วิทยาศาสตร์งานธุรกิจและบริการ pdf

Sale!

สินค้า / หนังสือเรียนอาชีวศึกษา / หลักสูตรใหม่ / ปวช. / หมวดสมรรถนะแกนกลาง / วิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาอาชีพธุรกิจและบริการ

วิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาอาชีพธุรกิจและบริการ


ISBN: 9786163450357
Itemcode: 3407015100
จำนวนหน้า: 236
ชนิดกระดาษ: อาร์ตการ์ด 210 g
เนื้อในพิมพ์: ปอนด์ 70 g 4สี
ผู้เรียบเรียง: อ.ณัฐญา อัมรินทร์

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สารเคมีในชีวิตประจำวันและในงานอาชีพ เทคโนโลยีชีวภาพ จุลินทรีย์ในอาหาร ปิโตรเลียมและผลิตภัณฑ์ พอลิเมอร์และผลิตภัณฑ์ไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน และคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

ตัวอย่างหนังสือแผนการจัดการเรียนรู้ข้อสอบ/เฉลย

วิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาอาชีพธุรกิจและบริการ


ISBN: 9786163450357
Itemcode: 3407015100
จำนวนหน้า: 236
ชนิดกระดาษ: อาร์ตการ์ด 210 g
เนื้อในพิมพ์: ปอนด์ 70 g 4สี
ผู้เรียบเรียง: อ.ณัฐญา อัมรินทร์

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สารเคมีในชีวิตประจำวันและในงานอาชีพ เทคโนโลยีชีวภาพ จุลินทรีย์ในอาหาร ปิโตรเลียมและผลิตภัณฑ์ พอลิเมอร์และผลิตภัณฑ์ไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน และคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

ตัวอย่างหนังสือแผนการจัดการเรียนรู้ข้อสอบ/เฉลย

มาเป็นคนแรกที่วิจารณ์ “วิทยาศาสตร์งานธุรกิจและบริการ (4 สี)”

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *

การให้คะแนนของคุณ *

บทวิจารณ์ของคุณ *

ชื่อ *

อีเมล *

บันทึกชื่อ, อีเมล และชื่อเว็บไซต์ของฉันบนเบราว์เซอร์นี้ สำหรับการแสดงความเห็นครั้งถัดไป

1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับไฟฟ้าและเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้านและสำนักงาน การเก็บรักษาสินค้า

การใช้พลังงานเพื่อการขนส่ง การอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม สารละลาย ปฏิกิริยาเคมี

สารเคมีที่ใช้ชีวิตระจำวันและสำนักงาน สารสังเคราะห์และผลิตภัณฑ์

2. มีทักษะการคำนวณ การทดลอง การวิเคราะห์และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในวิชาชีพ

3. มีเจตคติที่ดีต่อวิทยาศาสตร์และกิจนิสัยที่ดีในการทำงาน

วิทยาศาสตร์งานธุรกิจและบริการ pdf

1. แสดงความรู้เกี่ยวกับไฟฟ้าและเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้านและสำนักงาน การเก็บรักษาสินค้า

การใช้พลังงานเพื่อการขนส่ง การอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม สารละลาย ปฏิกิริยาเคมี

สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวันและสำนักงาน สารสังเคราะห์และผลิตภัณฑ์

2. คำนวณข้อมูลเกี่ยวกับไฟฟ้าและพลังงานตามหลักการ

3. สำรวจตรวจสอบเกี่ยวกับสารละลาย ปฏิกิริยาเคมี สารเคมีและสารสังเคราะห์ตามกระบวนการทาง

วิทยาศาสตร์

4. ประยุกต์ใช้ความรู้จากการศึกษาทางวิทยาศาสตร์งารธุรกิจและบริการในงานอาชีพ

วิทยาศาสตร์งานธุรกิจและบริการ pdf


    ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับไฟฟ้าและเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้านและสำนักงาน การเก็บรักษาสินค้าการใช้พลังงานเพื่อการขนส่ง 

การอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม สารละลาย ปฏิกิริยาเคมี สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวันและสำนักงาน สารสังเคราะห์และผลิตภัณฑ์

วิทยาศาสตร์งานธุรกิจและบริการ pdf

narinthip.nueaon25 Download PDF

  • Publications : 1
  • Followers : 0

เฉลย วิทยาศาสตร์งานธุรกิจและบริการ ปวส. 30000-1308

เฉลย วิทยาศาสตร์งานธุรกิจและบริการ ปวส.

View Text Version Category : Science

  • Follow

  • 0

  • Embed

  • Share

  • Upload

1

แผนการจดั การเรียนรู้
แบบฐานสมรรถนะอาชีพและบรู ณาการตามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง

รหสั 30000 - 1308 รายวชิ า วิทยาศาสตร์เพื่องานธุรกิจและบริการ
หลักสตู รประกาศนียบตั รวิชาชพี
ประเภทวิชา พาณชิ ยกรรม

จดั ทาโดย
นางสาวสุนษิ า ธิอามาตย์

แผนกวชิ าสามญั สมั พนั ธ์

วทิ ยาลัยการอาชีพขุนหาญ
สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษากระทรวงศึกษาธิการ

2

บนั ทกึ การขออนุมัตกิ ารใชแ้ ผนการจดั การเรียนรู้
ภาคเรียนท่ี 1 / 2564

รหัส 30000-1308 วชิ า วิทยาศาสตร์เพื่องานธุรกิจและบรกิ าร
หลกั สตู ร ประกาศนยี บัตรวิชาชพี ชน้ั สงู พุทธศักราช 2563
ประเภทวิชา พาณิชยกรรม

ขออนุมตั กิ ารใช้แผนการจัดการเรยี นรู้
ลงช่อื ................................................ครผู ู้สอน
(นางสาวสนุ ษิ า ธิอามาตย)์

ความเห็นหวั หนา้ แผนกวชิ า
........................................................................................................................................... ...................................

ลงช่อื ................................................หวั หนา้ แผนกวิชาสามัญสมั พนั ธ์
(นายธนวิน สายนาค)

ความเหน็ ของหัวหนา้ งานพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอน
............................................................................................................................. ..................................................

ลงชอ่ื ................................................หวั หน้างานหลักสตู รฯ
(นายธนวนิ สายนาค)

ความเห็นของรองผู้อานวยการฝ่ายวชิ าการ

 เหน็ ควรพจิ ารณาอนุมตั ิ ให้ใชป้ ระกอบการเรียนการสอนได้

ลงช่อื ................................................รองผูอ้ านวยการฝุาย

วิชาการ (นายชาตรี สารีบุตร)

ความเหน็ ของผู้อานวยการ

 อนุมัติ

 ไม่อนุมัติ เพราะ..................................................................................................

ลงช่ือ................................................

(นายลาปาง พนั ธเ์ พชร)

ผู้อานวยการวทิ ยาลยั การอาชีพขุนหาญ

3

คานา

แผนการจัดการเรียนรู้ มุ่งเน้นฐานสมรรถนะและบูรณาการปรัชญาข องเศรษฐกิจพอเพียง
วชิ าวิทยาศาสตร์เพือ่ งานธุรกิจและบริการ รหัสวิชา 30000–1308 เล่มนไี้ ดจ้ ัดทาข้ึนเพื่อใช้เป็นคู่มือประกอบการ
สอน หรือเป็นแนวทางการสอนในรายวิชาเพ่ือพัฒนาผู้เรียนเป็นสาคัญ ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ
ชั้นสูง (ปวส.) พทุ ธศักราช 2563 สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา กระทรวงศึกษาธกิ าร

การจัดทาได้มีการพัฒนาเพ่ือให้เหมาะสมกับผู้เรียน โดยแบ่งเน้ือหาออกเป็น 8 หน่วย การจัดกิจกรรม
การเรียนการสอนยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ มีการบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และคุณธรรมจริยธรรม
ไว้ในหน่วยการเรยี นร้ตู ามความเหมาะสม สอดคลอ้ งกบั เน้ือหา มีแบบฝึกหัด แบบทดสอบหลังเรียน พร้อมเฉลย
มใี บกจิ กรรมการทดลอง และส่ือการเรียนการสอนต่าง ๆ เพ่ือให้เกดิ ประสทิ ธผิ ลแก่ผ้เู รียนมากยิ่งขึ้น

สนุ ิษา ธิอามาตย์
ครูจ้างสอนประจารายเดือน

สารบญั 4

คานา ............................................................................................................................................... หน้า
สารบญั ............................................................................................................................................ ค
หลกั สตู รรายวชิ า ............................................................................................................................. ง
หนว่ ยการเรียนรู้ .............................................................................................................................. จ
การวัดผลและประเมินผล ................................................................................................................ ฉ
หน่วยการเรยี นรทู้ ีส่ อดคล้องกับสมรรถนะรายวชิ า .......................................................................... ช
โครงการจดั การเรยี นรู้ ..................................................................................................................... ซ
สมรรถนะย่อยและวตั ถุประสงค์เชิงพฤติกรรม ................................................................................ ซ
ตารางวิเคราะหห์ ลักสูตรรายวชิ า ..................................................................................................... ญ
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 1 ไฟฟาู และเครื่องใช้ไฟฟาู ในบ้านและสานักงาน.................................... ท
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 2 การเกบ็ รักษาสนิ คา้ .......................................................................... 1
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 3 การใชพ้ ลงั งานเพอ่ื การขนส่ง .............................................................. 5
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 4 การอนุรักษ์พลังงานและสง่ิ แวดล้อม.................................................... 9
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 5 สารละลลาย........................................................................................ 13
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 6 ปฏิกริ ยิ าเคม.ี ....................................................................................... 17
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 สารเคมที ใ่ี ช้ในชีวิตประจาวันและสานักงาน........................................ 22
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 8 สารสังเคราะห์และผลติ ภณั ฑ์.............................................................. 26
30

5

แผนการจดั การเรียนรู้

ช่ือวิชา วิทยาศาสตร์เพ่ืองานธุรกิจและบริการ Science for Business รหัสวิชา 30000-1308
ระดบั ชน้ั ปวส. สาขาวิชา วิทยาศาสตร์
จานวน 3 หน่วยกิต จานวนชั่วโมง รวม 4 ช่ัวโมง

จดุ ประสงคร์ ายวิชา (Objectives)
1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับไฟฟูา และเคร่ืองใช้ไฟฟูาในบ้านและสานักงาน การเก็บรักษา

สนิ คา้ การใชพ้ ลงั งานเพ่อื การขนสง่ การอนรุ กั ษ์พลังงานและส่ิงแวดล้อม สารละลาย ปฏิกริ ยิ าเคมี สารเคมีท่ี
ใช้ในชวี ิตประจาวนั และสานกั งาน สารสงั เคราะหแ์ ละผลิตภณั ฑ์

2. มที ักษะการคานวณ การทดลอง การวิเคราะห์และสามารถนาไปประยกุ ต์ใช้ในวชิ าชพี
3. มเี จตคติทด่ี ตี ่อวทิ ยาศาสตรแ์ ละกิจนิสัยที่ดใี นการทางาน

สมรรถนะรายวชิ า
1. แสดงความรู้เกี่ยวกับไฟฟูา และเคร่ืองใช้ไฟฟูาในบ้านและสานักงาน การเก็บรักษาสินค้า

การใช้พลังงานเพื่อการขนส่ง การอนุรักษ์พลังงานและส่ิงแวดล้อม สารละลาย ปฏิกิริยาเคมี สารเคมีท่ีใช้ใน
ชวี ิตประจาวันและสานักงาน สารสงั เคราะห์และผลิตภณั ฑ์

2. คานวณขอ้ มูลเกีย่ วกบั ไฟฟาู และพลังงานตามหลักการ
3. สารวจตรวจสอบเก่ียวกับสารละลาย ปฏิกิริยาเคมี สารเคมีและสารสังเคราะห์ตามกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร์
4. ประยกุ ต์ใช้ความร้จู ากการศึกษาวิทยาศาสตรง์ านธุรกจิ และบรกิ ารในงานอาชพี

คาอธบิ ายรายวิชา
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับไฟฟูาและเคร่ืองใช้ไฟฟูาในบ้านและสานักงาน การเก็บรักษาสินค้า

การใช้พลังงานเพ่ือการขนส่ง การอนุรักษ์พลังงานและส่ิงแวดล้อม สารละลาย ปฏิกิริยาเคมี สารเคมีที่ใช้ใน
ชีวิตประจาวนั และสานกั งาน สารสังเคราะหแ์ ละผลิตภัณฑ์

6

โครงการจดั การเรียนรู้
วชิ า วทิ ยาศาสตรเ์ พ่ืองานธรุ กิจและบรกิ าร รหัสวิชา 30000-1308 จานวน 4 ช่ัวโมง/ สปั ดาห์

สัปดาหท์ ่ี รายการสอน จานวนคาบ
1-2 หนว่ ยที่ 1 ไฟฟูาและเครื่องใช้ไฟฟาู ในบ้านและสานักงาน 8
3-4 หนว่ ยที่ 2 การเกบ็ รกั ษาสินค้า 8
5-6 หนว่ ยท่ี 3 การใชพ้ ลังงานเพ่อื การขนสง่ 8
7-8 หน่วยท่ี 4 การอนรุ กั ษพ์ ลงั งานและส่งิ แวดล้อม 8
9-10 หนว่ ยที่ 5 สารละลาย 8
11-12 หน่วยที่ 6 ปฏิกิรยิ าเคมี 8
13-15 หนว่ ยท่ี 7 สารเคมที ใี่ ชใ้ นชวี ติ ประจาวนั และสานกั งาน 12
15-16 หน่วยที่ 8 สารสงั เคราะหแ์ ละผลติ ภณั ฑ์ 8
17-18 วดั ผลและประเมนิ ผลปลายภาค 4
72
รวม

7

แผนการจัดการเรียนรู้ สอนครัง้ ท่ี 1
8 ชม.
รหัสวิชา 30000-1305 ชอื่ วิชา วิทยาศาสตร์เพ่อื งานธุรกจิ และบรกิ าร 3 (4)
หน่วยที่ 1 ชือ่ หน่วย ไฟฟา้ และเครือ่ งใช้ไฟฟ้าในบา้ นและสานกั งาน เวลา

1. สาระสาคญั
พลังงานไฟฟูามีความสาคัญในชีวติ ประจาวนั มากมาย การเรยี นรู้เกี่ยวกบั ไฟฟูาจงึ มคี วามจาเป็นอย่างย่ิง

เพอ่ื ให้สามารถใช้ไฟฟาู ได้อยา่ งถูกวิธี ประหยดั และไมเ่ กดิ อันตราย การศกึ ษาเกี่ยวกบั ความรู้เบอื้ งตน้ เก่ยี วกบั
ไฟฟูา เคร่ืองใช้ไฟฟาู ในบา้ น เครื่องใช้ไฟฟาู สานักงาน และการคานวณการใช้พลังงานไฟฟูา
2. สมรรถนะประจาหน่วย

1) แสดงความรูเ้ กย่ี วกับไฟฟูา อุปกรณ์ไฟฟาู และวงจรไฟฟูาภายในบา้ นและสานกั งานตามหลัก
วทิ ยาศาสตร์

2) เลอื กใชอ้ ุปกรณ์ไฟฟาู ไดเ้ หมาะสมตามความจาเปน็
3) วิเคราะห์ถงึ ความเหมาะสมของการเลือกใชเ้ ครื่องใช้ไฟฟูาทสี่ อดคลอ้ งกบั ทรพั ยากรธรรมชาติ
4) วเิ คราะหเ์ หตผุ ลในการเลอื กใช้เคร่ืองใช้ไฟฟาู และอุปกรณ์ ประหยดั ไฟฟูาตามหลักวทิ ยาศาสตร์
5) ใชเ้ คร่ืองใชไ้ ฟฟูาและอปุ กรณไ์ ฟฟูาโดยคานงึ ถงึ ความคุ้มค่าและสงิ่ แวดล้อม
6) ผู้เรยี นมมี นษุ ยสมั พนั ธ์ ความสามัคคี ความสนใจใฝรุ ู้ ความรับผดิ ชอบ ความมานะ อดทน
และมคี วามคดิ ริเรม่ิ สร้างสรรค์
3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
3.1 จุดประสงคท์ ่ัวไป

1. เพ่ือใหม้ ีความรคู้ วามเขา้ ใจเกย่ี วกับไฟฟูาและเครื่องใช้ไฟฟาู ในบ้านและสานกั งานตามหลกั
วิทยาศาสตร์

2. เพอื่ ให้มีทักษะในการเลือกเครือ่ งใช้ไฟฟาู ในบ้านและสานกั งาน ไดเ้ หมาะสมตามความจาเป็น
3. เพือ่ ใหม้ ีทกั ษะในการวิเคราะหถ์ งึ ความเหมาะสมเคร่อื งใชไ้ ฟฟูาในบ้านและสานกั งาน ท่ี
สอดคล้องกับทรัพยากรธรรมชาติ
4. เพือ่ ใหม้ ีทักษะในการวเิ คราะห์เหตุผลในการเคร่อื งใชไ้ ฟฟูาในบา้ นและสานกั งาน ประหยัดไฟฟูา
ตามหลกั วิทยาศาสตร์
5. เพอื่ ใหม้ ีทกั ษะในการใช้เครือ่ งใช้ไฟฟูาในบ้านและสานักงาน โดยคานึงถงึ ความคุ้มค่าและ
สงิ่ แวดล้อม
6 เพอื่ ใหม้ ีพฤตกิ รรมด้านความมีมนุษยสัมพันธ์ ความสามัคคี ความสนใจใฝุรู้ ความรบั ผิดชอบ
ความมานะ อดทน ความคดิ ริเร่ิมสรา้ งสรรค์ เป็นประชาธิปไตยและห่างไกลยาเสพตดิ

8

3.2 จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม
1. อธิบายการเกิดไฟฟูาและแหล่งกาเนดิ ตา่ ง ๆ ได้
2. อธิบายและยกตัวอย่างประเภทของเคร่อื งใช้ไฟฟาู ต่าง ๆ ได้
3. อธบิ ายหลักการทางานและบอกสว่ นประกอบของเครื่องใชไ้ ฟฟูาในบา้ นและสานกั งานได้
4. เขา้ ชนั้ เรียนตรงเวลาและแตง่ กายถูกต้องตามระเบยี บ
5. มกี ารเตรยี มความพร้อมในการเรยี นและปฏิบตั ิงานเสรจ็ ตามเวลาท่กี าหนด
6. มคี วามละเอียดรอบคอบในการสงั เกตหรือการทางาน
7. แสดงความคดิ เห็น ยอมรบั ความคิดเห็น และใหค้ วามรว่ มมือในการทางาน
8. ใช้เวลาวา่ งในการทางานที่ได้รบั มอบหมาย

4. สาระการเรียนรู้
1) ความรู้เบื้องตน้ เก่ียวกับไฟฟูา
1. การสง่ พลังงานไฟฟูา

2. การใช้ไฟฟูาในบ้านและอาคาร

3. ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟูา

2) เครือ่ งใช้ไฟฟาู ในบา้ น
3) เครอ่ื งใช้ไฟฟาู สานักงาน
4) การคานวณการใชพ้ ลังงานไฟฟูา

5. กจิ กรรมการเรียนรู้
สอนครั้งท่ี 1 ชว่ั โมงท่ี 1-8
ใช้วธิ ีการสอนแบบ System Approach และ การจดั การเรียนรแู้ บบทดลอง
ข้ันนาเข้าสู่บทเรียน
1. ครใู ห้นกั ศึกษายกตัวอย่างเครอ่ื งใช้ไฟฟูาในบ้านและสานักงาน อาจนาอปุ กรณ์ไฟฟูาของจริงมา หรือ

รปู ภาพก็ได้ และรว่ มกันอภปิ รายการใช้เคร่ืองใชไ้ ฟฟูาแตล่ ะชนิดทงั้ ในบ้านและสานักงานเกยี่ วกับหลักการใชเ้ พ่ือ
ประหยักไฟฟาู พร้อมแจกกระดาษขาวให้นักศึกษาคนละ 1 แผน่ เพือ่ ใช้ในการทากจิ กรรม

2. ครใู ห้นกั ศึกษา ศึกษาใบความรู้ เรือ่ ง ความร้เู บ้ืองตน้ เกี่ยวกับไฟฟูา เครื่องใชไ้ ฟฟูาในบา้ น
เครื่องใช้ไฟฟูาสานักงาน การคานวณการใช้พลังงานไฟฟาู และนาความรู้ทไ่ี ด้จากการศกึ ษาใบความรู้มา
เชอ่ื มโยงกบั ผลการอภปิ รายภายในกลุ่ม และรว่ มกนั นาเสนอผลงานผ่านผังมโนทศั นห์ นา้ ชั้นเรียน

3. ครูให้นกั ศึกษาค้นควา้ เก่ยี วกบั เรื่อง อุปกรณ์ไฟฟูา และวงจรไฟฟูาภายในบา้ น
4. ครูให้นกั ศึกษารว่ มกันวาดวงจรไฟฟูาภายในบา้ นของนักศกึ ษา และออกมานาเสนอหน้าชั้นเรยี น

9

ข้นั สอน (ใช้วธิ สี อนแบบจดั การเรียนรแู้ บบทดลอง)
1. ให้นกั ศึกษาทาการทดลองต่อวงจรไฟฟาู แบบอนุกรม แบบขนาน และแบบผสม โดยให้แบง่ กลุ่ม

ทดลองกลุ่มละ 4 คน ทดลองต่อวงจรไฟฟูา กลุ่มละ 1 แบบ
ข้นั เตรียมการทดลอง
1. ครแู ละนกั ศึกษารว่ มกันกาหนดจุดประสงค์ในการทาการทดลองเร่ือง เซลลไ์ ฟฟาู

อยา่ งง่าย
2. ครูและนกั ศึกษารว่ มกนั วางแผนการทดลอง จากกิจกรรมการทดลองในแบบเรียนวชิ า

30000-1308 วทิ ยาศาสตรเ์ พื่องานธุรกจิ และบริการ
3. นกั ศกึ ษาจดั เตรยี มเครือ่ งมือและอุปกรณ์ตา่ ง ๆ ท่ีต้องใช้ในการทดลองให้พรอ้ มเพื่อใช้ในการ

ทดลอง
4. นักศึกษาตรวจสอบเครื่องมือและอปุ กรณ์ต่าง ๆ ให้อยใู่ นสภาพพรอ้ มในการใช้งาน
5. นักศึกษาแบง่ กลุ่มเพื่อทาการทดลอง
ขน้ั ทดลอง
1. ครทู บทวนความรเู้ ก่ียวกับการตอ่ เซลล์ไฟฟาู อย่างงา่ ย และจดุ ประสงค์ในการทดลอง

ท่ีนักศึกษาจะตอ้ งสรุปความรู้ให้ตรงกบั จุดประสงค์ในการทดลอง
2. ครูให้นักศึกษาทดลองตามแผนการทดลองท่ีไดว้ างแผนไวใ้ นครง้ั แรก
3. นกั ศึกษาบนั ทกึ ผลการทดลองทกุ ครั้ง
ขน้ั เสนอผลการทดลอง
1. นักศกึ ษาร่วมกันอภิปรายผลการทดลองภายในกลมุ่
2. ตัวแทนกลุม่ ออกนาเสนอผลการทดลองที่ไดห้ นา้ ช้นั เรียน
3. ใหน้ กั ศึกษาทากจิ กรรมจากใบความรู้ หน่วยที่ 1 เร่อื งไฟฟูาและเครื่องใช้ไฟฟูาในบ้านและ

สานักงาน
2. ให้นกั ศึกษาทากิจกรรมใบงานหน่วยท่ี 1 เร่อื งไฟฟาู และเคร่ืองใช้ไฟฟูา

ข้นั ประเมินผล
1. ครใู ช้คาถามเพ่ือทดสอบความเข้าใจของนักศึกษาจากใบงาน

ขั้นสรุป
1. ครูใหน้ ักศึกษาตัวแทนกลมุ่ ออกนาเสนอผงั มโนทศั นท์ ่ีได้จากการอภิปรายรว่ มกนั ภายในกล่มุ

หน้าช้นั เรียน
2. ครูให้นักศึกษาตวั แทนกลุ่มออกนาเสนอภาพวงจรไฟฟาู ร่วมกนั อภปิ รายวงจรไฟฟูาท่ีถูกต้อง

และให้เหตผุ ลประกอบในการใช้วงจรไฟฟูาดงั กล่าว
3. ครแู ละนกั ศึกษาร่วมกนั สรุปและเปรยี บเทียบข้อดี และข้อเสยี ของการต่อวงจาไฟฟาู แต่ละ

แบบ

10

4. ครูและนกั ศึกษารว่ มอภิปรายเกีย่ วกับความรู้ทไ่ี ด้จากใบความรู้ ใบงานในหน่วยท่ี 1 รวมทงั้
หลักการเลือกเครื่องใช้ไฟฟูาทีเ่ หมาะสมตามความจาเป็น รวมถึงรว่ มกนั วเิ คราะห์ถงึ แหล่งกาเนดิ ไฟฟาู กบั
ทรพั ยากรธรรมชาติของไทย

5. ครูและนกั ศึกษารว่ มกันวเิ คราะหเ์ หตุในการสร้างแหลง่ กาเนดิ ไฟฟาู อุปกรณ์ไฟฟาู และการ
ประหยดั ไฟฟูา โดยคานงึ ถึงความคมุ้ ค่าและส่งิ แวดล้อม นกั ศึกษาทาแบบทดสอบหนว่ ยท่ี 1

การบูรณาการกบั หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
1. ความมีเหตุผล
- วิเคราะห์ถงึ ความเหมาะสมของแหลง่ กาเนิดไฟฟาู ท่สี อดคลอ้ งกับทรัพยากรธรรมชาติ
- วเิ คราะห์เหตุผลในการสร้างแหล่งกาเนดิ ไฟฟาู และอปุ กรณ์ประหยดั ไฟฟาู ตามหลกั วทิ ยาศาสตร์
2. ความพอประมาณ
- เลือกแหลง่ กาเนดิ ไฟฟูาไดเ้ หมาะสมตามความจาเป็น
- เลือกใชอ้ ุปกรณ์ไฟฟูาได้เหมาะสมตามความจาเป็น
3. การมีภูมิค้มุ กนั ในตัวทด่ี ี
- ใชแ้ หล่งกาเนิดไฟฟาู และอปุ กรณ์ไฟฟูาโดยคานงึ ถงึ ความคมุ้ ค่าและสิ่งแวดลอ้ ม
4. เงอื่ นไขความรู้
- ผนู้ ักศกึ ษามีความรคู้ วามเขา้ ใจเกี่ยวกับ ความร้ทู ัว่ ไปเกี่ยวกับพลังงาน แหล่งทม่ี าของพลงั งานและ

การเลอื กแหลง่ พลังงานตามหลักการทางวทิ ยาศาสตร์
5. เง่อื นไขคณุ ธรรม
- นักศึกษามีมนษุ ยสัมพันธ์ ความสามัคคี ความสนใจใฝุรู้ ความรบั ผิดชอบ ความมานะอดทน และมี

ความคิดรเิ รม่ิ สร้างสรรค์

การบูรณาการฐานคณุ ภาพสถานศึกษา 3D ในการเรียนการสอน
1. ดา้ นประชาธปิ ไตย (Democracy)
1) นกั ศึกษาสามารถเลือกเขา้ กลุม่ ตามความสมัครใจ มีการทางานรว่ มกนั แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ

รว่ มกันตามเวลาที่กาหนด
2) นกั ศึกษาแสดงความคดิ เห็นและรบั ฟงั ความคิดเห็นของสมาชกิ ในกลุ่มและผู้อ่ืน

2. ด้านคณุ ธรรม จริยธรรมความเป็นไทย (Decency)
1) นักศึกษามีวินยั มีความรับผิดชอบ มนุ ษยสัมพันธ์ ความสนใจใฝุรู้ การตรงต่อเวลา ความคดิ ริเริ่ม

สรา้ งสรรค์ ความสามคั คี
2) นักศึกษารว่ มกันอนรุ กั ษ์สิ่งแวดล้อมโดยการใช้พลังงานโดยคานงึ ถงึ ความค้มุ ค่าและสง่ิ แวดล้อม

3. ด้านภูมิค้มุ กันจากยาเสพตดิ (Drug – Free)
1) สง่ เสรมิ ให้นกั ศึกษาใช้เวลาวา่ งให้เกดิ ประโยชน์ เช่น การทางานที่มอบหมายให้ในเวลาวา่ ง การ

สืบค้นขอ้ มูล เพ่มิ เติมจากแหลง่ ความรตู้ า่ ง ๆ เชน่ อินเตอร์เนต็ หอ้ งสมุด เป็นตน้

11

2) ส่งเสริมให้นักศึกษาชว่ ยเหลอื ซึ่งกนั และกนั ในการทางานรว่ มกนั จะทาใหง้ านมีประสิทธิภาพมา
ย่ิงขึ้น

6. สือ่ และแหล่งการเรยี นรู้
6.1 สอื่ วัสดุอุปกรณ์
1) หนังสอื เรยี นวชิ า3000-1305 วิทยาศาสตรเ์ พ่อื งานธรุ กิจและบริการ ดร.นวลอนงค์

อชุ ภุ าพ สานักพิมพ์เมอื งไทย
2) ผังมโนทศั น์
3) ภาพวาดวงจรไฟฟูาภายในบา้ น

6.2 สือ่ ใบความรู้ ใบงาน
1) ใบความรหู้ นว่ ยที่ 1 เร่อื ง ความรูเ้ บ้ืองต้นเกี่ยวกบั ไฟฟาู
2) ใบความรหู้ นว่ ยท่ี 1 เรื่อง เคร่อื งใช้ไฟฟาู ในบ้าน
3) ใบความรหู้ น่วยที่ 1 เร่ือง เครอ่ื งใช้ไฟฟูาสานักงาน
4) ใบความรู้หนว่ ยที่ 1 เร่อื ง การคานวณการใช้พลังงานไฟฟูา
5) ใบงานหน่วยท่ี 1 เรอื่ ง ไฟฟาู และเครอ่ื งใชไ้ ฟฟาู ในบา้ นและสานกั งาน

7. หลักฐาน
7.1 หลกั ฐานความรู้
1) แบบทดสอบหลังเรยี นหนว่ ยท่ี 1
2) การนาเสนอหน้าชัน้ เรยี น
3) การทากจิ กรรมกล่มุ (การทดลอง)
4) การทากิจกรรมใบงานหนว่ ยท่ี 1 เรื่อง ไฟฟูาและเครื่องใช้ไฟฟูาในบา้ นและสานักงาน
7.2 หลกั ฐานการปฏิบตั งิ าน
1) แบบประเมินพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
2) แบบประเมนิ ผลการนาเสนองาน
3) แบบประเมินความร้แู บบทดสอบหลงั เรียน หน่วยที่ 1

8. วัดผลประเมนิ ผล
8.1 เครื่องมือประเมิน
1) แบบบันทกึ พฤติกรรมการทากจิ กรรมกลมุ่
2) แบบบันทกึ การนาเสนอผลงาน
3) แบบทดสอบหลังเรียนหนว่ ยท่ี 1
8.2 วิธีการประเมิน
1) ตรวจแบบทดสอบหนว่ ยท่ี 1 โดยใช้แบบเฉลยแบบทดสอบ
2) ประเมนิ ผลการนาเสนอผลงาน โดยใชแ้ บบประเมินผลการนาเสนอผลงาน

12

3) สังเกตพฤติกรรมการแสดงความคิดเห็น การทากิจกรรมกลุม่ การรับฟังความคิดเห็น โดยใช้
แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
8.3 เกณฑก์ ารประเมนิ

นกั ศกึ ษาได้คะแนนรอ้ ยละ 60 ข้นึ ไปถือว่าผา่ นการประเมิน

9. กจิ กรรมเสนอแนะ
-

10. เอกสารอ้างอิง
ดร.นวลอนงค์ อุชุภาพ . หนงั สอื เรียนวิชา 30000-1305 วิทยาศาสตร์เพ่อื งานธรุ กิจและบรกิ าร
สานักพมิ พ์เมืองไทย. 2558

13

แบบฝึกหดั หน่วยที่ 1

คาช้แี จง จงตอบคาถามต่อไปน้ีใหถ้ ูกต้อง
1. ไฟฟาู ทีส่ ง่ ออกจากโรงผลิตไฟฟูาจะถกู แปลงให้มคี วามต่างศักย์สงู เท่าไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
2. การตอ่ วงจรไฟฟูามีก่ีแบบ อะไรบา้ ง
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
3. เครอ่ื งใช้ไฟฟูาประเภทให้ความรอ้ นจะใชพ้ ลงั งานไฟฟาู สงู มากจึงต้องมีเคร่อื งควบคุมอุณหภูมทิ ่ีเรียกว่า อะไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
4. เครอ่ื งใช้ไฟฟาู ที่ใช้กันโดยท่ัวไปมี 8 ประเภทอะไรบ้าง
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
5. เทอร์โมสตตั เป็นสว่ นประกอบของเตารดี มีหลักการทางานอย่างไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

14

แบบทดสอบก่อนเรยี น - หลงั เรยี น หนว่ ยท่ี 1 เร่อื งไฟฟา้ และเคร่ืองใชไ้ ฟฟา้ ในบ้านและสานักงาน

วชิ า 30000 – 1305 วิทยาศาสตร์เพ่อื งานธุรกจิ และบรกิ าร จานวน 10 ข้อ

คะแนนเต็ม 10 คะแนน เวลา 30 นาที

&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&

คาช้แี จง: 1 แบบทดสอบมีจานวน 10 ขอ้
2. จงทาเคร่อื งหมาย  บนตัวเลือกทถ่ี กู ต้องท่ีสดุ เพยี งขอ้ เดียวลงในกระดาษคาตอบ
3. โปรดสง่ แบบทดสอบและกระดาษคาตอบที่กรรมการคุมสอบหลังเสร็จสน้ิ การสอบ

&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&

1. แหล่งกาเนิดไฟฟาู ที่ใช้ในบ้านเรอื นมาจากแหล่งใด

ก. การเสียดสี ข. ปฏกิ ริ ยิ าเคมี

ค. เกดิ จากปฏกิ ริ ิยาโฟโตอเิ ล็กตรกิ ง. การเหนยี่ วนาระหว่างแม่เหล็กกับขดลวด

2. ขอ้ ใดเป็นอปุ กรณ์ใดท่ีทาหน้าทคี่ วบคมุ ความรอ้ นในเคร่ืองใช้ไฟฟูา

ก. สวทิ ช์ไฟฟูา ข. เทอร์โมสตตั

ค. ขดลวดความร้อน ง. แผน่ รองความร้อน

3. ถ้าหากมปี ญั หานา้ ทอี่ อกจากเคร่ืองทาน้าอุ่นไมร่ ้อนควรตรวจดทู ตี่ าแหน่งใด

ก. สวทิ ช์แรงดนั นา้ ข. สวิทช์ปรับระดับความร้อน

ค. กาลังไฟฟูาของเครื่องทาน้าอ่นุ ง. ถูกข้อ ก. และข้อ ข.

4. หลอดไฟฟูาจะมแี สงสว่างมากหรือน้อยขนึ้ อยู่กับอะไร ข. กาลงั ไฟฟูา
ก. ชนดิ ของหลอด ง. ชนิดของไส้หลอด
ค. กระแสไฟฟูา

5. ไดโอดทาหนา้ ที่อย่างไรในเครื่องปน่ั น้าผลไม้ ข. ควบคุมปริมาณกระแสไฟฟูา
ก. ลดแรงเคลอื่ นไฟฟาู ง. เปลยี่ นไฟฟูาจากกระแสสลับเปน็ กระแสตรง
ค. เปลย่ี นระดบั ความเรว็ ของมอเตอร์

6 . เครื่องซักผ้าแบบธรรมดาและเครื่องซักผา้ แบบอตั โนมตั ิตา่ งกันอยา่ งไร
ก. เคร่ืองซักผา้ แบบธรรมดามี 2 ถัง ข. เครอ่ื งซักผ้าแบบธรรมดาไมม่ ถี ังป่ันแหง้
ค. เครื่องซักผา้ แบบธรรมดาไมม่ ีสวิทชต์ ัง้ เวลา ง. เครือ่ งซักผา้ แบบธรรมดาตงั้ เวลาปัน่ แห้งไม่ได้

15

7. ปุม Redial ของเครือ่ งโทรศพั ท์ทาหนา้ ที่อย่างไร ข. ฟงั การสนทนา
ก. โอนสาย ง. เรยี กสายซอ้ น
ค. ทวนหมายเลขเดมิ

8. คอมพิวเตอรม์ ีอปุ กรณช์ นดิ ใดทาหน้าทร่ี บั ข้อมลู ข. เคร่ืองพมิ พ์
ก. จอภาพ ง. หนว่ ยความจา
ค. แปนู พมิ พ์

9. สัญลกั ษณข์ องบาร์โค้ดเลข 3 ตวั แรกแสดงรหสั อะไร ข. รหัสสินคา้
ก. รหัสราคา ง. รหัสประเทศ
ค. รหัสโรงงาน

10. ข้อใดเป็นหลักการทางานของเครอ่ื งโทรสาร
ก. สแกนข้อมลู ทั้งเอกสารและรูปภาพสง่ ไปเป็นสญั ญาณไฟฟาู
ข. ฉายแสงของข้อมูลแล้วเปล่ียนผงหมึกไปยังผรู้ บั
ค. เปลี่ยนสญั ญาณเสียงและข้อความเปน็ สัญญาณไฟฟาู ยังผู้รบั
ง. รบั -สง่ ขอ้ มลู ในรปู คล่ืนแม่เหล็กไฟฟูาไปยงั ผรู้ บั

16

แผนการจดั การเรยี นรู้

รหัสวชิ า 30000-1305 ช่ือวชิ า วิทยาศาสตรเ์ พ่ืองานธรุ กิจและบริการ 3(4) สอนครงั้ ท่ี 2

หน่วยที่ 2 ช่ือหน่วย การเก็บรักษาสินค้า เวลา 8 ชม.

1. สาระสาคญั
การเกบ็ รักษาสนิ ค้าทางด้านการเกษตรกรรม และการประมง เชน่ ผักสด ผลไม้สด และสินคา้ ทเี่ ป็น

อาหารจากทะเลมากมาย ส่ิงเหลา่ นจี้ ะไดร้ ับความเสยี หายมากเนอ่ื งจากสภาวะของอากาศ การบรรจุหบี ห่อ และ
การขนสง่ ท่เี หมาะสม มสี ่วนชว่ ยลดความเสยี หายเหลา่ น้ันได้ซึง่ เปน็ การชว่ ยใหผ้ ลผลติ ถงึ มือผ้บู ริโภคในสภาพทีด่ ี
และจาหนา่ ยในราคาที่สูงอกี ด้วย

2. สมรรถนะประจาหนว่ ย

1. แสดงความรเู้ กี่ยวกบั ความสาคัญของบรรจุภัณฑ์ ประเภทของบรรจุภัณฑ์ การออกแบบบรรจภุ ัณฑ์
ประโยชนข์ องการบรรจภุ ัณฑ์

2. เลือกประเดน็ ปัญหาทจ่ี ะทาการศึกษา วธิ กี ารออกแบบบรรจุภณั ฑจ์ ากวตั ถุดิบในท้องถ่ิน
3. เลือกทรัพยากรในทอ้ งถ่ินเพือ่ นามาเพ่ิมมูลค่าบรรจุภัณฑ์จากวัตถดุ ิบในท้องถิน่
4. วางแผนการทางานในการผลติ บรรจภุ ัณฑ์จากทรัพยากรในทอ้ งถนิ่ โดยเป็นการพัฒนาอยา่ งย่งั ยนื และ
คานึงถงึ ความคุ้มคา่ และส่งิ แวดล้อม
5. นกั ศึกษามมี นุษยสัมพันธ์ ความสามัคคี ความสนใจใฝรุ ู้ ความรบั ผดิ ชอบ ความมานะ อดทน และมี
ความคิดริเริม่ สร้างสรรค์

3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
3.1 จุดประสงคท์ ั่วไป
1. เพอ่ื ให้มีความร้คู วามเข้าใจเกย่ี วกับความสาคัญของบรรจุภัณฑ์ ประเภทของบรรจุภัณฑ์ การ

ออกแบบบรรจภุ ณั ฑ์ ประโยชนข์ องการบรรจุภณั ฑ์
2. เลือกประเดน็ ปญั หาที่จะทาการศึกษา วธิ ีการออกแบบบรรจุภัณฑจ์ ากวตั ถุดิบในท้องถิ่น
3. เพ่ือให้มีทกั ษะในการเลือกทรพั ยากรในท้องถ่นิ เพ่ือนามาเพมิ่ มลู คา่ ดว้ ยการแปรรูปบรรจุภัณฑ์

ได้เหมาะสมตามความจาเปน็
4. เพื่อใหม้ ีทักษะในการวเิ คราะหป์ ระเด็นปญั หาที่ทาการแปรรปู บรรจภุ ณั ฑใ์ นท้องถ่ิน
5. เพ่ือให้มีทักษะในการวางแผนการทางานในการแปรรูปทรัพยากรในทอ้ งถิ่นด้วยการทาบรรจุ

ภัณฑ์โดยเป็นการพฒั นาอย่างยงั่ ยนื และคานึงถึงความคุ้มค่าและส่ิงแวดลอ้ ม
6. เพอ่ื ให้มีพฤติกรรมด้านความมมี นษุ ยสัมพันธ์ ความสามัคคี ความสนใจใฝุรู้ ความรบั ผิดชอบ

ความมานะ อดทน และมีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์

17

3.2 จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม
1. อธบิ ายเกยี่ วกับความสาคัญของบรรจภุ ัณฑ์ ประเภทของบรรจุภณั ฑ์ การออกแบบบรรจุภณั ฑ์

ประโยชนข์ องการบรรจภุ ัณฑ์
2. เลือกประเด็นปัญหาทจี่ ะทาการศึกษา วธิ กี ารออกแบบบรรจุภณั ฑจ์ ากวัตถุดบิ ในท้องถ่ิน 3.

เลือกทรัพยากรในท้องถนิ่ เพื่อนามาเพ่ิมมลู ค่าด้วยการแปรรูปการแปรรูปบรรจภุ ณั ฑ์ไดเ้ หมาะสมตามความจา
เป็น

4. วิเคราะหป์ ระเดน็ ปัญหาที่ทาการแปรรูปบรรจุภณั ฑ์ในท้องถิ่น
5. วเิ คราะห์และปฏิบัติกิจกรรมการผลิตบรรจุภัณฑท์ ่เี ป็นธรรมชาตมิ าทดแทนตามขน้ั ตอนและ
หลักวิทยาศาสตร์
6. วางแผนการทางานในการแปรรปู ทรพั ยากรในท้องถน่ิ ด้วยการทาบรรจุภัณฑ์โดยเป็นการพัฒนา
อยา่ งยง่ั ยืน และคานึงถึงความคุ้มค่าและส่ิงแวดลอ้ ม
7. เขา้ ช้นั เรยี นตรงเวลาและแต่งกายถูกต้องตามระเบียบ
8. มีการเตรียมความพร้อมในการเรยี นและปฏิบตั ิงานเสร็จตามเวลาทีก่ าหนด
9. มีความละเอียดรอบคอบในการสังเกตหรือการทางาน
10. แสดงความคดิ เห็น ยอมรับความคดิ เห็น และให้ความร่วมมอื ในการทางาน
11. ใช้เวลาวา่ งในการทางานทไี่ ด้รบั มอบหมาย

4. สาระการเรียนรู้
1. ความสาคัญของบรรจุภัณฑ์
2. ประเภทของบรรจุภัณฑ์
3. การออกแบบบรรจุภัณฑ์
4. ประโยชน์ของการบรรจุภัณฑ์

5. กิจกรรมการเรยี นรู้
สอนครงั้ ท่ี 2 ชว่ั โมงที่ 9-16
ใช้การสอนแบบ System Approach
นาเขา้ สู่บทเรียน
1. ครูให้นกั ศึกษาเตรยี มวัสดุในการผลติ บรรจุภัณฑ์อาหารชนิดตา่ ง ๆ ที่สามารถหาได้ในท้องถ่ิน ชุมชน

และในบรเิ วณวทิ ยาลยั จากนั้นให้นกั ศึกษาแยกประเภทของบรรจุภัณฑต์ ามเกณฑ์การจาแนกทนี่ ักศกึ ษาเปน็ ผู้
ตั้งข้ึน

2. ตัวแทนกลุม่ ออกนาเสนอผลการจดั กลุม่ บรรจภุ ณั ฑ์หน้าชัน้ เรยี น พร้อมใหเ้ หตุผลในการจาแนกบรรจุ
ภัณฑ์ออกเปน็ กลมุ่ ๆ ดงั ท่นี ักศึกษาได้ออกมานาเสนอ

18

ขน้ั สอน
3. ครใู ห้นักศึกษารว่ มกันศึกษาใบความรู้หนว่ ยท่ี 2 เรอ่ื งความสาคัญของบรรจุภณั ฑ์ เรอ่ื งประเภทของ

บรรจุภัณฑ์ เรอ่ื งการออกแบบบรรจภุ ัณฑ์ และเร่อื งประโยชนข์ องการบรรจุภัณฑ์
4. ครูใหน้ กั ศึกษาร่วมกนั อภปิ รายการจดั กลุม่ ของนกั ศึกษาข้างตน้ และให้เหตุผลประกอบว่าบรรจุ

ภณั ฑท์ น่ี ักศกึ ษาจัดกลุม่ มีความสาคญั ต่อการเกบ็ รกั ษา การออกแบบบรรจุภัณฑ์ และประโยชน์ของบรรจภุ ัณฑ์
5. นักศกึ ษาออกมานาเสนอผลการอภิปรายร่วมกนั หนา้ ชั้นเรียน จากนัน้ ครแู ละนักศึกษาร่วมกนั

แลกเปล่ียนความคิดเห็นเพ่ือใช้ประกอบการปรบั ปรุงการออกแบบบรรจภุ ัณฑข์ องนักศึกษาเพ่ือใช้ในการนาเสนอ

ผลงานในสัปดาหท์ ่ี 4
ขัน้ สรปุ และประเมินผล
1. นักศึกษาและครรู ว่ มกันสรุปเก่ียวกบั ความสาคัญของบรรจุภัณฑ์ ประเภทของบรรจภุ ัณฑ์

การออกแบบบรรจภุ ัณฑ์ ประโยชน์ของการบรรจุภัณฑ์ การออกแบบบรรจุภณั ฑ์จากวัตถุดบิ ในท้องถิน่
ได้เหมาะสมตามความจาเปน็ วิเคราะหป์ ระเดน็ ปัญหาการแปรรูปผลิตภณั ฑใ์ นท้องถน่ิ วิเคราะหแ์ ละปฏิบัติ
กจิ กรรมการใชบ้ รรจุภัณฑ์ท่ีเป็นธรรมชาติมาทดแทน หรือลดความเสย่ี งจากสารเคมใี นบรรจุภัณฑ์อย่างถูกต้อง
ตามขั้นตอนและหลักวิทยาศาสตร์ เปน็ การพัฒนาอย่างยั่งยนื และคานงึ ถึงความคมุ้ ค่าและสง่ิ แวดล้อม

2. นักศกึ ษาทาแบบทดสอบหลงั เรยี น
3. ครูประเมินผลการเรียนของนักศึกษาโดยการให้นกั ศึกษาทาแบบทดสอบหลังเรยี น

การบรู ณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
1. ความมีเหตผุ ล
- วเิ คราะหป์ ระเดน็ ปญั หาท่ีทาการแปรรูปผลิตภัณฑจ์ ากทอ้ งถ่นิ
- วิเคราะห์และปฏบิ ัติกิจกรรมการใชบ้ รรจุภัณฑท์ ี่เปน็ ธรรมชาติมาทดแทน หรอื ลดความเสย่ี งจาก

สารเคมีอยา่ งถูกต้องตามข้ันตอนและหลกั วิทยาศาสตร์
2. ความพอประมาณ
- เลือกประเดน็ ปัญหาที่จะทาการศึกษา วธิ กี ารการใชบ้ รรจภุ ณั ฑ์ท่ีเปน็ ธรรมชาติมาทดแทน หรือลด

ความเส่ียงจากสารเคมีรวมทงั้ การออกแบบบรรจุภณั ฑ์
- เลอื กทรัพยากรในท้องถน่ิ เพอ่ื นามาเพม่ิ มลู ค่าด้วยการแปรรปู เป็นการใช้บรรจุภัณฑ์ที่เป็นธรรมชาติ

มาทดแทน หรือลดความเสย่ี งจากสารเคมีชนดิ ตา่ ง ๆ ไดเ้ หมาะสมตามความจาเป็น
3. การมีภมู ิคมุ้ กนั ในตวั ทดี่ ี
- วางแผนการทางานในการแปรรปู ทรัพยากรในท้องถ่ินด้วยการใชบ้ รรจุภณั ฑท์ ีเ่ ป็นธรรมชาตมิ า

ทดแทน หรือลดความเสีย่ งจากสารเคมโี ดยเป็นการพฒั นาอย่างย่งั ยนื อีกทงั้ คานึงถึงความค้มุ ค่าและสิ่งแวดล้อม

19

4. เงือ่ นไขความรู้
- นักศกึ ษามีความรูค้ วามเข้าใจเก่ยี วกบั ความรู้ท่ัวไปเกีย่ วกับการแปรรูปทรัพยากรในท้องถน่ิ ดว้ ยการ

ใช้บรรจภุ ัณฑท์ ี่เป็นธรรมชาติมาทดแทน หรือลดความเสย่ี งจากสารเคมี
5. เงือ่ นไขคุณธรรม
- นักศกึ ษามีมนษุ ยสมั พันธ์ ความสามัคคี ความสนใจใฝุรู้ ความรับผิดชอบ ความมานะอดทน และมี

ความคดิ รเิ ริ่มสรา้ งสรรค์

การบรู ณาการฐานคุณภาพสถานศกึ ษา 3D ในการเรียนการสอน
1. ดา้ นประชาธิปไตย (Democracy)
1) นักศกึ ษาสามารถเลือกเข้ากลุ่มตามความสมัครใจ มีการทางานร่วมกนั แบ่งหน้าที่รับผดิ ชอบ

รว่ มกนั ตามเวลาท่ีกาหนด
2) นกั ศกึ ษาแสดงความคิดเห็นและรบั ฟังความคิดเห็นของสมาชิกในกลุ่มและผู้อ่ืน

2. ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรมความเปน็ ไทย (Decency)
1) นกั ศึกษามีวินัย มีความรับผิดชอบ มุนษยสมั พนั ธ์ ความสนใจใฝุรู้ การตรงต่อเวลา ความคิดรเิ ริ่ม

สร้างสรรค์ ความสามคั คี
2) นักศกึ ษาร่วมกนั อนุรักษ์สิง่ แวดลอ้ มโดยการใช้พลังงานโดยคานึงถงึ ความคมุ้ ค่าและส่งิ แวดลอ้ ม

3. ดา้ นภมู ิคุ้มกันจากยาเสพติด (Drug – Free)
1) ส่งเสรมิ ให้นักศึกษาใชเ้ วลาวา่ งให้เกดิ ประโยชน์ เช่น การทางานที่มอบหมายใหใ้ นเวลาวา่ ง การ

สบื ค้นขอ้ มูล เพ่มิ เติมจากแหลง่ ความรตู้ ่าง ๆ เชน่ อนิ เตอร์เนต็ หอ้ งสมุด เปน็ ตน้
2) ส่งเสริมให้นักศึกษาช่วยเหลอื ซึ่งกนั และกัน ในการทางานรว่ มกันหากรว่ มมือกันจะทาใหง้ านมี

ประสิทธภิ าพมายิ่งข้นึ

6. สอ่ื และแหล่งการเรยี นรู้
6.1 สื่อวสั ดุอปุ กรณ์
1) สถาบันการส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2549). หนงั สือเรยี นสาระการเรยี นรพู้ ้นื ฐาน

และเพิ่มเติม เคมี เล่ม 5 ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 กรุงเทพฯ : ครุ ุสภาลาดพรา้ ว.
2) หนังสือเรียนวิชา 30000-1305 วทิ ยาศาสตรเ์ พื่องานธรุ กจิ และบรกิ าร ดร.นวลอนงค์

อชุ ุภาพ สานักพิมพ์เมอื งไทย

6.2 สื่อใบความรู้ ใบงาน
1) ใบความรูห้ นว่ ยท่ี 1 เรอื่ ง ความสาคัญของบรรจุภัณฑ์
2) ใบความรหู้ นว่ ยที่ 1 เรื่อง ประเภทของบรรจุภัณฑ์
3) ใบความรู้หน่วยที่ 1 เรื่อง การออกแบบบรรจุภณั ฑ์
4) ใบความร้หู น่วยท่ี 1 เรื่อง ประโยชน์ของการบรรจภุ ัณฑ์

20

5) ใบงานหนว่ ยที่ 1 เร่ือง เรอื่ งการเกบ็ รักษาสินคา้
7. หลกั ฐาน

7.1 หลกั ฐานความรู้
1) การทาแบบทดสอบหลงั เรียน
2) การนาเสนอหนา้ ชนั้ เรยี น
3) การทากิจกรรมกลุ่ม
4) การทากิจกรรมใบงาน

7.2 หลักฐานการปฏิบัติงาน
1) แบบประเมินพฤตกิ รรมการทากิจกรรมกลุ่ม
2) แบบประเมนิ ผลการนาเสนองาน
3) แบบประเมินความรูท้ ้ายหนว่ ยการเรียน

8. วดั ผลประเมินผล
8.1 เครือ่ งมอื ประเมนิ
1) แบบบนั ทึกพฤติกรรมการทากจิ กรรมกลมุ่
2) แบบบนั ทกึ การนาเสนอผลงาน
3) แบบทดสอบหลังเรยี น
4) ใบงาน
8.2 วธิ ีการประเมนิ
1) ตรวจแบบทดสอบหลังเรียนโดยใชแ้ บบเฉลยแบบทดสอบหลังเรยี น
2) ประเมนิ ผลการนาเสนอผลงาน โดยใช้แบบประเมินผลการนาเสนอผลงาน
3) สังเกตพฤติกรรมการแสดงความคดิ เห็น การทากจิ กรรมกลมุ่ การรับฟังความคิดเหน็ โดยใช้
แบบสังเกตพฤติกรรมการทากิจกรรมกลมุ่
8.3 เกณฑก์ ารประเมิน
นักเรียนได้คะแนนร้อยละ 60 ข้นึ ไปถือวา่ ผ่านการประเมิน

9. กจิ กรรมเสนอแนะ
-

10. เอกสารอา้ งอิง
-

21

แบบฝึกหัดหนว่ ยท่ี 2

คาชีแ้ จง จงตอบคาถามต่อไปน้ใี ห้ถกู ต้อง
1. บรรจภุ ณั ฑแ์ บ่งตามวิธบี รรจแุ ละวธิ กี ารขนถ่าย แบ่งได้กี่ประเภทอะไรบ้าง
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. การเลือกบรรจุภณั ฑ์อาหาร ผปู้ ระกอบการจะต้องพิจารณาถงึ สง่ิ ใดบา้ ง
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. วสั ดุท่ีใช้ทาบรรจุภณั ฑ์แบง่ ได้เป็น 4 ประเภทอะไรบ้าง แต่ละประเภทใช้บรรจุอะไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4. บรรจุภัณฑ์ Crystallized PET นยิ มใชใ้ นอาหารแช่แข็ง เพราะเหตใุ ด
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
5. การเลือกบรรจุภณั ฑท์ ่ีมีประสิทธิภาพควรมลี กั ษณะอย่างไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

22

แบบทดสอบหลังเรยี น หน่วยท่ี 2 เรอ่ื ง การเก็บรกั ษาสินคา้
วิชา30000 – 1305 วิทยาศาสตรเ์ พื่องานธุรกจิ และบรกิ าร ตามหลักสูตรประกาศนียบตั รวิชาชพี ชน้ั สูง

จานวน 10 ข้อ คะแนนเต็ม 10 คะแนน เวลา 20 นาที

&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&

คาชแ้ี จง: 1 แบบทดสอบมีจานวน 10 ข้อ
2. จงทาเคร่ืองหมาย  บนตัวเลอื กที่ถูกต้องท่สี ุดเพยี งขอ้ เดยี วลงในกระดาษคาตอบ
3. โปรดสง่ แบบทดสอบและกระดาษคาตอบทีก่ รรมการคมุ สอบหลังเสรจ็ ส้ินการสอบ

&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&

คาชแ้ี จง จงทาเครอ่ื งหมาย  บนตัวเลือกทถี่ ูกตอ้ งท่สี ดุ เพียงข้อเดยี วลงในกระดาษคาตอบ

1. ผลิตภณั ฑท์ างการเกษตรสว่ นใหญจ่ ะเก็บในรูปแบบใด

ก. ใส่ถงุ พลาสตกิ ข. ไวใ้ นทอ่ี ุณหภูมติ า่

ค. ใส่กลอ่ งที่มีอากาศผ่านได้สะดวก ง. ถูกขอ้ ข และ ค

2. การเก็บรกั ษาอาหารประเภท เมล็ดพืช ข้าว อาหารแหง้ ควรเก็บรักษาอย่างไร

ก. ใส่บรรจภุ ัณฑเ์ พื่อปอู งกันการสญู เสยี ความชื้น ข. เกบ็ ใส่บรรจภุ ัณฑ์และใส่สารดูดความชน้ื

ค. เกบ็ ใส่กล่องท่ปี ูองกันความชืน้ ได้ ง. เก็บในท่โี ปรง่ และอากาศถ่ายเทไดส้ ะดวก

3. การใช้บรรจุภณั ฑ์กล่องโฟมบรรจุอาหารเพราะเหตุใด

ก. ปอู งกันการเหี่ยวของผกั ผลไม้ ข. ปูองกันการคายนา้ ของผกั ผลไม้

ค. ปอู งกนั การกระทบกระเทือนของอาหาร ง. ปูองกนั การหดตวั ของผัก ผลไม้

4. อาหารประเภทปรงุ สาเรจ็ ท่สี ามารถรบั ประทานไดเ้ ลยนิยมใช้บรรจภุ ัณฑ์ประเภทใด

ก. ใส่ถุงพลาสตกิ ข. ใส่กล่องพลาสตกิ

ค. บรรจกุ ระป๋องโลหะ ง. ใสก่ ล่องกระดาษแขง็

5. เพราะเหตุใดการขนสง่ อาหารประเภทเกษตรกรรมจึงนิยมขนส่งทางเรือ
ก. บรรทุกได้ปริมาณมากและประหยัดคา่ ใช้จ่าย ข. สะดวกและรวดเรว็ ในการขนสง่
ค. สามารถควบคุมเร่ืองความปลอดภัยไดง้ า่ ย ง. สามารถควบคุมเร่ืองความชน้ื ไดด้ ี

6. การขนส่งสนิ ค้าทางบกนิยมขนส่งสนิ คา้ ประเภทใด ข. เคร่ืองด่ืมน้าอัดลม
ก. เมล็ดพันธ์พชื ง. สารเคมี
ค. ขา้ วเปลือก

23

7. การขนส่งสินคา้ ทางอากาศนิยมขนสง่ สนิ คา้ ประเภทใด ข. เคร่ืองดื่มน้าอัดลม
ก. เมลด็ พันธพ์ ืช ง. อญั มณี
ค. ข้าวเปลือก

8. ขอ้ ควรระวงั ในการขนส่งอาหารประเภทที่ไม่ต้องบรรจุภัณฑ์

ก. เลอื กระบบการขนสง่ ไดเ้ หมาะสม ข. ระวงั เร่อื งการถา่ ยเทอากาศไดข้ ณะขนสง่

ค. ระวังในเร่อื งการกระทบกระเทือน ง. ยานพาหนะท่ีขนสง่ ต้องสะอาด

9. ข้อใดเป็นบรรจุภัณฑ์ทน่ี ามารไี ซเคิลได้ ข. ขวดแก้ว
ก. ลังไม้ ง. ภาชนะโฟมต่าง ๆ
ค. ขวดพลาสตกิ

10. บรรจุภณั ฑ์ข้อใดทีอ่ ยู่ไดน้ านและปลอดภัยในการใช้มากทส่ี ุด

ก. ลังไม้ ข. ขวดแกว้

ค. ขวดพลาสตกิ ง. ภาชนะโฟมต่าง ๆ

24

แผนการจัดการเรียนรู้

รหสั วชิ า 30000-1305 ชือ่ วชิ า วทิ ยาศาสตรเ์ พ่ืองานธรุ กิจและบริการ 3(4) สอนคร้งั ท่ี 3

หน่วยที่ 3 ช่อื หน่วย การใช้พลังงานเพอ่ื การขนส่ง เวลา 8 ชม.

1. เนอื้ หาสาระ

พลังงานมีหลายรูปแบบ เช่น พลังงานกล พลังงานศักย์ พลังงานจลน์ พลังงานความร้อน พลังงานแสง
พลงั งานไฟฟูา และพลังงานเสียง เป็นต้น พลังงานในรูปแบบเหล่าน้ีสามารถนามาใช้เพ่ือการขนส่งทางบก ทาง
น้า และทางอากาศ หรือพลังงานคือ ความสามารถของส่ิงใดสิ่งหน่ึงที่จะทางานได้ ซึ่งงานเป็นผลจากการ
กระทาของแรงเป็นเหตุให้สิ่งนั้นเคลื่อนท่ีซ่ึงคุณสมบัติโดยท่ัวไปของพลังงานมีอยู่ 2 ประการ คือ ทางานได้และ
เปลีย่ นรปู ได้

2. สมรรถนะย่อย

แสดงความรแู้ ละปฏบิ ัตเิ กยี่ วกบั การใชพ้ ลงั งานเพื่อการขนส่ง

3. วัตถปุ ระสงค์เชงิ พฤตกิ รรม

1. อธบิ ายความหมายของการใชพ้ ลงั งานได้
2. อธิบายและยกตวั อยา่ งประเภทของพลังงานได้
3. อธบิ ายความสาคัญของการขนส่งได้
4. อธบิ ายลักษณะและความสาคญั ของการขนส่งทางบกได้
5. อธิบายลกั ษณะและความสาคัญของการขนส่งทางน้าได้
6. อธบิ ายลักษณะและความสาคัญของการขนส่งทางอากาศได้

4. สาระการเรียนรู้

3.1 ความหมายของพลังงาน
3.2 ประเภทของพลงั งาน
3.3 ความสาคญั ของการขนส่ง
3.4 การขนส่งทางบก
3.5 การขนส่งทางน้า
3.6 การขนสง่ ทางอากาศ
5. กจิ กรรมการเรยี นรู้
สอนคร้งั ที่ 3 ชัว่ โมงที่ 17-24
ใชว้ ธิ กี ารสอนแบบ System Approach

25

ขน้ั นาเขา้ สู่บทเรยี น
1. ครสู นทนากบั นักศึกษาเกี่ยวกบั การใช้ยานพาหนะในการเดินทาง การขนส่งสินค้าท้ังทางบก ทาง

น้า และทางอากาศของนกั ศึกษาในชวี ิตประจาวัน
2. ตัวแทนนักศึกษาออกมานาเสนอผลการอภปิ รายรว่ มกัน ครแู ละนกั ศึกษารว่ มกนั แสดงความ

คดิ เหน็
ขั้นปฏบิ ตั กิ จิ กรรม
1. ครูจัดฐานการเรียนรอู้ อกเปน็ 6 ฐาน ฐานที่ 1 เร่อื งความหมายของพลงั งาน ฐานท่ี 2 เรื่อง

ประเภทของพลงั งาน ฐานที่ 3 เรอื่ งความสาคญั ของการขนสง่ ฐานที่ 4 เรอ่ื ง การขนส่งทางบก ฐานที่ 5 เร่ือง
การขนส่งทางน้า และฐานที่ 6 เร่ืองการขนส่งทางอากาศ ใหน้ กั ศึกษา แบ่งกลุ่มเพือ่ ศกึ ษาใบความรู้โดยจดั
แบง่ เป็น 6 กลุม่ โดยให้นักศึกษาเรยี นเปน็ ฐานจนครบท้ัง 6 ฐาน เพื่อนาเสนอผลการศกึ ษาหนา้ ชน้ั เรียน
ประกอบส่อื มีการประเมินผลการนาเสนอ

2. ครปู ระเมนิ ผลการนาเสนอผลงาน โดยดูการเตรยี มความพร้อม การแตง่ กายที่ถูกต้องเหมาะสม
การนาเสนอ บุคลิกทา่ ทาง ความมัน่ ใจ การสรา้ งสื่อประกอบการนาเสนอ และการใชส้ ื่อประกอบการนาเสนอ

3. ครแู ละนกั ศกึ ษารว่ มกนั อภิปรายหลงั จากมีการนาเสนอผลงาน โดยให้มกี ารนาเสนอผลงานใน
สปั ดาหถ์ ัดไป

4. ให้นักศึกษาทากจิ กรรมใบงานหนว่ ยที่ 3 เรื่องการใชพ้ ลังงานเพ่ือการขนส่ง
5. ครปู ระเมินผลการนาเสนอผลงานของนักศึกษา จากนั้นครูและนักศกึ ษาร่วมกนั อภปิ รายและ
แสดงความคิดเหน็ และแนวทางในการแก้ปัญหาเพื่อลดการใชพ้ ลงั งานอย่างประหยัดและค้มุ คา่ เพ่ือนาไปใชใ้ น
ชีวิตประจาวนั
ข้ันสรุป
1. ครแู ละนักศึกษาร่วมกนั สรุปเนื้อหาท่ีไดจ้ ากบทเรียน และแนวทางในการปูองกนั การใชพ้ ลังงาน
อยา่ งประหยดั และคมุ้ ค่าเพื่อนาไปใช้ในชวี ติ ประจาวนั และโครงการเพื่อรณรงค์การลดใชพ้ ลงั งาน
การบูรณาการกบั หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
1. ความมเี หตผุ ล
- อธิบายการใช้พลงั งานเพ่ือการขนส่ง
- อธิบายวิธกี ารสบื คน้ ข้อมูลใหไ้ ดต้ ามความต้องการ
2. ความพอประมาณ
- เลอื กใชพ้ ลังงานอย่างประหยัด โดยการใชอ้ ย่างพอประมาณ
- สามารถนาไปใช้ในชีวติ ประจาวนั ได้เหมาะสมตามความจาเปน็
3. การมีภมู คิ ุ้มกนั ในตวั ทดี่ ี
- บารุงดูแลรักษาพลงั งานโดยคานงึ ถึงความสมดุลของธรรมชาติ

26

4. เงอ่ื นไขความรู้
- นกั ศกึ ษามีความรูค้ วามเข้าใจเก่ียวกับ การใชพ้ ลงั งานเพ่ือการขนส่งทางบก ทางน้า และทาง

อากาศ
5. เงื่อนไขคณุ ธรรม
- นกั ศกึ ษามีมนษุ ยสัมพันธ์ ความสามคั คี ความสนใจใฝุรู้ ความรับผิดชอบ ความมานะอดทน และมี

ความคิดริเร่ิมสรา้ งสรรค์

การบรู ณาการฐานคณุ ภาพสถานศึกษา 3D ในการเรียนการสอน
1. ดา้ นประชาธปิ ไตย (Democracy)
1) นักศกึ ษาสามารถเลอื กเข้ากลุ่มตามความสมัครใจ มีการทางานรว่ มกนั แบ่งหนา้ ท่ีรับผิดชอบ

รว่ มกันตามเวลาท่ีกาหนด
2) นักศกึ ษาแสดงความคดิ เห็นและรบั ฟงั ความคิดเห็นของสมาชกิ ในกล่มุ และผู้อนื่

2. ด้านคณุ ธรรม จริยธรรมความเปน็ ไทย (Decency)
1) นักศึกษามีวินัย มคี วามรับผดิ ชอบ มุนษยสัมพนั ธ์ ความสนใจใฝุรู้ การตรงต่อเวลา ความคิดริเร่มิ

สรา้ งสรรค์ ความสามัคคี
2) นกั ศกึ ษารว่ มกันอนรุ ักษ์ส่งิ แวดล้อมในการใชพ้ ลังงานโดยคานึงถึงความคุ้มคา่ และส่งิ แวดลอ้ ม

3. ดา้ นภูมคิ ้มุ กนั จากยาเสพตดิ (Drug – Free)
1) สง่ เสรมิ ให้ นกั ศึกษาจัดกจิ กรรมเพ่อื รณรงค์การลดการใชพ้ ลังงาน
2) ส่งเสรมิ ให้นักศึกษาชว่ ยเหลือซึ่งกันและกนั ในการทางานรว่ มกนั หากร่วมมอื กันจะทาใหง้ านมี

ประสทิ ธิภาพมาย่ิงขนึ้
6. ส่อื และแหลง่ การเรียนรู้

6.1 สอื่ วัสดุอปุ กรณ์
1) หนังสอื เรียนวชิ า 3000-1305 วทิ ยาศาสตร์เพอ่ื งานธรุ กิจและบริการ ดร.นวลอนงค์

อชุ ุภาพ สานกั พิมพ์เมืองไทย
2) สือ่ ประกอบการนาเสนอ

6.2 สือ่ ใบความรู้ ใบงาน
1) ใบความรู้เรื่อง ประเภทของพลงั งาน
2) ใบความรู้เร่ือง ความสาคัญของการขนสง่
3) ใบความรูเ้ ร่ือง การขนส่งทางบก
4) ใบความรูเ้ ร่ือง การขนสง่ ทางน้า
5) ใบความรเู้ รื่อง การขนส่งทางอากาศ

27

7. หลกั ฐาน
7.1 หลักฐานความรู้
4) ผลการทาแบบทดสอบหน่วยท่ี 3 เร่ืองการใชพ้ ลังงานเพื่อการขนสง่
5) ผลการนาเสนอหน้าชนั้ เรยี น
6) ผลการทางานกจิ กรรมกลุ่ม
7.2 หลกั ฐานการปฏบิ ตั ิงาน
4) แบบประเมนิ พฤติกรรมการทากิจกรรมกลุ่ม
5) แบบประเมินผลการนาเสนองาน
6) แบบประเมินความรู้หนว่ ยที่ 3 เรอื่ งการใชพ้ ลังงานเพ่ือการขนส่ง

8. วัดผลประเมนิ ผล
8.1 เครือ่ งมอื ประเมนิ
1) แบบบันทกึ พฤติกรรมการทากจิ กรรมกลมุ่
2) แบบบนั ทึกการนาเสนอผลงาน
3) แบบทดสอบหลังเรียนหนว่ ยท่ี 3 เรื่องการใช้พลงั งานเพื่อการขนสง่
8.2 วธิ กี ารประเมนิ
1) ตรวจแบบทดสอบหลังเรียนหน่วยที่ 3 โดยใช้แบบเฉลยแบบทดสอบ
2) ประเมนิ ผลการนาเสนอผลงาน โดยใชแ้ บบประเมินผลการนาเสนอผลงาน
3) สังเกตพฤติกรรมการแสดงความคดิ เห็น การทากจิ กรรมกลุม่ การรับฟังความคดิ เห็น โดยใช้
แบบสังเกตพฤติกรรมการทากิจกรรมกลุ่ม
8.3 เกณฑก์ ารประเมนิ
นกั ศึกษาไดค้ ะแนนร้อยละ 60 ขึ้นไปถือว่า ผา่ นการประเมิน

9. กจิ กรรมเสนอแนะ
-

10. เอกสารอ้างองิ
-

28

แบบฝึกหดั หน่วยท่ี 3

คาชแี้ จง จงตอบคาถามต่อไปนีใ้ ห้ถกู ต้อง
1. การจาแนกประเภทของพลังงานตามลักษณะของรูปแบบการใช้แหล่งพลังงานจาแนกเป็นกี่ประเภท

อะไรบ้าง
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………….………………………..
2. พลังงานท่ีใช้แล้วหมดไปหรือเรียกว่า พลังงานสิ้นเปลือง ส่วนมากได้มาจากซากดึกดาบรรพ์เรียกว่า

พลังงานซากดึกดาบรรพ์ ไดแ้ ก่อะไรบา้ ง
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………….………………………..
3. ก๊าซธรรมชาติเป็นพลังงานรูปแบบเดียวกับพลังงานปิโตรเลียม เป็นทรัพยากรธรรมชาติท่ีพบมากในอ่าว –

ไทยมปี ระโยชนอ์ ย่างไรบา้ ง
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………….………………………..
4. การขนสง่ ทางนา้ มขี ้อดอี ยา่ งไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………….………………………..
5. ปัญหาและอปุ สรรคของการขนสง่ ทางอากาศคืออะไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………….………………………..

29

แบบทดสอบหลงั เรียน บทที่ 3 เรื่อง การใช้พลังงานเพือ่ การขนส่ง
วิชา 30000 – 1305 วทิ ยาศาสตร์เพอ่ื งานธุรกจิ และบริการ หลักสูตรประกาศนยี บตั รวิชาชพี ชั้นสูง

จานวน 10 ขอ้ คะแนนเตม็ 10 คะแนน เวลา 20 นาที

&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&

คาช้แี จง: 1 แบบทดสอบมีจานวน 10 ข้อ
2. จงทาเคร่อื งหมาย  บนตัวเลอื กที่ถูกต้องทสี่ ุดเพียงข้อเดยี วลงในกระดาษคาตอบ
3. โปรดสง่ แบบทดสอบและกระดาษคาตอบท่ีกรรมการคุมสอบหลังเสรจ็ สิ้นการสอบ

&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&

คาชแี้ จง จงทาเคร่อื งหมาย  บนตัวเลือกทถ่ี กู ตอ้ งท่สี ุดเพยี งข้อเดียวลงในกระดาษคาตอบ
1. ข้อใดกลา่ วถูกตอ้ งทสี่ ุดเกี่ยวกับความสาคัญของพลังงาน

ก. ความสามารถในการทางานได้
ข. ไม่มีความจาเป็นในการดารงชีพของมนุษย์
ค. พลงั งานไมส่ ญู หายแตส่ ามารถเปลย่ี นรูปได้
ง. ต้นกาเนดิ ของพลงั งานบนโลกมาจากดวงอาทิตย์

2. พลงั งานในขอ้ ใดท่ใี ช้แล้วมโี อกาสหมดไป
ก. พลงั งานน้า พลังงานถ่านหนิ
ข. พลงั งานลม พลังงานปิโตรเลยี ม
ค. พลงั งานนิวเคลยี ร์ พลงั งานกา๊ ซธรรมชาติ
ง. พลงั งานแสงอาทติ ย์ พลงั งานความร้อนใต้พิภพ

3. พลังงานชนดิ ใดจดั เป็นพลงั งานหมุนเวียนทง้ั หมด ข. ปโิ ตรเลยี ม ชีวมวล
ก. น้า กา๊ ซธรรมชาติ ง. ความร้อนใต้พิภพ แสงอาทติ ย์
ค. ก๊าซธรรมชาติ ชวี มวล

4. ขอ้ ใดเป็นพลังงานหลกั ของกิจกรรมจากพลงั งานปิโตรเลียมมากทส่ี ดุ

ก. การแพทย์ ข. การศกึ ษา

ค. การคมนาคม ง. การสาธารณูปโภค

5 นา้ มันดีเซล น้ามนั เบนซิน แก๊สหุงต้ม จัดอยูใ่ นพลงั งานชนิดใด

ก. พลงั งานแปรรูป ข. พลงั งานทตุ ิยภมู ิ

ค. พลงั งานปฐมภูมิ ง. ขอ้ ก และข ถูก

30

6. ข้อใดเป็นแหลง่ พลังงานปฐมภมู ิท้ังหมด ข. แสงแดด นา้ ลม
ก. ฟนื ถา่ น ชวี มวล ง. ไฟฟูา แกส๊ หงุ ต้ม น้ามนั ดีเซล
ค. ถ่านหนิ กา๊ ซธรรมชาติ ไฟฟูา

7. ขอ้ ใดเปน็ แหล่งของพลงั งานท่สี ะสมอยูใ่ นวัตถุ ข. พลงั งานความร้อน
ก. พลังงานกล ง. ถูกทุกข้อ
ค. พลงั งานเสียง

8. พลังงานแบง่ ออกเป็นกปี่ ระเภท ข. 3 ประเภท
ก. 2 ประเภท ง. 5 ประเภท
ค. 4 ประเภท

9. ขอ้ ใดเป็นแหลง่ พลังงานทีเ่ ปล่ยี นรปู เป็นพลังงานกลในการขับเคลอ่ื นยานพาหนะ

ก. ถา่ นหิน ข. ปโิ ตรเลยี ม

ค. กา๊ ซธรรมชาติ ง. นวิ เคลยี ร์

10. ขอ้ ใดเปน็ พลังงานท่ีใชแ้ ลว้ ไมม่ วี ันหมดไป ข. ชีวมวล ปโิ ตรเลียม ถ่านหิน
ก. แสงอาทติ ย์ ถ่านหนิ ก๊าซธรรมชาติ ง. นิวเคลียร์ นา้ ลม
ค. พลงั งานลม พลังงานนา้ ชีวมวล

31

แผนการจัดการเรียนรู้

รหสั วชิ า 3000-1305 ชอ่ื วชิ า วทิ ยาศาสตรเ์ พือ่ งานธุรกิจและบรกิ าร 3(4) สอนคร้ังท่ี 3

หนว่ ยที่ 4 ช่อื หนว่ ย การอนรุ กั ษ์พลงั งานและส่งิ แวดล้อม เวลา 8 ชม.

1. สาระสาคัญ
การอนุรักษ์พลงั งาน เป็นวัตถุประสงค์หลักภายใต้พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ.

2535 ท่ีกาหนดให้กลุ่มเปูาหมายคือ อาคารควบคุมและโรงงานควบคุม ต้องจัดเตรียมโครงสร้างพื้นฐาน เช่น
ขอ้ มลู บุคลากร และแผนงาน เป็นต้น เพอื่ นาไปสกู่ ารอนรุ ักษ์พลงั งานตามกฎหมายและกิจกรรมอนุรักษ์พลังงาน
นี้ยังใชเ้ ปน็ กรอบและแนวทางปฏิบตั ใิ นการปรับปรงุ ประสิทธิภาพการใชพ้ ลังงานใหด้ ีย่งิ ข้ึน

แนวทางการอนุรักษพ์ ลงั งานหรือการใชพ้ ลงั งานเชิงอนุรกั ษ์
1. การใชพ้ ลงั งานอยา่ งประหยดั และคุ้มค่าโดยการสร้างคา่ นิยมจิตใตส้ านึกการใช้พลงั งาน
2. การใช้พลังงานอย่างรู้คุณค่าจะต้องมีการวางแผนและควบคุมการใช้อย่างเต็มประสิทธิภาพและเกิด
ประโยชนส์ ูงสดุ มกี ารลดการสูญเสียพลงั งานทุกข้ันตอน มีการตรวจสอบและดแู ลการใช้เครื่องใช้ไฟฟูาตลอดเวลา
เพือ่ ลดการร่ัวไหลของพลงั งาน เป็นตน้
3. การใช้พลังงานทดแทนโดยเฉพาะพลังงานท่ีได้จากธรรมชาติ เช่น พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม
พลังงานนา้ และอืน่ ๆ
4. การเลือกใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ที่มีประสิทธิภาพสูง เช่น เคร่ืองใช้ไฟฟูาเบอร์ 5 หลอดผอม
ประหยดั ไฟ เป็นต้น
5. การเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพเชอื้ เพลิง เชน่ การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทาใหเ้ ชือ้ เพลิงใหพ้ ลังงานได้มากขึน้
6. การหมุนเวียนกลับมาใช้ใหม่ โดยการนาวัสดุที่ชารุดนามาซ่อมใช้ใหม่ การลดการทิ้งขยะที่ไม่จาเป็น
หรอื การหมนุ เวยี นกลบั มาผลิตใหม่ (Recycle)
ส่ิงแวดล้อมคือ ทุกส่ิงทุกอย่างที่อยู่รอบตัวมนุษย์ท้ังท่ีมีชีวิตและไม่มีชีวิต รวมทั้งท่ีเป็นรูปธรรมสามารถ
จับต้องและมองเห็นได้ และนามธรรม (วัฒนธรรมแบบแผนประเพณี ความเชื่อ) มีอิทธิพลเกี่ยวโยงถึงกันเป็น
ปัจจัยในการเกื้อหนุนซึ่งกันและกัน ผลกระทบจากปัจจัยหนึ่งจะมีส่วนเสริมสร้างหรือทาลายอีกส่วนหน่ึงอย่าง
หลีกเลีย่ งมิได้ สงิ่ แวดลอ้ มเป็นวงจรและวัฏจักรทเ่ี กยี่ วขอ้ งกนั ไปทั้งระบบ ส่ิงแวดล้อมแบ่งออกเป็นลักษณะกว้าง
ๆ ได้ 2 ส่วน คือ สง่ิ แวดล้อมท่เี กดิ ข้นึ เองตามธรรมชาติ และสิ่งแวดลอ้ มที่มนษุ ยส์ รา้ งข้นึ

32

2. สมรรถนะประจาหน่วย
1. แสดงความรเู้ กยี่ วกับการอนรุ กั ษพ์ ลังงานและส่ิงแวดลอ้ ม แนวทางการอนุรักษ์สง่ิ แวดล้อมและ

ทรพั ยากรธรรมชาติ และปญั หาสิง่ แวดล้อมในประเทศไทย

2. เลอื กใชค้ วามรู้ในการประยุกตใ์ ช้ไดเ้ หมาะสมตรงตามความต้องการ
3. เลือกใช้ความรู้ในการอธิบายการอนรุ ักษพ์ ลงั งานและสงิ่ แวดลอ้ ม
4. อธบิ ายแนวทางการอนุรักษ์พลังงานสิ่งแวดลอ้ มและทรัพยากรธรรมชาติและสามารถนาไปใช้

ตามหลกั วทิ ยาศาสตร์

5. อธบิ ายหลกั ในการสืบค้นความร้เู ร่ืองการอนรุ ักษ์พลังงานส่ิงแวดล้อม
6. ใชค้ วามรู้เกยี่ วกบั พลังงานและสิ่งแวดล้อมไปใชโ้ ดยคานึงถงึ ความปลอดภัยและส่ิงแวดล้อม
7. ผู้เรียนมีมนุษยสัมพันธ์ ความสามัคคี ความสนใจใฝุรู้ ความรับผิดชอบ ความมานะ อดทน
และมีความคิดริเริม่ สร้างสรรค์

3. จุดประสงค์การเรียนรู้
3.1 จดุ ประสงคท์ ่ัวไป
1. เพอ่ื ใหม้ คี วามร้คู วามเข้าใจเก่ยี วกับการอนรุ กั ษ์พลงั งานและสงิ่ แวดลอ้ ม แนวทางการ

อนุรักษส์ ่งิ แวดลอ้ มและทรัพยากรธรรมชาติ และปัญหาสิง่ แวดลอ้ มในประเทศไทย

ตอ้ งการ 2. เพือ่ ให้มีทักษะในการเลือกใชค้ วามรู้ในการประยุกต์ใชไ้ ด้เหมาะสมตรงตามความ
3. เพือ่ ให้มที ักษะในการเลือกใชค้ วามรู้ในการอธิบายการอนุรกั ษ์พลงั งานและส่ิงแวดล้อม

แนวทางการอนรุ ักษส์ ิ่งแวดลอ้ มและทรพั ยากรธรรมชาติ และปัญหาสงิ่ แวดล้อมในประเทศไทย

4. เพื่อใหม้ ีทักษะในการวเิ คราะห์และอธิบายการอนุรกั ษ์พลงั งานและสงิ่ แวดลอ้ ม

แนวทางการอนรุ ักษส์ งิ่ แวดล้อมและทรพั ยากรธรรมชาติ และปัญหาส่ิงแวดลอ้ มในประเทศไทย

5. เพื่อให้มีทักษะในการวิเคราะหแ์ ละอธิบายหลกั ในการสืบคน้ ความรูเ้ รือ่ งการอนรุ ักษ์
พลงั งานและสิง่ แวดล้อม

6. เพอ่ื ใหม้ ีทกั ษะในการใชค้ วามรู้เกี่ยวกบั การอนรุ ักษ์พลังงานและสง่ิ แวดล้อมไปใชโ้ ดย
คานึงถงึ ความปลอดภัยและสิง่ แวดล้อม

7. เพอื่ ใหม้ ีพฤติกรรมด้านความมีมนุษยสัมพันธ์ ความสามัคคี ความสนใจใฝรุ ู้ ความรบั ผิดชอบ

ความมานะ อดทน และมีความคดิ ริเร่ิมสรา้ งสรรค์มคี วามรู้ความเขา้ ใจเกยี่ วกบั การอนุรักษ์พลังงานและ

ส่งิ แวดลอ้ ม แนวทางการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและทรพั ยากรธรรมชาติ และปัญหาส่งิ แวดล้อมในประเทศไทย

33

3.2 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
1. อธบิ ายเกีย่ วกบั การอนรุ กั ษ์พลงั งานและส่งิ แวดลอ้ ม แนวทางการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและ

ทรพั ยากรธรรมชาติ และปัญหาสิ่งแวดล้อมในประเทศไทย
2. เลอื กใช้ความร้ใู นการประยุกตใ์ ชไ้ ดเ้ หมาะสมตรงตามความต้องการ
3. เลือกใช้ความร้ใู นการอธิบายการอนรุ ักษ์พลังงานและสิง่ แวดล้อม
4. อธบิ ายแนวทางการอนุรกั ษส์ ่งิ แวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ และปญั หาส่งิ แวดล้อมใน

ประเทศไทย และสามารถนาไปใชต้ ามหลกั วทิ ยาศาสตร์
5. อธบิ ายหลักในการสบื คน้ ความรู้เรื่องการอนรุ กั ษพ์ ลังงานและสิง่ แวดลอ้ ม
6. ใช้ความรเู้ กย่ี วกบั การอนุรักษส์ ่งิ แวดลอ้ มไปใชโ้ ดยคานึงถงึ ความปลอดภัยและสง่ิ แวดลอ้ ม
7. เข้าช้นั เรียนตรงเวลาและแตง่ กายถูกต้องตามระเบยี บ
8. มกี ารเตรียมความพร้อมในการเรยี นและปฏิบตั งิ านเสรจ็ ตามเวลาทกี่ าหนด
9. มีความละเอยี ดรอบคอบในการสงั เกตหรือทางาน
10. แสดงความคดิ เห็น ยอมรับความคดิ เห็น และใหค้ วามร่วมมือในการทางาน
11. ใชเ้ วลาว่างในการทางานท่ไี ดร้ ับมอบหมาย

4. สาระการเรยี นรู้

1. ความหมายการอนรุ ักษ์พลังงาน
2. แนวทางการอนุรักษ์พลงั งานหรอื การใช้พลังงานเชิงอนุรกั ษ์
3. ความหมายของส่งิ แวดล้อม
4. วิธกี ารอนุรกั ษส์ ิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
5. ปญั หาสง่ิ แวดลอ้ มในประเทศไทย

5. กิจกรรมการเรยี นรู้
สอนคร้ังที่ 4 ช่ัวโมงที่ 25-32
ใช้วธิ ีการสอนแบบ System Approach

ขนั้ นาเข้าสูบ่ ทเรยี น
1. ครทู บทวนความรเู้ ดิมของนักศกึ ษา เรื่อง พลงั งานและสิง่ แวดล้อม วชิ า 2000-1003 ในระดบั

ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ (ปวช.)
2. ครใู หน้ กั ศึกษารว่ มกันประมวลความรู้เก่ยี วกบั แนวทางการอนุรักษ์พลงั งานหรือการใช้พลงั งานเชิง

อนุรักษ์ วธิ ีการอนุรกั ษส์ ่ิงแวดล้อมและทรพั ยากรธรรมชาติ และปัญหาสิ่งแวดล้อมในประเทศไทย
3. นกั ศึกษานาเสนอผลการอภปิ รายรว่ มกนั หน้าช้ันเรียน

34

4. ครปู ระเมินความรู้พ้นื ฐานเดิมของนักศึกษาจากการนาเสนอผลการอภปิ รายรว่ มกัน
ข้นั สอน
5. ครมู อบหมายงานให้นักศึกษาคน้ คว้าจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ เร่ือง การอนรุ ักษพ์ ลังงานและ
สิ่งแวดล้อม เตรยี มนาเสนอผลงานหนา้ ชั้นเรยี น โดยแสดงบทบาทเป็นครู มีการสรา้ งสื่อประกอบการนาเสนอ
ผลงาน ประเมนิ ผลการนาเสนอผลงานในสัปดาห์ถัดไป
6. ครูประเมนิ นักศึกษาการนาเสนอผลงานหนา้ ชัน้ เรยี น โดยดูการเตรียมความพร้อม บคุ ลิกภาพใน
การนาเสนอผลงาน การตอบคาถาม การผลิตส่อื การสอนที่เหมาะสมกับเน้ือหาความรู้ที่สืบคน้ มา การใชส้ ื่อการ
สอนดังกล่าวให้เป็นประโยชน์ในการนาเสนอผลงาน การแบ่งหน้าท่ใี นการนาเสนอ การแต่งกายที่ถูกต้อง
เหมาะสม
7. ครใู ห้นกั ศึกษาแบง่ กลุ่มศึกษาใบความรู้ เรือ่ ง แนวทางการอนรุ กั ษพ์ ลังงาน วธิ ีการอนุรักษ์
สิ่งแวดลอ้ มและทรัพยากรธรรมชาติ และปญั หาสง่ิ แวดล้อมในประเทศไทย จากนั้นใหน้ ักศกึ ษารว่ มกัน
อภิรายเนื้อหาที่ได้ศึกษาจากใบความรู้ ตัวแทนกล่มุ ออกนาเสนอผลการอภปิ รายรว่ มกนั หนา้ ช้นั เรียน
8. ครูให้นกั ศึกษาทากจิ กรรมจากใบงานหน่วยที่ 4 เรอ่ื งการอนรุ ักษ์พลังงานและสิ่งแวดลอ้ ม โดยให้
สารวจสภาพแวดลอ้ มในชุมชนและบรเิ วณสถานศกึ ษา แล้วจัดทาโครงการอนุรกั ษ์พลังงานมา 1 โครงงานพรอ้ ม
บอกผลที่ไดจ้ ากการให้บริการแกค่ รอบครัวและชุมชน
ขั้นสรปุ และประเมนิ ผล
9. ครูและนักศกึ ษารว่ มกนั สรุปความรทู้ ไี่ ด้จากการศึกษาครั้งนีเ้ ก่ียวกับแนวทางการอนุรักษ์พลงั งาน
วิธีการอนุรักษส์ ่ิงแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ และปญั หาสงิ่ แวดล้อมในประเทศไทยโดยคานึงถึงความ
ปลอดภยั และสง่ิ แวดล้อม สามารถนาไปประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจาวนั
10. ครใู ห้นกั ศึกษาทาแบบทดสอบหลงั เรียน

การบูรณาการกับหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
1. ความมีเหตุผล
- อธิบายการอนรุ กั ษ์พลงั งานและส่ิงแวดล้อมและสามารถนาไปใช้ตามหลักวิทยาศาสตร์
- อธบิ ายหลักในการสบื คน้ ความร้เู ร่ืองการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม
2. ความพอประมาณ
- เลอื กใชค้ วามรู้ในการประยุกต์ใช้ไดเ้ หมาะสมตรงตามความต้องการ
- เลอื กใช้ความรู้ในการอธิบายแนวทางการอนุรักษพ์ ลงั งานและทรัพยากรธรรมชาติ และปญั หา

สง่ิ แวดลอ้ ม

35

3. การมภี มู ิคุม้ กนั ในตวั ทีด่ ี
- ใช้ความรู้เกยี่ วกบั การอนุรักษพ์ ลงั งานและส่งิ แวดล้อมไปใช้โดยคานึงถึงความปลอดภัยและ

สิ่งแวดล้อม
4. เงอื่ นไขความรู้
- นักศกึ ษามคี วามรู้ความเข้าใจเกย่ี วกับแนวทางการอนุรกั ษ์พลังงานหรือการใชพ้ ลังงานเชงิ อนุรักษ์

ความหมายของสิ่งแวดล้อม วธิ กี ารอนุรักษ์สงิ่ แวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ และปัญหาส่งิ แวดล้อมใน

ประเทศไทย

5. เงือ่ นไขคณุ ธรรม
- นกั ศกึ ษามีมนษุ ยสมั พันธ์ ความสามคั คี ความสนใจใฝุรู้ ความรบั ผดิ ชอบ ความมานะอดทน และมี

ความคิดริเร่มิ สร้างสรรค์

การบูรณาการฐานคณุ ภาพสถานศึกษา 3D ในการเรียนการสอน
1. ดา้ นประชาธปิ ไตย (Democracy)
1) นักศึกษาสามารถเลอื กเข้ากลมุ่ ตามความสมัครใจ มีการทางานร่วมกัน แบ่งหนา้ ทร่ี ับผิดชอบ

รว่ มกนั ตามเวลาที่กาหนด
2) นกั ศกึ ษาแสดงความคิดเหน็ และรับฟงั ความคิดเหน็ ของสมาชกิ ในกล่มุ และผู้อ่นื

2. ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรมความเปน็ ไทย (Decency)
1) นักศกึ ษามีวินยั มีความรับผดิ ชอบ มนุ ษยสัมพันธ์ ความสนใจใฝุรู้ การตรงต่อเวลา ความคิดริเร่ิม

สรา้ งสรรค์ ความสามัคคี
2) นักศึกษาร่วมกนั อนุรักษ์ส่งิ แวดล้อมโดยการใช้พลงั งานโดยคานึงถงึ ความคมุ้ คา่ และส่งิ แวดล้อม

3. ด้านภูมคิ มุ้ กันจากยาเสพตดิ (Drug – Free)
1) สง่ เสริมใหน้ กั ศึกษาใช้เวลาว่างให้เกดิ ประโยชน์ เช่น การทางานที่มอบหมายให้ในเวลาวา่ ง การ

สบื ค้นขอ้ มลู เพิ่มเติมจากแหลง่ ความรตู้ ่าง ๆ เชน่ เว็ปไซด์ หอ้ งสมดุ เป็นตน้
2) ส่งเสริมใหน้ ักศึกษาชว่ ยเหลือซ่งึ กันและกัน ในการทางานร่วมกันหากร่วมมอื กนั จะทาให้งานมี

ประสทิ ธภิ าพมาย่ิงขนึ้
6. สือ่ และแหลง่ การเรยี นรู้

6.1 สือ่ วัสดุอปุ กรณ์
-

6.2 ส่อื ใบความรู้ ใบงาน
1) ใบความรเู้ รื่อง การอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดลอ้ ม
2) ใบความรู้เรื่อง แนวทางการอนรุ ักษ์พลังงาน
3) ใบความรูเ้ รื่อง ปัญหาสงิ่ แวดลอ้ มในประเทศไทย

4) ใบงานเร่ือง การอนุรักษ์พลงั งานและสงิ่ แวดล้อม

36

7. หลกั ฐาน
7.1 หลักฐานความรู้
1) ผลการทาแบบทดสอบหลงั เรยี นหน่วยท่ี 4
2) ผลการนาเสนอหนา้ ช้นั เรียน
3) ผลการทากิจกรรมกลมุ่
7.2 หลักฐานการปฏบิ ัติงาน
7) แบบประเมนิ พฤติกรรมการทากิจกรรมกลมุ่
8) แบบประเมินผลการนาเสนองาน
9) แบบประเมนิ ผลการทากจิ กรรมกลมุ่

8. วัดผลประเมนิ ผล
8.1 เครอ่ื งมือประเมนิ
1) แบบบันทกึ พฤติกรรมการทากิจกรรมกลมุ่
2) แบบบันทกึ การนาเสนอผลงาน
3) แบบทดสอบหลังเรยี นหนว่ ยท่ี 4
8.2 วธิ ีการประเมนิ
1) ตรวจแบบทดสอบหลงั เรียนหนว่ ยท่ี 4 โดยใชแ้ บบเฉลยแบบทดสอบ
2) ประเมินผลการนาเสนอผลงาน โดยใช้แบบประเมินผลการนาเสนอผลงาน
3) สังเกตพฤติกรรมการแสดงความคดิ เห็น การทากิจกรรมกลุ่ม การรบั ฟังความคดิ เห็น โดยใช้
แบบสังเกตพฤติกรรมการทากจิ กรรมกลุม่
8.3 เกณฑก์ ารประเมิน
ผเู้ รียนได้คะแนนรอ้ ยละ 60 ข้ึนไปถือว่า ผา่ นการประเมิน

9. กิจกรรมเสนอแนะ
-

10. เอกสารอ้างองิ -

37

แบบฝกึ หดั หนว่ ยที่ 4

คeช้แี จง จงทาเครื่องหมายถกู () หน้าขอ้ ที่ถกู ต้องและทาเครอ่ื งหมายกากบาท () หนา้ ขอ้ ทไ่ี มถ่ กู ต้อง
1. สงิ่ แวดลอ้ ม หมายถึง สิง่ ตา่ ง ๆ ทีอ่ ย่รู อบตวั เราท่มี ผี ลต่อการดารงชีวิตของสง่ิ มีชวี ิตน้นั ๆ
2. ปรากฏการณ์เรือนกระจก หมายถึง ปรากฏการณ์ที่อุณหภูมิผิวโลกสูงข้ึน เน่ืองจากบรรยากาศ
มแี กส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์
3. การล่าสัตว์เพื่อเป็นอาหารหรือจาหน่าย การบุกรุกทาลายปุาเพ่ือทาไร่เล่ือนลอย และสร้างท่ีอยู่ –
อาศัยของมนุษยถ์ อื วา่ เปน็ สว่ นหน่ึงทาให้เกิดการสูญเสยี ทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม
4. การปรับสิง่ แวดลอ้ มให้เหมาะแกก่ ารดารงชีวติ ของมนุษยเ์ ปน็ สว่ นหน่ึงในการทาลายความ–
สมดุลของระบบนเิ วศ
5. ทรพั ยากรปุาไม้ให้ประโยชนแ์ กป่ ระชากรน้อยมากจงึ ไมต่ ้องมกี ารพฒั นาและอนรุ กั ษ์ไว้
6. การอนุรักษ์ทรัพยากรต้นน้าลาธารเป็นการดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติในบริเวณพื้นที่ต้นน้า
ลาธารเท่าน้นั
7. การอนุรักษ์ปุาไม้ร่วมกับการอนุรักษ์ดินและน้าด้วยวิธีการที่เหมาะสม จัดว่าเป็นวิธีการอนุรักษ์
ต้นน้าลาธาร
8. การอนุรักษ์ดินและน้าโดยการปลูกต้นไม้หรือพืชคลุมดิน เพ่ือปูองกันการพังทลายของหน้าดิน
ในบรเิ วณพ้ืนทตี่ น้ น้าลาธารท่ไี ม่มปี าุ ไม้
9. การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หมายถึง การรู้จักใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่าง
ประหยัดและใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชนอ์ ย่างคุ้มคา่ และทาใหเ้ กดิ การสญู เปล่านอ้ ยที่สดุ
10. การใชถ้ งุ ผา้ แทนถงุ พลาสตกิ เปน็ การลดการอนุรกั ษส์ ่งิ แวดล้อม

38

แบบทดสอบหลังเรยี น หนว่ ยที่ 4 เรอ่ื ง การอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม

วิชา 30000 – 1305 วิทยาศาสตร์เพื่องานธรุ กิจและบรกิ าร ตามหลกั สตู รประกาศนยี บัตรวิชาชีพช้นั สูง

จานวน 10 ขอ้ คะแนนเต็ม 10 คะแนน เวลา 20 นาที

&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&

คาชีแ้ จง: 1 แบบทดสอบมีจานวน 10 ขอ้

2. จงทาเครอ่ื งหมาย  บนตวั เลอื กท่ถี ูกตอ้ งท่สี ุดเพียงขอ้ เดียวลงในกระดาษคาตอบ

3. โปรดสง่ แบบทดสอบและกระดาษคาตอบที่กรรมการคุมสอบหลังเสรจ็ ส้นิ การสอบ

&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&

คาช้ีแจง จงทาเครือ่ งหมาย  บนตัวเลือกที่ถกู ตอ้ งทีส่ ุดเพยี งข้อเดยี วลงในกระดาษคาตอบ

1. ขอ้ ใดไมใ่ ช่สาเหตุที่ทาให้สัตว์ปาุ สูญพันธ์ุ

ก. การปรบั ปรุงพันธ์ ข. ระบบห่วงโซ่อาหาร

ค. ภัยทางธรรมชาติ ง. ชนิดและลกั ษณะรปู รา่ งของสัตว์

2. ขอ้ ใดไมใ่ ช่สาเหตุท่ีทาให้สัตวป์ าุ ลดจานวนลงอย่างรวดเรว็

ก. การตดั ไม้ทาลายปุา ข. จดั เปน็ เขตอภยั ทาน

ค. การบกุ รุกทาลายปาุ ไมม้ ากขน้ึ ง. สตั ว์ปุาดรุ ้าย และเป็นอันตรายตอ่ มนุษย์

3. สิ่งแวดล้อมข้อใดเกย่ี วขอ้ งกบั ปรากฏการณเ์ รอื นกระจกมากที่สดุ

ก. นา้ ข. แสงสวา่ ง

ค. อณุ หภมู ิ ง. ความช้ืน

4. โดยปกตแิ ล้วสิง่ ใดท่สี ามารถควบคุมและเปลยี่ นแปลงสิง่ แวดล้อมได้มากที่สดุ

ก. มนุษย์ ข. สตั ว์

ค. ภยั ธรรมชาติ ง. พืช

5. การทากิจกรรมในข้อใดเป็นการอนุรักษ์ปาุ ไม้
ก. ปลูกปาุ ทดแทน
ข. ห้ามตัดไม้ทาลายปุาทุกชนิด
ค. ประชาสัมพันธ์ใหค้ วามรู้กับประชาชนถงึ ผลกระทบจากการทาลายปาุ ไม้
ง. ข้อ ก และ ค ถูก

39

6. การกระทาในข้อใดทาใหเ้ กิดการเสียสมดลุ ธรรมชาติมากท่สี ุด

ก. การทาไร่เลื่อนลอย ข. ไฟไหม้ปาุ

ค. การตัดไม้มาสร้างที่อยู่อาศยั ง. การใชย้ ากาจดั ศตั รูพืช

7. ขอ้ ใดเปน็ วัตถุประสงค์ของการอนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาติ
ก. ให้การฝกึ อบรมคนรกั ธรรมชาติ
ข. อนรุ ักษ์ทรัพยากรไวใ้ นธรรมชาตใิ ห้ไดม้ ากท่สี ุด
ค. อนรุ ักษใ์ ห้คนรุ่นหลังได้มโี อกาสใชท้ รัพยากรธรรมชาติ
ง. ถูกทกุ ข้อ

8. ข้อใดกลา่ วถูกต้องเกย่ี วกบั สมดุลธรรมชาติ
ก. ภาวะสมดุลท่ีเกิดจากมนุษย์และสตั ว์
ข. ภาวะสมดลุ จากวกิ ฤตการณธ์ รรมชาติ
ค. ภาวะสมดุลจากการส่งเสริมเศรษฐกจิ
ง. ภาวะสมดุลทมี่ ีสดั สว่ นพอเหมาะระหว่างสงิ่ มีชีวติ กบั สิง่ แวดลอ้ ม

9. ขอ้ ใดเปน็ การอนุรักษ์ทรพั ยากรธรรมชาตทิ ดี่ ีทส่ี ุด
ก. การจาหน่ายกระดาษท่ีใชแ้ ลว้
ข. การแปรรปู เศษกระดาษที่ใชแ้ ลว้ เปน็ ผลติ ภณั ฑต์ า่ ง ๆ
ค. การนากระดาษที่ใชแ้ ลว้ มาเผาไฟเพ่ือทาเปน็ ปุ๋ย
ง. การนากระดาษทีใ่ ช้แลว้ มาพับถุงใส่ของ

10. ข้อใดเปน็ วธิ ีที่ดที ส่ี ุดที่นักศกึ ษาคดิ วา่ ช่วยใหป้ รากฏการณ์เรือนกระจกเกิดขน้ึ นอ้ ยที่สุด
ก. ลดปรมิ าณการใช้เชอื้ เพลิงให้มากทส่ี ุด
ข. ปลกู ผกั สวนครวั
ค. ใชเ้ คร่ืองใช้ไฟฟูาเท่าทจ่ี าเปน็
ง. ปลูกตน้ ไม้ลอ้ มรวั้

แผนการจดั การเรียนรู้ 40

รหสั วชิ า 30000-1305 ชื่อวชิ า วทิ ยาศาสตร์ 4 3(4) สอนครง้ั ท่ี 5
เวลา 8 ชม.
หน่วยที่ 5 ชื่อหน่วย สารละลาย

1. สาระสาคญั
สารละลายประกอบด้วยตัวทาละลายและตัวถูกละลาย ซึ่งตัวทาละลายเป็นองค์ประกอบท่ีมีปริมาณ

มากที่สุดในสารละลาย ตัวทาละลายและตัวถูกละลายอาจมีสถานะเป็นของแข็ง ของเหลว และแก๊ส
เนื่องจากตัวทาละลายเป็นองค์ประกอบที่มีปริมาณมาก ดังนั้นสารละลายจึงมีสถานะตามตัวทาละลาย
สารละลายท่ีมีตัวทาละลายเป็นของเหลวและตัวถูกละลายเป็นของแข็ง เม่ือให้ความร้อนจนเหลวระเหย
กลายเป็นไอหมด เหลอื แตข่ องแข็งตกค้างอยูเ่ รียกว่า การระเหยแหง้

2. สมรรถนะประจาหน่วย
1. แสดงความรเู้ กี่ยวกบั ความสาคญั ของสารละลาย ปัจจยั ท่ีมผี ลต่อการละลายของสาร
2. เลอื กประเดน็ ปญั หาทจี่ ะทาการศึกษา วธิ ีการทดสอบการละลายของสารในตัวทาละลาย
3. วิเคราะหป์ ัจจยั ทม่ี ีผลต่อการละลายของสารได้เหมาะสมตามความจาเปน็
4. วเิ คราะหแ์ ละปฏิบัติกจิ กรรมการละลายของสารอยา่ งถกู ต้องตามข้นั ตอนและหลักวิทยาศาสตร์
6. วางแผนการทดลองและอธิบายการเปล่ียนแปลงสมบัติมวลและพลงั งานของสารเมื่อสารเกดิ การ

ละลาย และคานึงถึงความคมุ้ ค่าและสงิ่ แวดล้อม
7. ผเู้ รียนมีมนษุ ยสัมพันธ์ ความสามคั คี ความสนใจใฝุรู้ ความรับผดิ ชอบ ความมานะ อดทน และมี

ความคดิ รเิ รมิ่ สร้างสรรค์

3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
3.1 จุดประสงค์ทัว่ ไป
1. เพ่ือให้มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับความสาคัญของสารละลาย การละลายของสารในตัวทาละลาย

ปัจจัยท่ีมีผลต่อการละลายของสาร องค์ประกอบของสารละลาย การเปลี่ยนแปลงสมบัติมวลและพลังงานของ
สารเมอื่ สารเกิดการละลาย ปัจจัยที่มีผลตอ่ การละลาย และนาความรเู้ กยี่ วกบั สารละลายไปใชป้ ระโยชน์

2. เพื่อให้มีทักษะในการทดลองและอธิบายการเปล่ยี นแปลงสมบัติมวลและพลังงานของสารเมื่อสารเกิด
การละลายได้

3. เพื่อให้มที กั ษะในการวิเคราะหป์ ัจจยั ทีม่ ีผลต่อการละลาย
4. เพ่อื ใหม้ ีทกั ษะในการทากิจกรรมจากใบงานเร่อื งสารละลายอย่างถูกตอ้ งตามขั้นตอน
เพื่องานธรุ กจิ และบรกิ าร และสามารถนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ได้
5. เพอ่ื ให้มที ักษะในการวางแผนการทดลองและอธบิ ายการเปลี่ยนแปลงสมบัตมิ วลและ
พลงั งานของสารเม่ือสารเกดิ การละลาย และคานึงถึงความค้มุ คา่ และสิ่งแวดล้อม

41

6. เพ่ือให้มีพฤติกรรมด้านความมมี นษุ ยสัมพนั ธ์ ความสามัคคี ความสนใจใฝรุ ู้ ความ
รับผิดชอบ ความมานะ อดทน และมคี วามคิดรเิ ร่มิ สร้างสรรค์

3.2 จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม
1. อธิบายเก่ยี วกบั ความสาคัญของสารละลาย ปจั จัยทมี่ ีผลตอ่ การละลายของสาร

องคป์ ระกอบของสารละลาย การเปลย่ี นแปลงสมบตั ิมวลและพลังงานของสารเม่อื สารเกิดการละลาย และการ
ใช้ประโยชนจ์ ากสารละลายในชวี ติ ประจาวนั และอุตสาหกรรมตามหลักวิทยาศาสตร์

2. ยกตัวอย่างปจั จยั ท่ีมีผลตอ่ การละลายของสารได้
3. อธบิ ายและบอกองค์ประกอบของสารละลายได้
4. วิเคราะห์ประเด็นปัญหาในการทดลองและอธิบายการเปล่ียนแปลงสมบัติมวลและพลังงานของสาร
เมอ่ื สารเกิดการละลายได้
5. วางแผนการนาความรูเ้ ก่ียวกบั สารละลายไปใช้ประโยชน์ในการทางานในการแปรรปู ทรัพยากร
ในทอ้ งถ่ินโดยเป็นการพฒั นาอยา่ งย่งั ยืนและคานึงถึงความคุ้มคา่ และส่งิ แวดล้อม
6. เขา้ ช้นั เรียนตรงเวลาและแต่งกายถูกต้องตามระเบยี บ
7. มกี ารเตรียมความพร้อมในการเรียนและปฏบิ ตั ิงานเสรจ็ ตามเวลาทีก่ าหนด
8. มีความละเอียดรอบคอบในการสงั เกตหรือการทางาน
9. แสดงความคดิ เหน็ ยอมรับความคดิ เหน็ และให้ความรว่ มมือในการทางาน
10. ใชเ้ วลาวา่ งในการทางานท่ีไดร้ ับมอบหมาย

4. สาระการเรียนรู้
1. ความหมายของสารละลาย

2. การละลายของสารในตัวทาละลาย
3. ความเข้มข้นของสารละลาย
4. พลงั งานกับการละลายของสาร
5. ปัจจัยทีม่ ผี ลต่อการละลาย
6. การตกผลกึ

5. กิจกรรมการเรยี นรู้
สอนครง้ั ท่ี 5 ชวั่ โมงท่ี 33-40
ใช้วธิ กี ารสอนแบบ System Approach
ขัน้ นาเขา้ สู่บทเรยี น
1. ครูกระต้นุ การเรยี นรู้ ดว้ ยการซักถามนกั ศึกษาเกยี่ วกบั การใช้สารเคมีในชีวิตประจาวัน
2. นกั ศึกษาแตล่ ะกลมุ่ รว่ มกันอภปิ ราย ตัวแทนนาเสนอความคดิ เห็นรว่ มกนั หน้าช้นั เรยี น

42

ขน้ั สอน
1. ครใู ห้นกั ศึกษาแบ่งกลุ่มศกึ ษาใบความรู้กลมุ่ ละเรื่อง จากน้ันรว่ มกันอภปิ รายเกี่ยวกับใบความรทู้ ีใ่ ห้
ตัวแทนกล่มุ ออกนาเสนอผลการอภปิ รายรว่ มกนั ภายในกลุ่ม หนา้ ชั้นเรียน
2. ครูสังเกตการทากจิ กรรมกลมุ่ และการนาเสนอความคิดทีเ่ กดิ จากการอภิปรายร่วมกันภายในกลมุ่
ของนักศึกษา
3. ให้นักศกึ ษานาเสนอผลการศึกษาจากใบความรู้ และการสืบค้นความรู้เพิ่มเตมิ หน้าชัน้ เรียน โดยมีส่อื
ประกอบการนาเสนอ
5. ครปู ระเมินผลการนาเสนอ หลงั จากนั้นอภปิ รายรว่ มกนั ในเนอื้ หาที่แตล่ ะกลุ่มได้รับมอบหมายให้
รับผดิ ชอบ
6. ครูใหน้ ักศึกษาทากิจกรรมใบงานหน่วยที่ 5 เรือ่ งสารละลาย โดยให้สารวจสารละลายในบ้าน

และสานักงานนาเสนอผลการศึกษาในเร่อื ง ข้อควรปฏบิ ัติ ขอ้ ควรระวัง การจดั เกบ็ และการจัดวาง

7. ครนู ดั หมายให้นักศกึ ษานาเสนอผลงาน ซง่ึ จะต้องมีการประเมนิ ผลการนาเสนอผลงาน และ
ประเมินผลงาน สรุปจดบนั ทึก

ขน้ั สรุปและประเมนิ ผล
8. ครนู าอภปิ รายสรปุ เกย่ี วกับความสาคัญของสารละลาย การละลายของสารในตัวทาละลาย

ความเข้มข้นของสารละลาย พลงั งานกับการละลายของสาร ปัจจัยทม่ี ีผลต่อการละลาย และการตกผลึก
การใช้ประโยชนจ์ ากสารละลายในชีวติ ประจาวัน และอุตสาหกรรม

9. มอบหมายใหผ้ ู้เรียนทาแบบฝึกหดั และแบบทดสอบหลงั เรยี นหนว่ ยท่ี 5

การบรู ณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
1. ความมเี หตผุ ล
- วิเคราะหป์ ัจจัยทม่ี ผี ลต่อการละลายของสารได้เหมาะสมตามความจาเปน็
- วเิ คราะหป์ ระเด็นปัญหาในการกิจกรรมและอธิบายการเปลี่ยนแปลงสมบตั มิ วลและพลงั งานของสาร

เมอื่ สารเกิดการละลาย
2. ความพอประมาณ
- เลือกประเด็นปญั หาทีจ่ ะทาการศึกษาวิธกี ารให้บรกิ ารสารละลายกบั บุคคลในบ้าน สานักงาน และ

ชุมชน
- เลือกสารละลายชนดิ ตา่ ง ๆ ในการใช้งานได้เหมาะสมตามความจาเปน็

3. การมีภมู คิ ุ้มกันในตัวที่ดี
- วางแผนการนาความรเู้ กี่ยวกับสารละลายไปใช้ประโยชน์ในการแปรรปู ทรัพยากร

ในทอ้ งถน่ิ โดยเปน็ การพัฒนาอยา่ งยงั่ ยนื และคานึงถงึ ความคุ้มค่าและส่งิ แวดลอ้ ม

43

4. เง่อื นไขความรู้
- นกั ศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกย่ี วกบั การละลายของสารในตวั ทาละลาย ความเข้มข้นของ

สารละลาย ปจั จัยทม่ี ผี ลตอ่ การละลาย และการตกผลกึ
5. เง่อื นไขคุณธรรม
- นักศกึ ษามีมนุษยสมั พนั ธ์ ความสามคั คี ความสนใจใฝรุ ู้ ความรบั ผดิ ชอบ ความมานะอดทน และมี

ความคิดรเิ รมิ่ สร้างสรรค์

การบรู ณาการฐานคณุ ภาพสถานศึกษา 3D ในการเรยี นการสอน
1. ด้านประชาธปิ ไตย (Democracy)
1) นกั ศึกษาสามารถเลือกเขา้ กล่มุ ตามความสมัครใจ มีการทางานรว่ มกนั แบ่งหนา้ ท่รี ับผิดชอบ

ร่วมกนั ตามเวลาท่ีกาหนด
2) นักศึกษาแสดงความคิดเห็นและรับฟังความคิดเห็นของสมาชิกในกลมุ่ และผู้อนื่

2. ด้านคุณธรรม จริยธรรมความเปน็ ไทย (Decency)
1) นักศกึ ษามวี นิ ัย มคี วามรับผดิ ชอบ มุนษยสมั พันธ์ ความสนใจใฝรุ ู้ การตรงต่อเวลา ความคิดริเรมิ่

สรา้ งสรรค์ ความสามคั คี
2) นักศึกษาร่วมกันปฏบิ ตั ิในการใชส้ ารละลายโดยคานงึ ถงึ ความปลอดภัย เหมาะสม ความค้มุ ค่า

และไมก่ ระทบต่อสิง่ แวดลอ้ ม
3. ดา้ นภูมคิ ุม้ กันจากยาเสพตดิ (Drug – Free)
1) ส่งเสรมิ ให้นกั ศึกษาใช้เวลาวา่ งใหเ้ กดิ ประโยชน์ เช่น การทางานท่ีมอบหมายใหใ้ นเวลาวา่ ง การ

สืบคน้ ข้อมลู เพมิ่ เติมจากแหล่งความรตู้ ่าง ๆ เช่น อินเตอร์เนต็ หอ้ งสมุด เปน็ ต้น
2) ส่งเสริมใหน้ ักศึกษาช่วยเหลือซ่ึงกันและกนั ในการทางานร่วมกันหากร่วมมอื กัน

6. สอื่ และแหล่งการเรยี นรู้
6.1 ส่ือวัสดุอปุ กรณ์
-
6.2 สื่อใบความรู้ ใบงาน
1) ใบความรหู้ น่วยท่ี 5 เรือ่ งความหมายของสารละลาย
2) ใบความรหู้ นว่ ยที่ 5 เร่ืองการละลายของสารในตวั ทาละลาย
3) ใบความรูห้ นว่ ยที่ 5 เรอ่ื งความเขม้ ข้นของสารละลาย
4) ใบความรู้หน่วยที่ 5 เรื่องพลังงานกับการละลายของสาร
5) ใบความรู้หนว่ ยที่ 5 เรื่องปัจจัยทีม่ ีผลตอ่ การละลาย
6) ใบความรหู้ น่วยท่ี 5 เรอ่ื งการตกผลกึ
7) ใบงานหน่วยท่ี 5 เรื่องสารละลาย

44

7. หลักฐาน
7.1 หลักฐานความรู้
7) ผลการทาแบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยท่ี 5
8) ผลการนาเสนอหนา้ ชั้นเรียน
9) ผลการทากจิ กรรมกลุ่ม
7.2 หลกั ฐานการปฏิบตั ิงาน
10) แบบประเมนิ พฤติกรรมการทากิจกรรมกลมุ่
11) แบบประเมินผลการนาเสนองาน
10) แบบประเมนิ ใบงานหน่วยที่ 5

8. วดั ผลประเมินผล
8.1 เครื่องมือประเมนิ
1) แบบบนั ทึกพฤติกรรมการทากจิ กรรมกลุ่ม
2) แบบบนั ทกึ การนาเสนอผลงาน
3) แบบทดสอบหลังเรยี นหนว่ ยที่ 5
4) แบบบนั ทึกกจิ กรรมใบงานหน่วยที่ 5
8.2 วิธีการประเมนิ
1) ตรวจแบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยท่ี 5 โดยใชแ้ บบเฉลยแบบทดสอบ
2) ประเมินผลการนาเสนอผลงาน โดยใช้แบบประเมินผลการนาเสนอผลงาน
3) สงั เกตพฤติกรรมการแสดงความคิดเห็น การทากิจกรรมกลมุ่ การรบั ฟังความคิดเหน็ โดยใช้
แบบสังเกตพฤติกรรมการทากิจกรรมกลมุ่

8.3 เกณฑก์ ารประเมิน
นักศกึ ษาไดค้ ะแนนรอ้ ยละ 60 ขนึ้ ไปถือว่า ผ่านการประเมิน

9. กจิ กรรมเสนอแนะ
-

10. เอกสารอ้างอิง
-

45

แบบฝกึ หดั หน่วยที่ 5

คาชแ้ี จง จงตอบคาถามต่อไปนีใ้ ห้ถูกต้อง
1. สารละลายมคี วามหมายวา่ อย่างไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. สารใดเป็นตวั ทาละลายหรือตัวละลายสงั เกตได้อยา่ งไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. ปัจจยั สาคัญในการละลายของสารช้าหรือเร็วขึ้นอยู่กบั ปัจจัยใดบ้าง
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4. สารละลายที่มคี วามเข้มข้นมลี ักษณะอย่างไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
5. สารละลายที่มคี วามเจือจางคือสารละลายท่ีมีคุณสมบัตอิ ย่างไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

46

แบบทดสอบหลังเรยี น หนว่ ยที่ 5 เร่อื ง สารละลาย

วิชา 30000 – 1305 วิทยาศาสตร์เพื่องานธรุ กจิ และบรกิ าร ตามหลกั สตู รประกาศนยี บัตรวิชาชพี ชน้ั สูง

จานวน 10 ข้อ คะแนนเตม็ 10 คะแนน เวลา 20 นาที

&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&

คาช้แี จง: 1 แบบทดสอบมจี านวน 10 ขอ้

2. จงทาเครอื่ งหมาย  บนตัวเลือกทีถ่ ูกต้องทส่ี ุดเพียงข้อเดียวลงในกระดาษคาตอบ

3. โปรดส่งแบบทดสอบและกระดาษคาตอบทีก่ รรมการคมุ สอบหลังเสรจ็ ส้นิ การสอบ

&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&

คาชแี้ จง จงทาเคร่อื งหมาย  บนตวั เลอื กทถ่ี กู ตอ้ งทส่ี ดุ เพียงขอ้ เดียวลงในกระดาษคาตอบ

1. ขอ้ ใดไมใ่ ช่สมบัติของสารละลาย

ก. สถานะของแขง็ ของเหลว และแกส๊ ข. ตัวละลายมากกวา่ ชนิดเดียวได้

ค. เปน็ สารเนือ้ เดียวทบ่ี ริสุทธ์ิ ง. สดั ส่วนระหว่างอนุภาคต่าง ๆ สม่าเสมอ

2. ข้อใดเปน็ สารละลายทั้งหมด ข. เหลก็ กลา้ ทงิ เจอร์ไอโอดีน แกส๊ ธรรมชาติ
ก. อากาศ น้าแปงู นาก ง. ทองสาริด ทองขาว ทองแดง
ค. จนุ สี น้าเกลอื นา้ เช่อื ม

3. จากขอ้ ความดังกล่าวข้อใดถูกต้อง

1. เหลก็ กลา้ ไมเ่ ปน็ สนิมเปน็ สารละลายมีประกอบด้วย เหลก็ โครเมียม นกิ เกิล และคาร์บอน

2. ทองเหลือง ประกอบด้วย ทองแดง สังกะสี ดีบุก ใช้ทาหม้อ กระทะ และเครอ่ื งใช้ต่างๆ

3. นโิ ครม ประกอบด้วย นิเกิล โครเมยี ม เหลก็ ใชท้ าเคร่ืองใช้ไฟฟาู ที่ใหค้ วามร้อน

4. อัลนิโค ประกอบด้วย อะลูมิเนยี ม นกิ เกิล และโคบอลต์ ใชท้ าแม่เหลก็

5. ทอง 18 K เป็นทอง 100 เปอร์เซ็นต์

ก. 1, 2, 5 และ 6 ข. 1, 5, 6 และ 6

ค. 3, 4, 5 และ 6 ง. 1, 2, 3 และ 4

4. ข้อใดเปน็ สว่ นประกอบทส่ี าคญั ของสารละลาย

ก. ของเหลวกับของแขง็ ข. ของแข็งกบั ของแข็ง

ค. แกส๊ กับของเหลว ง. ตวั ละลายกบั ตัวทาละลาย

5. อากาศจดั ว่าเป็นสารละลายข้อใดเปน็ ตวั ละลายและตัวทาละลาย

ก. คาร์บอนไดออกไซด์เปน็ ตัวละลาย และไนโตรเจนเป็นตวั ทาละลาย

ข. คารบ์ อนไดออกไซด์เป็นตวั ทาละลาย และไนโตรเจนเป็นตวั ละลาย

ค. ออกซิเจน คาร์บอนไดออกไซด์ ไอน้าและแก๊สอ่ืนๆ เป็นตวั ละลาย และไนโตรเจนเปน็ ตวั ทาละลาย

ง. ออกซิเจน คาร์บอนไดออกไซด์ ไอน้าและแกส๊ อน่ื ๆ เป็นตัวทาละลาย และไนโตรเจนเปน็ ตัวละลาย

47

6. ตัวทาละลาย และตัวละลายต่างกันหรือเหมือนกันอยา่ งไร

ก. เหมอื นกันอยู่ในสถานะเดยี วกนั ข. เหมือนกันทีป่ รมิ าณเท่าเทียมกนั

ค. ต่างกันทีป่ ริมาณ ง. ตา่ งกนั ท่สี ถานะของสาร

7. สารละลายชนดิ หน่งึ เปน็ ของแข็ง เกิดจากตัวทาละลายและตวั ละลายท่ีเป็นของแข็งในปริมาณเทา่ ๆ กนั อยาก
ทราบวา่ สารตัวใดเป็นตัวละลาย ตวั ใดเปน็ ตวั ทาละลาย
ก. จัดตัวใดเป็นตวั ละลายและตัวใดเป็นตัวทาละลายก็ได้
ข. ตัวที่มจี ุดหลอมเหลวต่ากว่าเป็นตัวทาละลาย
ค. ตวั ที่มจี ุดหลอมเหลวสงู กว่าเป็นตัวทาละลาย
ง. ดูจากสีของสารละลาย สีเหมือนกับของแข็งชนดิ ใดตวั น้ันเป็นตัวทาละลาย

8. ข้อใดทาใหส้ ารละลายคอปเปอร์ (II) ซลั เฟตหรือจนุ สี เหลอื จนุ สีอยา่ งเดียว

ก. ระเหดิ ข. ระเหยแห้ง

ค. กรอง ง. กล่ันลาดับสว่ น

9. ขอ้ ใดเปน็ การละลายของสารประเภทคายพลังงานความรอ้ น
ก. อุณหภูมขิ องสารละลายต่ากวา่ อุณหภมู ิของตวั ทาละลาย (เยน็ ลง)
ข. อุณหภมู ขิ องสารละลายสงู กว่าอุณหภูมิของตัวทาละลาย (ร้อนขึน้ )
ค. อณุ หภูมิของสารละลายสงู กวา่ อุณหภมู ิของตวั ทาละลาย (เยน็ ลง)
ง. อุณหภูมิของสารละลายตา่ กวา่ อณุ หภมู ิของตวั ทาละลาย (รอ้ นข้ึน)

10. ขอ้ ใดกลา่ วไม่ถกู ต้องเก่ยี วกับการละลายของสาร
ก. การละลายจะมีท้ังการดูดและการคายพลงั งาน
ข. ระบบดดู พลงั งานเขา้ ไปเพ่ือทาลายแรงยึดเหน่ยี วระหว่างอนภุ าค
ค. ระบบคายพลงั งานออกมาขณะทีอ่ นภุ าคเข้ารว่ มตัวกบั โมเลกลุ ของตัวทาละลาย
ง. พลงั งานที่ระบบดดู เขา้ ไปสลายแรงยึดเหนยี่ วระหวา่ งอนุภาคย่อมมากกว่าพลงั งานที่คายออกมาเมือ่
อนภุ าครวมตัวกับโมเลกลุ ของตัวทาละลาย

48

แผนการจัดการเรยี นรู้

รหัสวชิ า 30000-1305 ช่อื วชิ า วิทยาศาสตร์เพือ่ งานธรุ กจิ และบรกิ าร 3(4) สอนคร้ังที่ 6
หนว่ ยที่ 6
ช่ือหน่วย ปฏกิ ริ ยิ าเคมี เวลา 12 ชม.

1. สาระสาคญั
ปฏิกิริยาเคมี หมายถึง กระบวนการที่เกิดจากสารเคมีเกิดการเปล่ียนแปลงแล้วส่งผลให้เกิดสารใหม่

ข้นึ มาซ่ึงคณุ สมบัติเปล่ียนไป
การเกิดปฏิกิริยาเคมี เป็นการเปล่ียนแปลงทาให้เกิดสารใหม่ สารที่เข้าทาปฏิกิริยากัน เรียกว่า สาร

ตง้ั ตน้ หรอื สารเร่มิ ต้น (Reactant) สว่ นสารที่เกิดขึ้นเรียกว่า สารผลิตภัณฑ์ สังเกตได้จากสีของสารก่อนและ
หลังการเปลย่ี นแปลง สงั เกตการเกิดตะกอน สงั เกตการเกดิ แกส๊ และสังเกตกลิ่น นอกจากนั้นสามารถสังเกต
วิธีอื่นได้อีก เช่น สังเกตควัน สังเกตเขม่าจากปฏิกิริยาการเผาไหม้ สังเกตความเป็นกรดเป็นเบสท่ีเปล่ียนไป
โดยใชก้ ระดาษลิตมสั และสังเกตลักษณะเนอื้ สาร เป็นตน้

2. สมรรถนะประจาหนว่ ย
1. แสดงความรู้เกย่ี วกบั ความสาคัญของปฏิกิรยิ าเคมี การเกดิ ปฏิกิรยิ าเคมี พลังงานกับการเกิดปฏกิ ิรยิ า

เคมี ปฏิกิรยิ าเคมใี นชีวติ ประจาวัน และอัตราการเกดิ ปฏิกิรยิ าเคมี
2. เลอื กประเดน็ ปญั หาท่ีจะทาการศึกษาเก่ียวกับข้อควรระวัง และแนวปฏบิ ตั ทิ ี่ดขี องผใู้ ห้บริการ

ในการใชส้ ารเคมี
3. เลอื กทรัพยากรในทอ้ งถน่ิ เพื่อนามาเพ่ิมมลู ค่าดว้ ยการแปรรูปเป็นสารเคมที ่นี ามาใชใ้ นบ้าน

สานกั งาน และชุมชนได้เหมาะสมตามความจาเป็น
4. วิเคราะห์ประเดน็ ปัญหาที่ทาการแปรรูปผลิตภัณฑ์ในท้องถิ่นมาใช้ในบ้าน สานกั งาน และชุมชน
5. วางแผนการทางานในการแปรรูปทรัพยากรในท้องถ่ินทาผลิตภัณฑ์ เชน่ น้ายาล้างหอ้ งนา้ สบู่ แทน

การใช้สารเคมี โดยเปน็ การพัฒนาอยา่ งยง่ั ยืนและคานึงถงึ ความคุ้มค่าและส่ิงแวดล้อม
6. นักศกึ ษามมี นุษยสัมพันธ์ ความสามัคคี ความสนใจใฝุรู้ ความรบั ผิดชอบ ความมานะ อดทน

และมีความคิดรเิ ร่มิ สรา้ งสรรค์

3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
3.1 จดุ ประสงคท์ ่ัวไป
1. เพ่อื ใหม้ ีความร้คู วามเขา้ ใจเกย่ี วกับความสาคญั ของปฏกิ ิริยาเคมี ลักษณะการเกิดปฏกิ ิรยิ าเคมี

พลงั งานท่ีทาให้เกิดปฏิกิริยาเคมี การเกิดปฏกิ ริ ยิ าเคมีในชวี ิตประจาวัน และปจั จยั ทีม่ ีผลตอ่ อตั ราการ
เกิดปฏิกริ ยิ าเคมี

2. เพ่ือให้มีทกั ษะในการเลือกประเด็นปญั หาทจี่ ะทาการศึกษาโครงงาน เช่น โครงงาน
นา้ ยาทาความสะอาดห้องนา้ จากสมุนไพรธรรมชาติ เปน็ ต้น

49

3. เพอ่ื ให้มีทักษะในการเลือกทรัพยากรในท้องถิ่นเพื่อนามาเพ่ิมมลู ค่าดว้ ยการแปรรูปเปน็
ผลติ ภณั ฑ์ชนิดตา่ ง ๆ ไดเ้ หมาะสมตามความจาเป็น

4. เพอ่ื ให้มีทกั ษะในการวิเคราะห์ประเดน็ ปญั หาท่ีทาการแปรรูปผลติ ภณั ฑ์ในท้องถิน่
5. เพื่อให้มีทกั ษะในการวเิ คราะหแ์ ละปฏิบตั ิกจิ กรรมการผลิตนา้ ยาทาความสะอาดหอ้ งน้าจาก
สมนุ ไพรธรรมชาติ อย่างถูกต้องตามหลักวทิ ยาศาสตร์
6. เพอ่ื ใหม้ ีทักษะในการวางแผนการแปรรูปทรัพยากรในท้องถนิ่ ผลติ น้ายาทาความสะอาดหอ้ งน้า
จากสมนุ ไพรธรรมชาติ โดยเป็นการพัฒนาอย่างยง่ั ยนื และคานงึ ถึงความคุ้มคา่ และสิง่ แวดลอ้ ม
7. เพ่ือให้มีพฤติกรรมด้านความมมี นุษยสัมพันธ์ ความสามัคคี ความสนใจใฝุรู้ ความรับผดิ ชอบ
ความมานะ อดทน และมีความคิดริเร่ิมสรา้ งสรรค์
3.2 จุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม
1. อธบิ ายเกยี่ วกบั ความสาคัญของปฏิกิริยาเคมี ลกั ษณะการเกดิ ปฏิกิรยิ าเคมี พลงั งานที่ทา
ใหเ้ กดิ ปฏิกริ ยิ าเคมี การเกดิ ปฏกิ ิรยิ าเคมใี นชวี ิตประจาวัน และปจั จัยท่ีมผี ลต่ออตั ราการเกดิ ปฏิกริ ยิ าเคมี
2. เลือกประเด็นปญั หาทีจ่ ะท่ีจะทาการศกึ ษาโครงงาน เชน่ โครงงานนา้ ยาทาความสะอาดหอ้ งน้า
จากสมุนไพรธรรมชาติ เปน็ ต้น
3. เลอื กทรพั ยากรในท้องถิ่นเพือ่ นามาเพ่ิมมูลค่าด้วยการแปรรปู เปน็ ผลิตภณั ฑช์ นิดตา่ ง ๆ
ไดเ้ หมาะสมตามความจาเป็น
4. วิเคราะหป์ ระเด็นปัญหาที่ทาการแปรรูปผลติ ภัณฑใ์ นท้องถ่ิน
5. วิเคราะห์และปฏิบตั ิกจิ กรรมการผลิตนา้ ยาทาความสะอาดห้องนา้ จากสมนุ ไพรธรรมชาติ อย่าง
ถูกต้องตามหลักวิทยาศาสตร์
6. วางแผนการแปรรูปทรพั ยากรในท้องถ่นิ ผลติ การผลติ นา้ ยาทาความสะอาดห้องน้าจากสมนุ ไพร
ธรรมชาติ โดยเป็นการพัฒนาอยา่ งย่ังยืนและคานึงถึงความคุ้มคา่ และสงิ่ แวดลอ้ ม
7. เขา้ ช้ันเรียนตรงเวลาและแต่งกายถูกต้องตามระเบยี บ
8. มกี ารเตรียมความพร้อมในการเรยี นและปฏิบตั ิงานเสรจ็ ตามเวลาทก่ี าหนด
9. มีความละเอียดรอบคอบในการสงั เกตหรือการทางาน
10. แสดงความคดิ เหน็ ยอมรับความคดิ เหน็ และให้ความร่วมมือในการทางาน
11. ใช้เวลาวา่ งในการทางานที่ไดร้ บั มอบหมาย

4. สาระการเรยี นรู้
1. ความหมายของปฏิกิรยิ าเคมี
2. การเกดิ ปฏิกิรยิ าเคมี
3. พลงั งานกบั การเกดิ ปฏิกริ ยิ าเคมี
4. ปฏิกริ ิยาเคมใี นชีวิตประจาวนั
5. อัตราการเกิดปฏิกิรยิ าเคมี

50

5. กจิ กรรมการเรยี นรู้
สอนครัง้ ท่ี 6 ช่ัวโมงท่ี 41-48
ใช้การสอนแบบ System Approach
นาเข้าสบู่ ทเรียน
1. ครสู นทนากบั นักศึกษาเก่ียวกบั การใชส้ ารเคมีในชวี ิตประจาวนั
2. นักศกึ ษาร่วมกนั อภิปรายถึงการใช้สารเคมที ่ปี ฏิบตั ิอยใู่ นชวี ิตประจาวัน จากน้ันตวั แทนกลมุ่ ออก

นาเสนอผลการอภิปรายร่วมกันหน้าชั้นเรียน
ขั้นดาเนนิ การสอน

1. ครูให้นักศึกษาแบง่ กลุ่มศกึ ษาใบความร้เู รื่อง การเกิดปฏิกริ ิยาเคมี พลังงานกับการเกิดปฏกิ ริ ยิ าเคมี
ปฏกิ ิรยิ าเคมใี นชวี ติ ประจาวนั และอตั ราการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี พร้อมสืบค้นข้อมลู เพอ่ื นาเสนอโดยใช้สื่อ
ประกอบการนาเสนอ ครูนดั หมายในการนาเสนอ

2. ครปู ระเมินผลการนาเสนอผลงานจากเน้ือหาความรู้ทีส่ บื คน้ ข้อมูล แหลง่ ความรทู้ ีห่ ลากหลาย และ
ความคดิ สรา้ งสรรค์ในการผลิตสือ่ ประกอบการนาเสนอผลงาน บคุ ลิกภาพในการนาเสนอผลงาน ความมั่นใจ
ความรอบรูใ้ นการตอบคาถาม รูปแบบในการนาเสนอผลงาน เป็นต้น

3. ใหน้ ักศกึ ษาทากจิ กรรมจากใบงานหนว่ ยที่ 6 เรอ่ื ง ปฏิกิริยาเคมี โดยให้จัดทาโครงงานกล่มุ ละ 1 เรอ่ื ง
ตามหัวขอ้ ทีก่ าหนดในใบงาน

4. นักศึกษานาเสนอผลการจัดทาโครงงาน
5. ครูและนักศึกษาร่วมกนั อภิปรายขอ้ ควรระมัดระวังหรือแนวปฏบิ ัติทน่ี กั ศึกษานาไปปฏบิ ตั ิได้ใน
ชวี ิตประจาวัน
ข้ันสรปุ และประเมนิ ผล
1. นกั ศกึ ษาและครรู ว่ มกันสรปุ เกีย่ วกับความสาคัญของปฏิกิริยาเคมี การเกิดปฏิกริ ิยาเคมี พลงั งาน
กบั การเกิดปฏกิ ิรยิ าเคมี ปฏิกิรยิ าเคมีในชวี ติ ประจาวัน และอัตราการเกดิ ปฏิกริ ิยาเคมี ปญั หาในการจัดทา
โครงงาน
2. นักศึกษาทาแบบทดสอบหลังเรยี นหน่วยท่ี 6 เร่อื งปฏกิ ิริยาเคมี
3. ครปู ระเมนิ ผลการเรยี นจากใบงาน กิจกรรม แบบทดสอบหลังเรียนหนว่ ยท่ี 9 เร่อื งปฏิกริ ิยาเคมี

การบรู ณาการกับหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
1. ความมเี หตผุ ล
- วเิ คราะห์ประเด็นปญั หาท่ีทาการแปรรปู ผลติ ภณั ฑ์จากท้องถ่นิ มาใช้ในบา้ น สานักงาน และชุมชน
- วเิ คราะห์และปฏิบตั ิกจิ กรรมการผลติ สารเคมจี ากทรัพยากรตามธรรมชาติอย่างถูกต้องตามขน้ั ตอน

และหลกั วทิ ยาศาสตร์

2. ความพอประมาณ