้ งกบั วตั ถปุ ระสงคแ์ ละกล่มุ เป้าหมาย ๕)ลงมอื เขยี นตามหลักรูปแบบและองคป์ ระกอบของการประชาสมั พันธ์ ๖)ตรวจทานหรอื พสิ ูจน์อกั ษรเพ่ือการแกไ้ ขกอ่ นการนาเสนอ ๔.นกั เรียนคิดวา่ ลักษณะบทความที่ดี มีลักษณะอย่างไร ลกั ษณะบทความที่ดี ได้แก่ ๑.เนื้อหาตอ้ งชดั เจน ระบวุ า่ ใครทาอะไร ท่ีไหน เมอื่ ไร อยา่ งไร ๒.ลาดบั เรือ่ ง ตามขั้นตอนกอ่ น – หลัง ๓.ชดั เจน ไม่คลมุ เครอื ๔.ใชภ้ าษาเหมาะสมกับกลมุ่ เป้าหมาย อ่านงา่ ย กระชบั ถูกต้อง ๕. การใช้ภาษาในเขียนประชาสมั พนั ธค์ วรมีลักษณะอยา่ งไร ๑)ใชถ้ ้อยคาทเี่ ข้าใจได้ง่าย มคี วามหมายชดั เจน ตรงประเดน็ ๒)ใช้ถอ้ ยคาที่มีลกั ษณะสัมผสั คลอ้ งจอง ง่ายตอ่ การจดจา ๓)ใชภ้ าษาโดยวิเคราะห์กลุ่มผูบ้ รโิ ภคว่าเปน็ เพศใด วยั ใด อาชพี ใด ๔)ใชภ้ าษาถ่ายทอดเน้ือหาแบบบรรยายเรอื่ งราวตามลาดับเหตุการณ์ ๕)ใชร้ ปู ภาพท่มี ีความประผกอบกับการใชภ้ าษาเขียน ๖)ใชข้ อ้ ความท่สี มั พันธ์กบั ส่ิงท่ีนามาโฆษณา ๗)ใช้ถอ้ ยคาท่ีสภุ าพ ไม่หยาบคาย

แบบทดสอบวชิ าภาษาไทยเพื่ออาชพี

ใบความรู้ การฟงั คาสั่ง หมายถงึ การทผี่ รู้ บั สารใชก้ ารฟงั ในการรับสาร แปลความหมายของสารทอ่ี ยู่ในรูปแบบของ คาสั่ง และมีปฏิกิริยาตอบสนองต่อคาสัง่ นั้น ๆ ตามเงือ่ นไขของสถานการณ์ ประเภทของคาสัง่ ในการปฏิบัติงาน มี ๓ ประเภท ไดแ้ ก่ ๑) คาสง่ั โดยตรง ๒) คาส่งั แบบขอรอ้ ง ๓) คาส่งั แบบการแนะนา ลักษณะคาสัง่ โดยตรง คอื การออกคาส่งั แบบตรงไปตรงมา อาจเป็นไปในลกั ษณะใหก้ ระทาตามปฏิบัตติ ามคาส่งั หรอื ห้ามกระทาอย่างส้ินเชงิ อาจมีบทลงโทษ จดุ มงุ่ หมายของคาสัง่ โดยตรง คือ ๑) สั่งใหก้ ระทา ๒) ส่ังห้ามกระทา ๓) สัง่ ยกเลกิ การกระทา คาสงั่ หา้ มกระทา มีลกั ษณะดงั น้ี คู่มอื หมายถงึ เอกสารท่ีจดั ทาขึน้ เพอ่ื ใชป้ ระกอบหรือศึกษาในเรือ่ งใดเรื่องหน่ึ ได้แก่ คูม่ ือการดแู ลรักษา รถยนต์ คมู่ อื การใชเ้ คร่ืองซกั ผา้ คู่มอื การใชโ้ ทรศพั ทเ์ คลือ่ นท่ี เปน็ ต้น คู่มอื การใช้ผลิตภัณฑ์ คือเอกสารท่ีทาข้ึนเพอื่ ให้ประกอบการใช้ผลติ ภัณฑ์หรือเครอื่ งมือ คู่มอื การปฏบิ ตั งิ าน คือเอกสารที่จดั ทาขึ้นเพ่อื ให้ประกอบการปฏิบตั งิ านของหนว่ ยงาน วตั ถปุ ระสงค์การใชค้ ู่มอื คอื ป้องกนั ความเสยี หายและหลีกเล่ียงอันตรายขณะที่นาไปใชง้ าน การอา่ นค่มู ือการใชผ้ ลติ ภัณฑ์ มหี ลกั ดงั นี้ ดูจากสารบญั เรือ่ งคาแนะนา ทบทวนรายละเอียดเพ่อื ความเขา้ ใจ และกอ่ นใชง้ านตอ้ งม่ันใจว่านา ผลิตภัณฑไ์ ปใชต้ ามขัน้ ตอนทค่ี มู่ ือกาหนดไว้เมอื่ จะต้องรบั ฟังคาสัง่ ผรู้ บั คาส่งั จะตอ้ งต้ังใจใหแ้ นว่ แนใ่ นการฟงั คาสั่ง พยายามทาความเข้าใจกับคาสง่ั ที่ผู้ส่งั การกาหนดใหท้ า โดยแยกแยะใหไ้ ด้วา่ เปน็ คาส่งั ประเภทใด •สงิ่ ใดบ้างที่ผู้รบั ฟังคาสัง่ ไม่ควรปฏบิ ัตใิ นขณะรับฟังคาส่งั จากผู้บงั คับบัญชา -ไม่พูดขัดจังหวะในขณะทอ่ี กี ฝ่ายยังพูดไมจ่ บ หลีกเลีย่ งการโต้แยง้ ขณะรับคาสั่ง ความไม่มีสมาธหิ รือทาสิ่ง อื่นไปด้วย •นกั เรยี นคดิ ว่าคุณสมบัติท่ีดขี องผรู้ ับฟงั คาสง่ั ควรเปน็ อยา่ งไร -ต้งั ใจและมีสตใิ นการฟงั คาส่ัง ทาความเขา้ ใจคาสั่งทผ่ี ้สู ่งั การกาหนดให้ทา ขณะที่ฟงั คาสัง่ ควรสบตาผู้ส่ัง การ ถา้ หากมีคาถามควรรอจนกวา่ อกี ฝ่ายจะพดู จบและจดบันทกึ ช่วยจาเพ่ือทาเปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษร •นกั เรียนคิดว่าการอ่านคูม่ ือมีความสาคัญ

-ชว่ ยใหผ้ ู้ใช้หรือปฏิบตั ิไดเ้ ข้าใจการใช้งานได้ถูกตามขัน้ ตอน เทคนคิ การทางานใหง้ ่ายขึ้นรวมทัง้ แนว ทางแก้ไขปญั หาอุปสรรคในการปฏบิ ัติงาน •หลักและวธิ กี ารอ่านคูม่ ือทวั่ ไป หลกั และวธิ ีการอา่ นคู่มือทวั่ ไป ผู้ท่ีจะอา่ นและศึกษาคู่มอื ทุกประเภทจะตอ้ งคานงึ ถึงส่ิงต่อไปนี้ ๑.การอ่านคมู่ ือการใช้ผลิตภัณฑ์ มีหลักและวิธกี ารอา่ น ดงั นี้ ๑)โดยมากคู่มือการใช้ผลติ ภัณฑ์จะจัดทาเปน็ เลม่ ถ้าตอ้ งการรู้รายละเอยี ดต่าง ๆ ใหศ้ กึ ษาโดยดจู าก สารบัญเรอื่ งและอา่ นคาแนะนาอยา่ งละเอยี ดรอบคอบ ๒)อ่านทบทวนรายละเอียดต่าง ๆ หลายคร้ังเพ่ือใหเ้ กดิ ความเข้าใจ และทดลองกระทาตามอยา่ ง ระมดั ระวงั ๓)ทดสอบดูอีกครั้งหนง่ึ ก่อนการใชง้ าน เพอ่ื ให้แน่ใจวา่ ไม่มีปัญหาและขอ้ ขดั ข้องใด ๆ เม่ือเกดิ ความมนั่ ใจ แลว้ นาผลิตภัณฑไ์ ปใช้ตามขนั้ ตอนตามที่คมู่ ือกาหนดไว้ ๔)ผู้ใช้จะตอ้ งตระหนกั ถงึ คาเตอื นและข้อควรระวังของคู่มืออย่างเครง่ ครัด ๒.การอ่านคมู่ อื การปฏิบตั งิ าน มีหลกั และวธิ ีการอ่าน ดังนี้ ๑)ผูป้ ฏิบตั งิ านต้องศึกษาภายในคมู่ อื โดยเร่ิมต้นจากการอ่านสารบญั ๒)ผปู้ ฏิบัติงานตอ้ งศึกษารายละเอียดอนื่ ๆ เพราะค่มู ือปฏิบัตงิ านมักจะจัดทาเปน็ รูปเล่มประกอบไปดว้ ย รายละเอียดต่าง ๆ เช่น ขอบเขตขององค์กร ข้อมูลแนะนาองค์กร ประวัติองคก์ ร โครงสร้างองค์กร หน้าท่ีความ รับผิดชอบ นโยบาย วิสัยทศั น์ ภารกิจขององค์กร ผังกระบวนการของภายในองค์กร ตลอดจนรายละเอียดของกระ การโดยสังเขป ๓)ผปู้ ฏบิ ัตงิ านตอ้ งต้ังใจอ่านและจับใจความสาคัญใหไ้ ด้แยกแยะใหไ้ ดว้ ่าคือข้อควรปฏิบัติ อะไรคอื ข้อห้าม กฎระเบียบตา่ ง ๆ ๔)ผ้ปู ฏิบตั ิงานต้องพยายามทาความเข้าใจเกยี่ วกับวตั ถุประสงค์ นโยบาย วิสยั ทศั น์และภารกจิ ขององคก์ ร ตลอดจนตาแหนง่ หนา้ ทีท่ ่ีจะรับผดิ ชอบ ๕)ผู้ปฏบิ ัติงานต้องจดจาให้ไดว้ ่ากฎระเบยี บข้อบงั คับวา่ ด้วยเร่ืองใดบา้ ง จะต้องปฏบิ ตั อิ ยา่ งไร ผู้ปฏบิ ัติงานควรจดบันทกึ ขอ้ มูลหรอื รายละเอียดท่ีสาคญั ทาเปน็ สรุปย่อไว้ เพ่อื สะดวกในการใช้งาน

ใบความรู้ เรอ่ื ง การนาเสนอผลงาน การนาเสนอ ( presentation ) หมายถงึ วธิ กี ารในการสอ่ื สารถา่ ยทอดขอ้ มลู เกีย่ วกบั งาน แผนงาน โครงการ ขอ้ เสนอผลการดาเนนิ งานและเรือ่ งตา่ งๆ เพอ่ื ความเขา้ ใจและจงู ใจอาจรวมถงึ การสนับสนุนและอนมุ ตั ิ ด้วย รูปแบบของการนาเสนอ การนาเสนอมีได้หลายรูปแบบซึ่งจะต้องพิจารณาเลือกใชร้ ปู แบบให้เหมาะสมกบั วตั ถปุ ระสงค์ของการนาเสนอ และความตอ้ งการของผ้รู ับการนาเสนอ โดยทั่วไปจะมีการใช้อยู่ สองรูปแบบได้แก่ 1. แบบสรุปความ ( qutline ) คอื การนาเสนอเนื้อหาทงั้ ท่เี ป็นขอ้ เทจ็ จรงิ ความคิดเหน็ และขอ้ พจิ ารณาเป็นขอ้ ๆ 2. แบบเรียงความ ( essay ) คอื การนาเสนอด้วยการพรรณนา ถึงเน้อื หาละเอยี ด ตวั อย่างรูปแบบการนาเสนอ 1.เอกสารรายงานเชงิ วชิ าการ 2.นิทรรศการ (ภาพถ่าย ศิลปะส่งิ ประดษิ ฐ์ ฯลฯ) 3.การอภิปราย สัมมนา 4.โตว้ าที 5.คลปิ หรอื ภาพยนตร์ส้นั 6. เพาเวอรพ์ อยท์ 7. โปสเตอร์ 8. คลนิ ิกความรู้ 9. แผ่นพับ (Brochure) 10.สมุดเล่มเล็ก 11.หนังสอื พิมพ์กาแพง 12. บทประพันธ์ (โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน ฯลฯ) 13. ภาพวาดศิลปะ 14. บทความทางวิชาการ 15. ละคร การเลอื กใชร้ ปู แบบใดรปู แบบหนึง่ จะต้องคานึงถึงความเหมาะสม และสถานการณ์ในการนาเสนอ การ นาเสนอแบบสรุปความมกั ใช้ในการนาเสนอ ขอ้ มูลอันประกอบด้วยข้อเท็จจรงิ ส่งิ ที่ค้นพบ เพือ่ ให้ผู้รับการนาเสนอ รับรู้อย่างรวดเรว็ สว่ นการนาเสนอแบบเรยี งความ มกั ใช้ในการนาเสนอความคิดเหน็ และการให้เหตุผลโนน้ นา้ วชกั จงู ใจ ซงึ่ จะต้องมกี ารอรรถาธิบายในรายละเอยี ดต่างๆประกอบการนาเสนอ

การเลือกใชร้ ูปแบบของการนาเสนอจะพจิ ารณาปริมาณของเนอ้ื หาสาระ วัตถุประสงคแ์ ละ จดุ ม่งุ หมายที่ ตอ้ งการบรรจกุ ารเรา้ ความสนใจ สถานการณ์ในการนาเสนอ และความสมั พันธร์ ะหวา่ งผรู้ ับการนาเสนอกบั ผู้นา เสนอ ในการนาเสนอขอ้ มูลเพื่อการพจิ ารณาจะนิยมใชต้ าราง และ แผนภาพ ประกอบเพือ่ การวิเคราะห์หรอื เปรยี บเทยี บท่ีเหน็ ไดช้ ดั เจนและรวดเรว็ ลักษณะการนาเสนอทีด่ ี นอกจากการเลือกรปู แบบของการนาเสนอ ให้ถกู ตอ้ งและเหมาะสมแล้วจะต้องคานงึ ถงึ ลกั ษณะของการ นาเสนอทจ่ี ะช่วยใหบ้ รรลุผลตามวัตถุประสงค์ของการนาเสนอด้วย วตั ถุประสงคข์ องการนาเสนอผลงาน 1. ใหผ้ ู้ชมเข้าใจสาระสาคัญของการนาเสนองาน 2.ใหผ้ ู้ชมเกดิ ความประทบั ใจ ซึ่งจะนาไปสคู่ วามเชื่อถือในผลงานทนี่ าเสนอ ลกั ษณะของการนาเสนอท่ดี ี ควรมีดงั ตอ่ ไปน้ี 1. มีวตั ถุประสงค์ที่ชัดเจนกล่าวคือ มีความต้องการทีแ่ นช่ ดั ว่า เสนอเพ่ืออะไรโดยไม่ต้องใหผ้ รู้ บั รับการนาเสนอตอ้ งถามวา่ ตอ้ งการให้พิจารณาอะไร 2. มีรปู แบบการนาเสนอเหมาะสม กล่าวคอื มีความกะทดั รัดไดใ้ จความเรียงลาดบั ไม่สนใชภ้ าษา เขา้ ใจง่าย ใช้ตาราง แผนภมู ิ แผนภาพช่วยใหพ้ จิ ารณาข้อมลู ไดส้ ะดวก 3. เนื้อหาสาระดี กล่าวคอื มีความนา่ เช่ือถอื เทีย่ งตรง ถูกต้อง สมบูรณค์ รบถว้ นตรงตามความ ตอ้ งการ มีข้อมูลทเ่ี ป็นปัจจุบนั ทันสมยั และมเี นอ้ื หาเพียงพอแก่การพจิ ารณา 4. มขี ้อเสนอทีด่ ี กล่าวคือมีขอ้ เสนอท่ีสมเหตสู มผล มีข้อพจิ ารณาเปรียบเทยี บทางเลือกท่ีเห็นได้ ชดั เสนอแนะแนวทางปฏบิ ัตทิ ี่ชัดเจนคุณสมบตั ขิ องผูน้ าเสนอ ในการนาเสนอด้วยวาจาคุณสมบัตอิ นั เปน็ ลกั ษณะประจาตัวของผูน้ าเสนอถอื ได้ว่าเป็นสว่ นสาคญั ของความสาเรจ็ ในการนาเสนอเพราะคุณสมบตั ิ ของผนู้ าเสนอจะมีอทิ ธิพลตอ่ การโนน้ นา้ วชัก จงู ใหเ้ กิดความสนใจความไว้วางใจ เชือ่ ถอื และการยอมรับ ได้มาก เทา่ กบั หรอื มากกว่าเนอ้ื หาทนี่ าเสนอ ผู้นาเสนอทีป่ ระสบความสาเรจ็ ส่วนใหญ่ จะมีคณุ สมบตั ดิ ังต่อไปนี้ 1. มีบคุ ลกิ ดี 2. มคี วามรอู้ ย่างถอ่ งแท้ 3. มคี วามน่าเชือ่ ถอื ไวว้ างใจ 4. มีความเช่อื มัน่ ในตนเอง 5. มภี าพลักษณท์ ี่ดี 6. มนี า้ เสยี งชดั เจน 7. มจี ติ วทิ ยาโน้นนา้ วใจ

8. มีความสามารถในการใชโ้ สตทัศนอปุ กรณ์ 9. มคี วามช่างสงั เกต 10. มีไหวพริบปฏิภาณในการตอบคาถามดี การตอบคาถามในการนาเสนอการตอบคาถามเป็นส่วนหนง่ึ ของการนาเสนอแมว้ ่าการนาเสนอเร่ืองต่างๆ จะเปน็ การนาเสนอทีม่ วี ัตถปุ ระสงคเ์ พือ่ การบอกเล่าเรอ่ื งใหท้ ราบซง่ึ เป็นการสื่อสารทางเดียวจากผู้นาเสนอไปยงั ผรู้ บั การนาเสนอแต่ในการที่จะใหเ้ กดิ การสอ่ื สารที่สมบูรณม์ คี วามเขา้ ใจถูกตอ้ งตรงกัน กค็ วรจะมชี ว่ งเวลาทีเ่ ปิดให้ มีการซักถามข้อสงสยั หรอื ส่ิงท่ตี อ้ งการคาอธบิ ายเพม่ิ ขนึ้ เป็นการส่อื สารสองทาง ในการนาเสนอส่วนใหญ่จะมีการ เชือ้ เชิญใหม้ กี ารซักถามในตอนท้ายของการนาเสนอดงั นั้นผูน้ าเสนอจึงตอ้ งมหี ลักการเปน็ ขอ้ ยดึ ถอื ในการปฏิบตั ิ ดงั นี้ 1. ตอ้ งจดั เวลาใหเ้ หมาะสมในการเปิดการซักถาม อย่าใหม้ เี วลามากเกินไปจนเกิดคาถามทไ่ี ม่มสี าระหรอื คาถามท่ีต้ังใจใหก้ ารนาเสนอเกิดการเสยี หายแต่ก็ควรจะเผือ่ เวลาใหเ้ พยี งพอ 2.. ต้องคาดคะเนคาถามที่จะเกิดขึน้ ไว้ล่วงหนา้ เพอื่ จะได้เตรยี มคาตอบที่เหมาะสม และสามารถเตรียม เอกสาร หรือหลักฐานประกอบคาตอบได้ 3. ตอ้ งแสดงความยนิ ดีต้อนรับคาถาม แม้จะเปน็ คาถามทไ่ี รส้ าระหรอื แฝงดว้ ยความประสงค์ร้ายแตก่ ็ สามารถจะเลือกตอบ และสงวนคาตอบไว้ตอบเฉพาะตวั ผู้ถามภายหลังก็ได้ 4. ต้องรู้จักการช่วยขดั เกลาคาถามท่ีวกวน หรือคลมุ เครอื หรือช่วยเรียบเรียงคาถามท่ีมีข้อความยดื ยาว เย่นิ เยื้อใหก้ ระชบั ข้นึ 5. ต้องตอบใหต้ รงประเดน็ หมายถึงตรงกบั เร่ืองที่ถามไม่ตอบเลี่ยง หรอื ตอบคลุมเครอื นกั เรยี นควรนาความรู้ที่ไดไ้ ปถ่ายทอดให้ผูอ้ น่ื ไดร้ ับรูร้ บั ทราบการคดิ รูปแบบเพอ่ื นาเสนอมีคาแนะนาดังน้ี 1. คานึงถึงผูอ้ ่านหรือผู้ฟงั โดยยดึ หลกั การนาเสนอใหเ้ ข้าใจงา่ ย น่าสนใจ 2.วธิ ีการนาเสนอ เช่น รายงานเปน็ เอกสารรายงานปากเปล่า จดั นทิ รรศการ อาจจาเปน็ ตอ้ งทา หลายรปู แบบเพื่อให้ผลงานแพร่หลายมากขน้ึ 3.ผลงานบางโครงงานมีวสั ดปุ ระกอบการรายงานจะตอ้ งเลือกให้เหมาะสม 4.บางโครงงานอาจนาเสนอได้ดว้ ยการแสดง เลา่ เปน็ นิทานเชิดหุ่นประกอบบรรยาย นาเสนอด้วย โปรแกรมคอมพิวเตอร์ Power point 5.โครงงานที่นาเสนอตอ่ ชมุ ชน อาจทาในรูปแบบของแผงโครงงานซึ่งเป็นแผงนิทรรศการทีพ่ ับ เก็บสะดวก เคลอื่ นย้ายง่าย นาไปติดตง้ั ไดท้ นั ที 6.การนาเสนอมีหลากหลายวิธี ทงั้ น้ีข้ึนอยู่กบั ความสามารถ ความคิดสร้างสรรค์ความตอ้ งการ ของกลมุ่ และความเหมาะสมในแต่ละสถานการณ์และเวลา

7.ตัวอย่างการนาเสนออน่ื ๆ เช่น นิทรรศการ รายงานปากเปล่าเสนอแผงโครงงานร่วมกบั รายงาน ปากเปล่า จัดแสดงบนเวที เสนอด้วยแผน่ ใส หรอื สไลด์หรือวดี ที ัศนพ์ ร้อมคาอธิบาย หัวขอ้ ในการนาเสนอโครงงาน มีดงั นี้ 1. ชื่อโครงงาน 2. ชื่อผ้จู ัดทาโครงงาน 3. ชื่อครูท่ีปรึกษา 4. ทม่ี าของโครงงาน 5. วธิ ดี าเนินการ (ถา้ มีรูปภาพประกอบดว้ ยจะดีมาก) 6. ผลการทดลอง 7. สรุปผล 8. ข้อเสนอแนะ ทั้งหมดทีไ่ ด้กลา่ วมาแลว้ นั้นจะต้องทาหรอื เขยี นด้วยความประณตี สวยงามสามารถหาสิ่งประดับมา ตกแต่งใหส้ วยงามได้โครงงานท่ที าเสร็จแลว้ ถ้าไม่มีการเผยแพรก่ ็ไมเ่ กิดประโยชน์ ดงั นน้ั นกั เรยี นจงึ ควรให้ ความสาคัญในเร่อื งน้ี และคดิ วธิ ีการเผยแพร่ให้นา่ สนใจเพือ่ ให้ผลงานของนักเรียนเกิดประโยชนส์ งู สุดท้ังต่อตวั นักเรียนเองและผู้ท่ีสนใจ

เฉลย แบบทดสอบ วชิ าภาษาไทยเพ่อื อาชพี รหสั วิชา 20000 – 1102 ให้นักศึกษาทาเครอื่ งหมาย × ในกระดาษคาตอบใหถ้ ูกต้องท่สี ุดเลือกเพยี งคาตอบเดียว 1.เปน็ ความหมายของการฟงั และดู ก. การทม่ี ีท้ังเสียงและภาพ ข. การรับรู้ความหมายของสาร ค.การรคู้ วามหมายของสารผ่านส่อื ง.การรบั สารผ่านสื่อที่มเี สียงหรอื ภาพ 2.ข้อใดจดั เปน็ ความสาคัญของการฟงั และดู ก.เปน็ กิจกรรมการสอ่ื สารท่ตี รวจสอบได้ ข.เปน็ กิจกรรมทพ่ี ฒั นาศกั ยภาพมนษุ ยไ์ ด้ ค.เป็นกิจกรรมทีม่ นษุ ยท์ กุ คนสนใจรว่ มกนั ง.เปน็ กจิ กรรมท่มี นุษย์ใชใ้ นชวี ติ ประจาวัน 3.ขอ้ ใดฟังและดูผ่านสื่อบุคคลโดยตรง ก.ภาพยนตร์ ข.รายการคดีเด็ด ค.คอนเสริ ์ตการกุศล ง.รายการคุณพระช่วย 4.ข้อใดส่อื ความหมายไดโ้ ดยไม่ใช้เสยี ง ก.ละครเวที ข.วิทยชุ ุมชน ค.นทิ รรศการ

ง.ภาพยนตรส์ ั้น 5.ขอ้ ใดจดั เปน็ สารจากสอ่ื สิง่ พิมพ์ ก.สารคดี ข.ข่าวสาร ค.บทความ ง.ทกุ ขอ้ ทีก่ ล่าวมา 6.ข้อใดเปน็ มารยาทในการฟงั และดู ก.โนรเี ปิดโทรทศั นเ์ สยี งดังดูอยคู่ นเดยี ว ข.สมพรปรบมอื เมอ่ื มกี ารกลา่ วแนะนาตัวผ้พู ดู ค.วิมลนงุ่ กางเกงขาสน้ั ไปชมโบสถ์วัดพระแก้ว ง.บงกชเดินเข้าออกบ่อยในขณะฟังปาฐกถา 7.ข้อใดเปน็ ส่ิงแรกที่จะตอ้ งทาในการฟงั และดู ก.เตรยี มจุดประสงค์ ข.เตรียมบนั ทกึ ภาพ ค.เตรยี มบนั ทกึ เสียง ง.เตรยี มตวั ใหพ้ ร้อม 8. ข้อใดเป็นการฟังเพอ่ื ความเพลิดเพลิน ก.เวทีลกู ท่งุ ไทย ข.ข่าวเด็ดยามดกึ ค.พชื เกษตรเศรษฐกจิ ง.ขา่ วธรุ กิจวิเคราะหต์ ลาดห้นุ 9.ขอ้ ใดเปน็ การฟงั และดูเพ่ือการตัดสนิ ใจ ก.ขา่ วธุรกิจบันเทิงรายวนั ข.ประกาศขายสนิ ค้ามอื สอง ค.สัมมนาผู้บริหารการศกึ ษา ง.ประกาศผลการสอบคัดเลือก 10. ขอ้ ใดเปน็ การฟังและดูเพื่อความรู้ ก.หาคล่นื ความถีว่ ทิ ยุ ข.หาคาศัพท์จากเพลง ค.หาเพื่อนทางอินเทอร์เนต็

ง.หาเบอร์โทรศพั ท์จากเพอื่ น 11.ข้อใดไม่ใช่ประเภทของคาสงั่ ในการปฏบิ ตั ิงาน ก.คาส่ังโดยอ้อม ข.คาสัง่ โดยตรง ค.คาสั่งแบบแนะนา ง.คาส่ังแบบขอ้ รอ้ ง 12. ข้อใดจัดเป็นคาสง่ั โดยตรง ก.“ต่ายชว่ ยปิดไฟให้ด้วย” ข.“ตุ้ยอยา่ ยนื ขวางทาง” ค.“ตมุ้ ไปตกั นา้ มาเรว็ ” ง.ขอ้ ข.. และขอ้ ค. ถกู 13. ข้อใดจัดเป็นคาส่ังแบบขอร้อง ก. “หนนู ิดช่วยพายเรอื ใหป้ า้ พวงก่อน” ข. “พลอยใส อย่ารีบเดิน รอฉันด้วย” ค.“ต้อยติ่งอย่าแวะเลย ไปกอ่ นเถอะ” ง.ถูกทกุ ข้อทก่ี ลา่ วมา 14. ข้อใดแตกตา่ งจากข้ออนื่ ก.“นบั ดาวหยุดพูดเสียที ฉนั หนวกหู” ข.“ก๊กุ ไกเ่ ปดิ ประตูเด๋ียวน้ี แม่จะเขา้ บา้ น” ค.“ลงุ แตม้ ถามมนั ดสู ิ มันอาจยอมบอกก็ได้” ง.“หา้ มทจุ รติ ถา้ พบว่าลอกกนั ครูจะปรบั ตก” 15. ขอ้ ใดแตกตา่ งจากขอ้ อนื่ ก. “อยา่ ไปซอ้ื เขาขายแพง” ข. “ฝนตกอย่าออกไป เดยี๋ วจะเป็นหวัด” ค. “เขาห้ามหวีผมตอนกลางคนื ไม่รู้หรอื ” ง. “อย่ามายงิ นกตกปลานะ มันบาปรไู้ หม” 16. ข้อใดคือความหมายของคูม่ อื ก.เอกสารเผยแพร่ความรู้สาหรับประชาชนทว่ั ไป ข.เอกสารรายงานการปฏิบตั ิงานท่ีใช้สาหรบั เผยแพร่ ค.เอกสารท่ีใช้สาหรบั แปลความหมายคล้ายพจนานุกรม

ง.เอกสารทจ่ี ดั ทาข้ึนเพอื่ ศึกษาเรื่องใดเรือ่ งหนึง่ โดยเฉพาะ 17.ข้อใดไมใ่ ช่ความสาคญั ของคู่มอื ก.ช่วยอานวยความสะดวกในระดับหนึ่ง ข.ปอ้ งกันปัญหาท่ีจะเกดิ ขน้ึ กบั การทางาน ค.มกั จะมีประกอบมากบั ผลติ ภัณฑ์ที่สัง่ ซือ้ ง.เนื้อหาของขอ้ มูลเปน็ ประโยชน์ต่อการทางาน 18.ขอ้ ใดไมเ่ กี่ยวข้องกบั คมู่ ือการปฏิบัติงานองค์กร ก.คู่มอื การปฏิบตั งิ านพสั ดุ ข.คู่มือการปฏิบตั ิงานสารบรรณ ค.คู่มือการปฏิบัติงานด้านการเงนิ ง. ข้อ ข. ข้อ ค. ถกู 19.ขอ้ ใดไมใ่ ช่วัตถุประสงค์ของคู่มือการใช้ผลิตภัณฑ์ ก.ทาให้ผู้ใช้รจู้ กั วธิ กี ารใช้งานทถ่ี ูกต้อง ข.ทาใหก้ ารปฏิบัติงานองค์กรมมี าตรฐานเดียวกัน ค.ป้องกนั การเสยี หายจากการใช้งานไมถ่ กู ตอ้ ง ง.ผู้ใช้งานสามารถแก้ปัญหาได้ด้วยตนเองในระดับหนึ่ง 20. ขอ้ ใดคอื ความหมายของการนาเสนอผลงาน ก.การนางานทผี่ ลิตขนึ้ มาจัดแสดง ข.การนาผลงานจากที่อ่ืนมาจัดแสดง ค.การผลิตผลงานขน้ึ เพือ่ การจดั แสดง ง.การนาผลงานของตนเผยแพร่ให้สงั คมไดร้ บั ทราบ 21.ขอ้ ใดจัดเปน็ ขอ้ บกพรอ่ งของการสาธิต ก.สารวยลืมแจกเอกสารผเู้ ขา้ ชมการสาธิต ข.สาราญลืมสอบถามทีอ่ ยู่ของผมู้ าชมสาธติ ค.นิคมลืมเกบ็ น้ายาลา้ งจานหลงั จบการสาธติ ง.กาจายลืมกญุ แจรถไวต้ อนทอี่ ออกไปสาธติ 22.ขอ้ ใดไม่เหมาะท่ีจะนาเสนอแบบสาธิต ก.การผลติ หัวรถจักรไอน้า ข.การจดั ดอกไม้สไตล์ญ่ีปุ่น ค.การเปล่ียนถา่ ยนา้ มนั เครอ่ื ง

ง.การขบั รถไถนาแบบเดนิ ตาม 23.ข้อใดเหมาะที่จะนาเสนอแบบสาธิต ก.การผลติ นมอดั เมด็ ข.การทาปยุ๋ หมกั ชวี ภาพ ค.การพาฝรั่งเท่ยี ววดั ไทย ง.การทาบะหมีก่ ่งึ สาเร็จรูป 24.บคุ คลในข้อใดควรปรับปรุงวิธกี ารนาเสนอ ก.ดารงชอบใชว้ ธิ ีการท่องจา ข.ชาตรชี อบอ่านให้ผู้ชมฟงั ค.ไมตรอี ธิบายโดยใหด้ ูตวั อยา่ ง ง.น้ามนตไ์ มช่ อบสบตาผฟู้ ังเลย 25.ข้อใดจัดเปน็ ความไมพ่ รอ้ มในขณะที่นาเสนอ ก.ลกู นกเตรยี มอปุ กรณส์ าธิตครบถ้วน ข.ลกู ปลาฝึกซ้อมทุกคร้ังกอ่ นการสาธิต ค.ลูกหมรู ู้สกึ ตน่ื เตน้ เลก็ น้อยขณะสาธิต ง.ลูกหมีรู้สกึ หวิ ขา้ วมากขณะนาเสนอ 26.ข้อใดไม่เหมาะทจ่ี ะนาเสนอแบบสาธิต ก.การจดั ตปู้ ลา ข.การจดั กระเชา้ ค.การจัดทาบัญชี ง.การจดั วางสนิ คา้ 27.นกั เรยี นคิดวา่ ขอ้ ใดจะทาให้การนาเสนอประสบผลสาเรจ็ ก.ต้ังใจจรงิ ข.เชื่อมั่นสูง ค.เตรียมการดี ง.เน้อื หาพรอ้ ม 28.ข้อใดใช้ภาษาไดเ้ หมาะสมที่สุดในการสาธติ ทาอาหาร ก.“เติมน้าปลาลงไปเลก็ น้อย แล้วลองชิมดู” ข.“เติมนา้ และเกลอื ลงไป แลว้ คนใหเ้ ข้ากนั ” ค.“เตมิ น้าตาลทรายหลงั จากเมล็ดถว่ั เปื่อย”

ง.“เติมซีอิว้ ขาว ๒ ชอ้ นโตะ๊ แล้วปิดฝา” 29.ข้อใดเป็นลักษณะของการสัมภาษณ์งานที่ชัดเจนทส่ี ุด ก.การติดตอ่ สื่อสารกันเร่ืองงาน ข.การตอบคาถามของผู้สัมภาษณ์ ค.การสือ่ สารกนั ระหว่างบคุ คลสองฝ่าย ง.การพดู คุยซกั ถามเพื่อคัดเลอื กคนเขา้ ทางาน 30.ขอ้ ใดไมใ่ ชค่ ุณสมบัตขิ องผู้ให้สมั ภาษณง์ าน ก.แต่งกายสุภาพเรยี บร้อย ข.ตอบคาถามด้วยเสียงที่ชัดเจน ค.ออกเสียงคาควบกลา้ ให้ชดั เจน ง.ควรใชภ้ าษาเฉพาะหรอื คาสแลง 31.ขอ้ ใดไม่ใชค่ ุณสมบตั ิของผ้รู ับโทรศพั ท์ ก.ตอบคาถามและให้คาปรกึ ษา ข.ระลึกเสมอวา่ เปน็ งานบรกิ าร ค.คานึงถงึ มารยาทในการพดู ง.พดู คยุ ธุระและเรอ่ื งส่วนตัว 32.ข้อใดตรงกบั ความหมายของการพูดแสดงความเหน็ ก.คณุ สนิทเข้าประชมุ สหกรณ์การเกษตร ข.คณุ สนองกล่าวคัดค้านการย้ายสนามเปตอง ค.คุณสนมแสดงความรู้สึกยินดเี มอ่ื เปดิ การประชุม ง.คุณนิยมขอใหท้ ่ีประชุมรับรองรายงานการประชุม 33.นกั เรยี นคดิ ว่าข้อใดมีการพดู เสนอความเหน็ ก.การทบี่ คุ คลมาพบปะกนั ข.การทีบ่ ุคคลมาร่วมสังสรรค์ปีใหม่ ค.การที่บุคคลมาแก้ไขปญั หาร่วมกัน ง.การทบ่ี คุ คลมาแสดงความยนิ ดีตอ่ กัน 34.ข้อใดเกยี่ วข้องกบั การแสดงความคิดเห็น ก.ไมค่ ิดทจี่ ะกลา่ วคัดค้านในเร่ืองใดเร่ืองหนึ่ง ข.ไม่เห็นด้วย และแสดงการคดั ค้าน ค.เหน็ ดว้ ย และกล่าวความเหน็

ง.ข้อ ก. และขอ้ ข. ถูก 35.ขอ้ ใดไม่เกยี่ วกับการเสนอความเหน็ ในท่ีประชุม ก.เป็นกจิ กรรมท่ีสรา้ งสรรคส์ ังคมองคก์ รรูปแบบหนง่ึ ข.เปน็ กจิ กรรมทมี่ กี ารเล้ยี งสงั สรรคร์ ว่ มกนั ในองค์กร ค.เป็นกิจกรรมทน่ี ามาใช้แก้ปญั หาและอปุ สรรคในองคก์ รได้ ง.เป็นกจิ กรรมท่สี าคัญยิ่ง ในการระดมความคดิ เห็นของผูเ้ ขา้ ประชมุ 36.ข้อใดไมใ่ ชจ่ ุดมุ่งหมายของการพดู ในที่ประชมุ ก.เพอื่ ให้เกดิ การประสานงานในการดาเนินงาน ข.เพอื่ รณรงคใ์ ห้องค์กรใช้เวลาว่างใหเ้ ปน็ ประโยชน์ ค.เพื่อกระตนุ้ และสร้างแรงจูงใจในการดาเนนิ งาน ง.เพือ่ ใหเ้ กิดการแลกเปล่ยี นความรแู้ ละประสบการณ์ 37.ขอ้ ใดจดั เปน็ การเสนอความคดิ เหน็ ในทปี่ ระชุม ก.ผมขอฝากให้ทกุ ท่านนาไปเผยแพรใ่ ห้ทวั่ ถงึ กัน ข.คณุ ครทู กุ ท่านไดเ้ อกสารครบแลว้ ใชไ่ หมครบั ค.คณุ วเิ ชียรช่วยใหเ้ ลขานกุ ารแจกเอกสารให้ครบดว้ ยครบั ง.คุณองอาจพูดมานัน้ กน็ า่ สนใจครบั แตผ่ มวา่ ยังมีส่ิงสาคญั อีก 38.ข้อใดเหมาะสมที่สุดในการใช้ภาษาโตแ้ ย้ง ก.ดฉิ ันเห็นว่าท่ีคณุ สนองพูดมายงั ไมถ่ กู ค่ะ ข.ผมเห็นว่าคุณเพลนิ ใจไมน่ ่าพูดเชน่ น้ัน ค.คุณวีณาลืมไปแลว้ หรอื ครับวา่ ไม่ควรพูดเร่อื งน้ี ง.ผมวา่ คุณนชิ าพูดมีเหตผุ ลน่าฟงั ครับ แต่ผมไม่คดิ เช่นน้ัน 39.ข้อใดพึงควรระวังในการเสนอความคดิ เห็น ก.ใช้ถ้อยคาที่ไมเ่ สียดสีผู้ใดในท่ีประชมุ ข.การยอมรับฟงั ความคดิ เหน็ ของผู้อื่น ค.เมอ่ื เสนอความเหน็ จบแล้วใหส้ รุปอกี ครั้ง ง.ใช้ความเห็นส่วนตวั ช้นี าใหท้ ่ีประชมุ ยอมรบั 40.ข้อใดจัดเป็นมารยาทในการพดู เสนอความเห็น ก.ใช้คาพดู สภุ าพและใช้น้าเสียงนุม่ นวล ข.เคารพกฎ กติกาและใหเ้ กยี รตทิ ่ีประชมุ ค.ขออนญุ าตประธานกอ่ นการเสนอความเหน็

ง.ขออนญุ าตประธานกอ่ นลุกออกจากหอ้ งประชุม แบบทดสอบ วิชาภาษาไทยเพอื่ อาชพี รหัสวิชา 20000 – 1102 ให้นักศึกษาทาเครื่องหมาย × ในกระดาษคาตอบให้ถกู ตอ้ งท่สี ุดเลอื กเพียงคาตอบเดยี ว 1.เปน็ ความหมายของการฟังและดู ก.การท่ีมที ้ังเสยี งและภาพ ข.การรับร้คู วามหมายของสาร ค.การรู้ความหมายของสารผา่ นส่ือ ง.การรบั สารผา่ นสอื่ ทีม่ ีเสียงหรอื ภาพ 2.ข้อใดจัดเปน็ ความสาคญั ของการฟงั และดู ก.เปน็ กิจกรรมการสอ่ื สารท่ีตรวจสอบได้ ข.เปน็ กิจกรรมทีพ่ ฒั นาศักยภาพมนุษยไ์ ด้ ค.เป็นกจิ กรรมท่มี นุษย์ทุกคนสนใจรว่ มกัน ง.เป็นกจิ กรรมทีม่ นษุ ย์ใชใ้ นชีวิตประจาวัน 3.ข้อใดฟงั และดูผา่ นสื่อบุคคลโดยตรง จ.ภาพยนตร์ ฉ.รายการคดเี ด็ด ช.คอนเสิรต์ การกุศล ซ.รายการคณุ พระชว่ ย 4.ข้อใดส่อื ความหมายได้โดยไมใ่ ช้เสียง จ.ละครเวที ฉ.วทิ ยุชมุ ชน ช.นทิ รรศการ

ซ.ภาพยนตรส์ น้ั 5.ขอ้ ใดจดั เป็นสารจากสือ่ ส่งิ พมิ พ์ จ.สารคดี ฉ.ขา่ วสาร ช.บทความ ซ.ทกุ ข้อทก่ี ลา่ วมา 6.ขอ้ ใดเปน็ มารยาทในการฟังและดู จ.โนรีเปิดโทรทศั น์เสยี งดงั ดูอย่คู นเดยี ว ฉ.สมพรปรบมือเมือ่ มีการกลา่ วแนะนาตวั ผพู้ ูด ช.วิมลนงุ่ กางเกงขาสัน้ ไปชมโบสถว์ ัดพระแกว้ ซ.บงกชเดินเขา้ ออกบ่อยในขณะฟงั ปาฐกถา 7.ข้อใดเป็นสิ่งแรกทีจ่ ะต้องทาในการฟงั และดู จ.เตรียมจดุ ประสงค์ ฉ.เตรยี มบันทึกภาพ ช.เตรียมบันทึกเสยี ง ซ.เตรียมตัวให้พรอ้ ม 8.ขอ้ ใดเป็นการฟังเพอื่ ความเพลดิ เพลิน จ.เวทีลูกทุ่งไทย ฉ.ข่าวเด็ดยามดกึ ช.พชื เกษตรเศรษฐกิจ ซ.ข่าวธุรกจิ วิเคราะหต์ ลาดหุ้น 9.ข้อใดเป็นการฟังและดูเพ่อื การตัดสนิ ใจ จ.ข่าวธรุ กจิ บนั เทงิ รายวัน ฉ.ประกาศขายสินค้ามือสอง ช.สมั มนาผูบ้ ริหารการศึกษา ซ.ประกาศผลการสอบคดั เลอื ก 10.ข้อใดเปน็ การฟังและดเู พ่ือความรู้ จ.หาคลน่ื ความถ่วี ทิ ยุ ฉ.หาคาศพั ท์จากเพลง ช.หาเพื่อนทางอินเทอร์เน็ต

ซ.หาเบอรโ์ ทรศัพท์จากเพอื่ น 11.ข้อใดไมใ่ ชป่ ระเภทของคาส่งั ในการปฏิบัตงิ าน จ.คาสั่งโดยอ้อม ฉ.คาสัง่ โดยตรง ช.คาสงั่ แบบแนะนา ซ.คาส่งั แบบข้อรอ้ ง 12.ข้อใดจดั เปน็ คาสัง่ โดยตรง ก.“ต่ายชว่ ยปิดไฟใหด้ ว้ ย” ข.“ตยุ้ อย่ายนื ขวางทาง” ค.“ตมุ้ ไปตกั น้ามาเร็ว” ง.ขอ้ ข.. และข้อ ค. ถูก 13.ข้อใดจัดเปน็ คาสงั่ แบบขอร้อง ก.“หนูนิดช่วยพายเรอื ให้ปา้ พวงก่อน” ข.“พลอยใส อยา่ รีบเดิน รอฉันด้วย” ค.“ต้อยตงิ่ อย่าแวะเลย ไปก่อนเถอะ” ง.ถกู ทกุ ขอ้ ทกี่ ลา่ วมา 14.ข้อใดแตกต่างจากข้ออ่ืน ก.“นบั ดาวหยดุ พดู เสียที ฉนั หนวกหู” ข.“ก๊กุ ไกเ่ ปดิ ประตเู ดย๋ี วนี้ แม่จะเขา้ บา้ น” ค.“ลงุ แต้มถามมันดูสิ มนั อาจยอมบอกก็ได้” ง.“หา้ มทุจริต ถา้ พบว่าลอกกนั ครูจะปรับตก” 15.ข้อใดแตกต่างจากขอ้ อื่น ก.“อยา่ ไปซื้อ เขาขายแพง” ข.“ฝนตกอยา่ ออกไป เดีย๋ วจะเปน็ หวัด” ค.“เขาหา้ มหวีผมตอนกลางคืน ไมร่ ู้หรอื ” ง.“อย่ามายิงนกตกปลานะ มนั บาปรไู้ หม” 16.ขอ้ ใดคือความหมายของคมู่ อื จ.เอกสารเผยแพรค่ วามรู้สาหรับประชาชนทัว่ ไป ฉ.เอกสารรายงานการปฏบิ ตั ิงานที่ใช้สาหรับเผยแพร่ ช.เอกสารที่ใช้สาหรบั แปลความหมายคลา้ ยพจนานุกรม

ซ.เอกสารที่จดั ทาข้นึ เพ่อื ศกึ ษาเรอื่ งใดเร่ืองหนงึ่ โดยเฉพาะ 17.ข้อใดไม่ใชค่ วามสาคัญของคู่มือ จ.ชว่ ยอานวยความสะดวกในระดับหนงึ่ ฉ.ป้องกันปญั หาทจี่ ะเกิดข้นึ กบั การทางาน ช.มักจะมีประกอบมากับผลติ ภัณฑ์ท่ีสั่งซื้อ ซ.เนอื้ หาของข้อมูลเป็นประโยชน์ตอ่ การทางาน 18.ข้อใดไม่เก่ยี วข้องกับค่มู ือการปฏบิ ัติงานองคก์ ร จ.คูม่ อื การปฏบิ ัติงานพสั ดุ ฉ.คู่มอื การปฏิบตั ิงานสารบรรณ ช.คมู่ อื การปฏบิ ัติงานดา้ นการเงิน ซ.ขอ้ ข. ข้อ ค. ถูก 19.ข้อใดไม่ใชว่ ตั ถุประสงคข์ องคู่มอื การใช้ผลิตภัณฑ์ จ.ทาให้ผูใ้ ช้ร้จู ักวธิ ีการใชง้ านท่ถี ูกต้อง ฉ.ทาให้การปฏิบตั งิ านองคก์ รมีมาตรฐานเดยี วกัน ช.ปอ้ งกนั การเสียหายจากการใชง้ านไม่ถกู ตอ้ ง ซ.ผใู้ ชง้ านสามารถแก้ปัญหาไดด้ ว้ ยตนเองในระดบั หนงึ่ 20.ข้อใดคอื ความหมายของการนาเสนอผลงาน จ.การนางานที่ผลติ ข้ึนมาจดั แสดง ฉ.การนาผลงานจากท่อี ื่นมาจัดแสดง ช.การผลิตผลงานขึ้นเพอื่ การจัดแสดง ซ.การนาผลงานของตนเผยแพร่ใหส้ ังคมได้รับทราบ 21.ขอ้ ใดจัดเปน็ ข้อบกพรอ่ งของการสาธิต จ.สารวยลืมแจกเอกสารผเู้ ขา้ ชมการสาธิต ฉ.สาราญลมื สอบถามท่ีอยู่ของผู้มาชมสาธิต ช.นคิ มลืมเก็บน้ายาล้างจานหลงั จบการสาธติ ซ.กาจายลมื กุญแจรถไว้ตอนทอ่ี ออกไปสาธิต 22.ข้อใดไมเ่ หมาะท่ีจะนาเสนอแบบสาธิต จ.การผลิตหัวรถจกั รไอนา้ ฉ.การจัดดอกไมส้ ไตล์ญปี่ ่นุ ช.การเปล่ยี นถ่ายน้ามันเคร่ือง

ซ.การขับรถไถนาแบบเดินตาม 23.ข้อใดเหมาะที่จะนาเสนอแบบสาธิต จ.การผลิตนมอดั เม็ด ฉ.การทาปยุ๋ หมกั ชวี ภาพ ช.การพาฝรัง่ เทย่ี ววัดไทย ซ.การทาบะหมีก่ งึ่ สาเร็จรปู 24.บุคคลในข้อใดควรปรบั ปรงุ วิธีการนาเสนอ จ.ดารงชอบใช้วธิ ีการทอ่ งจา ฉ.ชาตรีชอบอ่านใหผ้ ู้ชมฟงั ช.ไมตรอี ธิบายโดยใหด้ ูตวั อย่าง ซ.น้ามนตไ์ ม่ชอบสบตาผู้ฟังเลย 25.ข้อใดจดั เป็นความไม่พร้อมในขณะท่ีนาเสนอ จ.ลกู นกเตรียมอุปกรณ์สาธิตครบถ้วน ฉ.ลกู ปลาฝึกซ้อมทกุ ครงั้ กอ่ นการสาธติ ช.ลูกหมูรสู้ ึกต่ืนเต้นเล็กนอ้ ยขณะสาธติ ซ.ลกู หมีรสู้ กึ หวิ ข้าวมากขณะนาเสนอ 26.ขอ้ ใดไม่เหมาะทจ่ี ะนาเสนอแบบสาธติ จ.การจัดต้ปู ลา ฉ.การจดั กระเช้า ช.การจดั ทาบัญชี ซ.การจัดวางสินคา้ 27.นกั เรียนคิดวา่ ขอ้ ใดจะทาให้การนาเสนอประสบผลสาเร็จ จ.ตัง้ ใจจรงิ ฉ.เช่อื มั่นสูง ช.เตรียมการดี ซ.เนื้อหาพรอ้ ม 28.ขอ้ ใดใช้ภาษาไดเ้ หมาะสมทส่ี ุดในการสาธิตทาอาหาร จ.“เตมิ นา้ ปลาลงไปเลก็ น้อย แลว้ ลองชมิ ดู” ฉ.“เติมน้าและเกลือลงไป แลว้ คนใหเ้ ข้ากัน” ช. “เตมิ น้าตาลทรายหลังจากเมลด็ ถัว่ เปอ่ื ย”

ซ. “เติมซีอ้วิ ขาว ๒ ชอ้ นโตะ๊ แล้วปิดฝา” 29.ขอ้ ใดเปน็ ลกั ษณะของการสมั ภาษณ์งานท่ีชัดเจนทีส่ ดุ จ.การติดต่อสอื่ สารกนั เรื่องงาน ฉ.การตอบคาถามของผูส้ มั ภาษณ์ ช.การส่อื สารกันระหวา่ งบุคคลสองฝ่าย ซ.การพดู คยุ ซกั ถามเพ่ือคดั เลอื กคนเขา้ ทางาน 30.ข้อใดไม่ใชค่ ุณสมบัติของผ้ใู หส้ ัมภาษณง์ าน จ.แตง่ กายสุภาพเรียบร้อย ฉ.ตอบคาถามด้วยเสยี งทช่ี ดั เจน ช.ออกเสยี งคาควบกล้าใหช้ ัดเจน ซ.ควรใช้ภาษาเฉพาะหรอื คาสแลง 31.ขอ้ ใดไมใ่ ช่คุณสมบัติของผรู้ บั โทรศัพท์ จ.ตอบคาถามและให้คาปรกึ ษา ฉ.ระลกึ เสมอว่าเปน็ งานบริการ ช.คานงึ ถึงมารยาทในการพดู ซ.พดู คุยธุระและเรื่องสว่ นตวั 32.ข้อใดตรงกับความหมายของการพดู แสดงความเห็น จ.คณุ สนทิ เขา้ ประชมุ สหกรณ์การเกษตร ฉ.คณุ สนองกลา่ วคัดคา้ นการย้ายสนามเปตอง ช.คณุ สนมแสดงความรู้สกึ ยนิ ดเี มื่อเปดิ การประชมุ ซ.คณุ นยิ มขอให้ท่ีประชมุ รบั รองรายงานการประชุม 33.นักเรยี นคดิ ว่าข้อใดมีการพูดเสนอความเห็น จ.การทบ่ี ุคคลมาพบปะกัน ฉ.การที่บุคคลมาร่วมสังสรรค์ปีใหม่ ช.การทบ่ี คุ คลมาแก้ไขปัญหารว่ มกนั ซ.การท่ีบุคคลมาแสดงความยนิ ดีตอ่ กนั 34.ข้อใดเกยี่ วขอ้ งกบั การแสดงความคดิ เหน็ จ.ไม่คดิ ท่ีจะกล่าวคัดค้านในเรอ่ื งใดเร่ืองหนึ่ง ฉ.ไม่เหน็ ดว้ ย และแสดงการคัดค้าน ช.เหน็ ด้วย และกล่าวความเหน็

ซ.ขอ้ ก. และข้อ ข. ถูก 35.ข้อใดไมเ่ ก่ยี วกบั การเสนอความเห็นในท่ีประชุม จ.เป็นกจิ กรรมท่ีสรา้ งสรรคส์ ังคมองค์กรรปู แบบหนึ่ง ฉ.เป็นกจิ กรรมทีม่ ีการเลย้ี งสงั สรรค์ร่วมกนั ในองคก์ ร ช.เป็นกิจกรรมทน่ี ามาใช้แกป้ ญั หาและอุปสรรคในองค์กรได้ ซ.เปน็ กจิ กรรมท่สี าคญั ย่งิ ในการระดมความคิดเห็นของผเู้ ข้าประชมุ 36.ขอ้ ใดไมใ่ ช่จุดมุง่ หมายของการพดู ในทป่ี ระชมุ จ.เพอื่ ให้เกดิ การประสานงานในการดาเนินงาน ฉ.เพอ่ื รณรงค์ใหอ้ งค์กรใช้เวลาวา่ งใหเ้ ป็นประโยชน์ ช.เพอื่ กระต้นุ และสรา้ งแรงจงู ใจในการดาเนินงาน ซ.เพ่อื ใหเ้ กิดการแลกเปลย่ี นความรู้และประสบการณ์ 37. ข้อใดจัดเป็นการเสนอความคดิ เห็นในที่ประชุม จ.ผมขอฝากให้ทกุ ท่านนาไปเผยแพร่ให้ท่วั ถงึ กัน ฉ.คุณครูทุกทา่ นได้เอกสารครบแล้วใช่ไหมครับ ช.คณุ วิเชยี รชว่ ยให้เลขานุการแจกเอกสารให้ครบดว้ ยครบั ซ.คุณองอาจพดู มานนั้ กน็ ่าสนใจครบั แตผ่ มว่ายังมีส่ิงสาคัญอกี 38.ขอ้ ใดเหมาะสมทสี่ ุดในการใช้ภาษาโตแ้ ย้ง ง.ดฉิ นั เหน็ ว่าทค่ี ณุ สนองพูดมายงั ไมถ่ กู ค่ะ จ.ผมเห็นว่าคุณเพลนิ ใจไมน่ ่าพดู เชน่ นั้น ฉ.คณุ วณี าลืมไปแลว้ หรือครับว่าไม่ควรพูดเรอ่ื งนี้ ฆ.ผมว่าคณุ นิชาพูดมีเหตุผลนา่ ฟงั ครบั แต่ผมไมค่ ิดเชน่ นน้ั 39. ข้อใดพึงควรระวังในการเสนอความคิดเหน็ จ.ใช้ถ้อยคาท่ีไมเ่ สียดสีผูใ้ ดในทีป่ ระชุม ฉ.การยอมรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของผูอ้ นื่ ช.เมือ่ เสนอความเห็นจบแลว้ ใหส้ รุปอกี ครัง้ ซ.ใชค้ วามเหน็ ส่วนตวั ชนี้ าให้ที่ประชุมยอมรับ 40. ขอ้ ใดจัดเป็นมารยาทในการพูดเสนอความเห็น ก.ใชค้ าพดู สภุ าพและใช้นา้ เสยี งนุ่มนวล ข.เคารพกฎ กตกิ าและใหเ้ กยี รติที่ประชมุ ค.ขออนุญาตประธานก่อนการเสนอความเหน็