ทัศนศิลป์ในชีวิตประจําวัน มีอะไรบ้าง

ตาม ความเข้าใจของทุกคน ต่างทราบดีว่า สิ่งสำคัญในการดำรงชีวิตของมนุษย์ ที่อยู่บนโลกใบนี้ คือ ปัจจัยสี่ ประกอบไปด้วย ที่อยู่อาศัย อาหาร เครื่องนุ่งห่ม และยารักษาโรค ต้องการที่อยู่อาศัยเพื่อป้องกันอันตรายจากภายนอก ต้องการอาหารเพื่อให้ร่างกายแข็งแรง เจริญเติบโต ต้องการเสื้อผ้าหรือเครื่องนุ่งห่มไว้ปกปิดร่างกายป้องกันความร้อน ความหนาวเย็น ต้องการยารักษาโรคเพื่อรักษาโรคภัยต่าง ๆ สิ่ง ต่าง ๆ เหล่านี้มีความสำคัญและจำเป็นสำหรับชีวิตมนุษย์ ซึ่งจะขาดสิ่งใดสิ่งหนึ่งมิได้ และจะต้องให้ความสนใจ เอาใจใส่ในการดูแลเรื่องดังกล่าวเหล่านี้


เป็น ที่ทราบกันดีแล้วว่า ปัจจัยสี่คือ สิ่งสำคัญในการดำรงชีวิตของมนุษย์ มนุษย์ต้องการที่อยู่อาศัยเพื่อป้องกันภัยอันตรายจากภายนอก มนุษย์ต้องการอาหารเพื่อให้ร่างกายแข็งแรง มนุษย์ต้องการอาหารเพื่อให้ร่างกายแข็งแรง มนุษย์ยังต้องการเสื้อผ้าหรือเครื่องนุ่งห่มไว้ปกปิด ร่างกายจากสิ่งแวดล้อมรอบตัว และมนุษย์ยังต้องการยา เพื่อรักษาโรคภัยไข้เจ็บ สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ล้วนแล้ว แต่เป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นสำหรับชีวิตมนุษย์อย่างยิ่งเมื่อมนุษย์ตระหนักถึง ความสำคัญมนุษย์ จึงต้องให้ความสนใจและเอาใจใส่ดูแลในเรื่องดังกล่าว การให้ความสำคัญในรายละเอียดต่าง ๆ จึงถูกนำมาพิจารณา และปรุงแต่งปัจจัยให้สนองความต้องการ และแสดงถึงคุณค่าของความงามสิ่งนั้นศิลปะหากมนุษย์ยอมรับว่าศิลปะคือ การแสดงออกของอารมณ์ตามความพอใจ ศิลปะก็จะมีประโยชน์และเกี่ยวข้องกับปัจจัยที่สนองความต้องการทางอารมณ์เป็น อย่างยิ่ง หากมนุษย์มีความเครียด ศิลปะสามารถสร้างความเบิกบานให้ แสดงว่าเขาผู้นั้นเข้าถึงศิลปะ

นอก จากนี้การเข้าถึงศิลปะจะทำให้มนุษย์มีรสนิยมที่ดี การมีรสนิยมจะเกี่ยวข้องกับศิลปะและการออกแบบ รสนิยมเป็นความพอใจของมนุษย์ที่นำหลักการทางศิลปะมาผสมผสานให้เกิดความพอดี เพราะความพอดีและความพอใจ หากมนุษย์เข้าถึงศิลปะได้มากเขาผู้นั้นก็จะมีรสนิยมที่ดีดังนั้นศิลปะจึงมี ประโยชน์ต่อมนุษย์และต่อการดำรงชีวิตในปัจจุบัน

   1.ศิลปะในชีวิตประจำวัน

     สิ่งสำคัญในการดำรงชีวิตของมนุษย์ ที่อยู่บนโลกใบนี้ คือ ปัจจัยสี่ ประกอบไปด้วย ที่อยู่อาศัย อาหาร เครื่องนุ่งห่ม และยารักษาโรค ต้องการที่อยู่อาศัยเพื่อป้องกันอันตรายจากภายนอก ต้องการอาหารเพื่อให้ร่างกายแข็งแรง เจริญเติบโต ต้องการเสื้อผ้าหรือเครื่องนุ่งห่มไว้ปกปิดร่างกายป้องกันความร้อน ความหนาวเย็น ต้องการยารักษาโรคเพื่อรักษาโรคภัยต่าง ๆ สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้มีความสำคัญและจำเป็นสำหรับชีวิตมนุษย์ ซึ่งจะขาดสิ่งใดสิ่งหนึ่งมิได้ และจะต้องให้ความสนใจ เอาใจใส่ในการดูแลเรื่องดังกล่าวเหล่านี้นอกจากนี้การเข้าถึงศิลปะจะทำให้มนุษย์มีรสนิยมที่ดี การมีรสนิยมจะเกี่ยวข้องกับศิลปะและการออกแบบรสนิยมเป็นความพอใจของมนุษย์ที่นำหลักการทางศิลปะมาผสมผสานให้เกิดความพอดี เพราะความพอดีและความพอใจ หากมนุษย์เข้าถึงศิลปะได้มากเขาผู้นั้นก็จะมีรสนิยมที่ดีดังนั้นศิลปะจึงมีประโยชน์ต่อมนุษย์และต่อการดำรงชีวิตในปัจจุบัน

ทัศนศิลป์ในชีวิตประจําวัน มีอะไรบ้าง

     2.ทัศนศิลป์กับการประกอบอาชี

   จิตรกร 
   ลักษณะงาน 
เขียนภาพทิวทัศน์ ภาพเหมือน ภาพหุ่นนิ่ง ภาพแบบแอบสแตรกท์ และภาพองค์ประกอบที่คล้ายคลึงกัน ด้วยสีน้ำมัน สีน้ำ หรือสีอย่างอื่น ร่างภาพองค์ประกอบเป็นเส้นโครงภายนอกลงบนผ้าใบหรือบนสิ่งอื่น เพื่อเขียนภาพจากแบบ จากภาพภูมิประเทศ หรือจากความทรงจำ ป้ายสีลงบนวัสดุที่ใช้เขียนภาพ จัดแนวเส้นในภาพให้มีสี แบบ และมวลที่กลมกลืนประสานกันอย่างสวยงาม อาจชำนาญในการใช้สี หรือในประเภทของงานที่ทำ และอาจมีชื่อเรียกตามความชำนาญ อาจจัดภาพฉากหลังและจัดที่สำหรับ แสดงสินค้าเพื่อใช้ในงานการค้า อาจซ่อมสิ่งที่ชำรุดเสียหายและซ่อมภาพเขียนที่ซีดจาง

  คุณสมบัติของผู้ประกอบอาชีพ 
มีจินตนาการสูง และสามารถถ่ายทอดจินตนาการออกมาเป็นผลงานได้ มีความถนัดและมีความรู้ทางศิลปะ ชอบและสนใจสิ่งสวยงามในแง่วรรณคดี ดนตรี และศิลปะ

  การเตรียมตัวเข้าสู่อาชีพ 
จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สายศิลป มีความสนใจและถนัดทางศิลปะ ศึกษาต่อ คณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์ คณะวิจิตรศิลป หรือคณะศิลปกรรม ในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐบาลและเอกชน 

ทัศนศิลป์ในชีวิตประจําวัน มีอะไรบ้าง

ประกาศออกมาเรียบร้อยแล้วจ้า จาก ทปอ. สำหรับโครงสร้างข้อสอบและตัวอย่างข้อสอบ หรือ แนวข้อสอบ ในวิชาต่างๆ ทั้ง TGAT / TPAT และ A-level เพื่อสำหรับเตรียมความพร้อมอ่านหนังสือ เตรียมเข้ามหาวิทยาลัยกัน โดยเป็นการสอบที่จะเริ่มใช้กับน้องๆ ที่คัดเลือก ในระบบ TCAS66 เป็นต้นไป

ดังนั้น เรามาเตรียมความพร้อมและอ่านหนังสือ สอบรอกันเลยดีกว่าจ้า

TGAT/TPAT

1. TPAT1

ข้อสอบ TPAT1 การสื่อสารภาษาอังกฤษ

ทักษะการพูด (Speaking Skill)

1) การถาม–ตอบ (Question-Response)

2) เติมบทสนทนาแบบสั้น (Short conversations) จำนวน 3 บทสนทนา

3) เติมบทสนทนาแบบยาว (Long conversations) จำนวน 2 บทสนทนา

ทักษะการอ่าน (Reading Skill) (50 คะแนน)

1) เติมข้อความในเนื้อเรื่องให้สมบูรณ์ (Text completion) จำนวน 3 บทความ

2) อ่านเพื่อจับใจความ (Reading comprehension) จำนวน 5 บทความ

TPAT1 วิชาสมรรถนะการคิดอย่างมีเหตุผล (Critical & Logical Thinking)

1) ความสามารถทางภาษา

2) ความสามารถทางตัวเลข

3) ความสามารถทางมิติสัมพันธ์

4) ความสามารถทางเหตุผล

TPAT1 วิชาสมรรถนะการทำงาน

1) การสร้างคุณค่าและนวัตกรรม

2) การแก้ไขปัญหาที่ซับซ้อน

3) การบริหารจัดการอารมณ์

4) การเป็นพลเมืองที่มีส่วนร่วมของสังคม

.

2. TPAT2

ข้อสอบ TPAT2 ความถนัดศิลปกรรมศาสตร์ แบ่งออกเป็นข้อสอบ 3 ส่วน ผู้สอบสามารถเลือกสอบได้

TPAT21 ทัศนศิลป์ 100 คะแนน ประกอบด้วย

พื้นฐานทางทัศนศิลป์ 30 ข้อ ข้อละ 2 คะแนน รวม 60 คะแนน

1. หลักการออกแบบและการจัดองค์ประกอบศิลป์

2. การวิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์งานทัศนศิลป์

3. ความเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม

4. การเห็นคุณค่าและ สามารถถ่ายทอดความรู้สึกที่มีต่องานทัศนศิลป์

ทัศนศิลป์กับการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจําวัน 20 ข้อ ข้อละ 2 คะแนน รวม 40 คะแนน

1. การเลือกใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมในการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์

2. การนําศิลปะ ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจําวัน

3. ความรู้รอบตัวเกี่ยวกับทัศนศิลป์ในชีวิตประจําวัน

TPAT22 ดนตรี 100 คะแนน ประกอบด้วย

องค์ประกอบดนตรี 25 ข้อ ข้อละ 2 คะแนน รวม 50 คะแนน

1. จังหวะ (Rhythm)

2. ทํานอง (Melody)

3. เสียงประสาน (Harmony)

4. รูปพรรณ (Texture)

5. สีสันของเสียง (Tone Color)

6. ลักษณะของเสียง

7. รูปแบบ (Form)

บริบทที่เกี่ยวข้องทางดนตรี 25 ข้อ ข้อละ 2 คะแนน รวม 50 คะแนน

1. ประวัติและวรรณคดีดนตรี

2. เครื่องดนตรีและแหล่งกําเนิดของเสียง

3. ระดับของการฟัง

4. หลักในการปฏิบัติทักษะดนตรี

5. ความเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรีกับสังคม และการประยุกต์ใช้ดนตรีในชีวิต

TPAT23 นาฏศิลป์ 100 คะแนน ประกอบด้วย

พื้นฐานการใช้ร่างกายทางด้านนาฏศิลป์ 10 ข้อ ข้อละ 2 คะแนน รวม 20 คะแนน

1. การเตรียมพร้อมร่างกายเพื่อปฏิบัตินาฏศิลป์

2. พื้นฐานการเคลื่อนไหวร่างกาย

การสื่อสารด้วยท่าทาง 15 ข้อ ข้อละ 2 คะแนน รวม 30 คะแนน

1. อารมณ์ความรู้สึกเชิงบวก เช่น ดีใจ มีความสุข เบิกบาน

2. อารมณ์ความรู้สึกเชิงลบ เช่น เสียใจ เจ็บปวด สิ้นหวัง

3. การสื่อความหมาย

4. การแสดงออกทางสีหน้าแววตา

หลักการใช้พื้นที่ทางด้านนาฏศิลป์ 15 ข้อ ข้อละ 2 คะแนน รวม 30 คะแนน

1. ทิศทาง

2. ระดับ

3. ขนาด

4. การใช้พื้นที่ในการแสดง

5. การเคลื่อนที่และแปรแถว

ปฏิภาณไหวพริบสําหรับผู้แสดงนาฏศิลป์ 10 ข้อ ข้อละ 2 คะแนน รวม 20 คะแนน

1. การแก้ไขสถานการณ์ก่อนการแสดง

2. การแก้ไขสถานการณ์ระหว่างการแสดง

.

3. TPAT3 ความถนัดด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และวิศวกรรมศาสตร์

ข้อสอบ TPAT3 ความถนัดด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และวิศวกรรมศาสตร์ ประกอบด้วย 2 ส่วนคือ

ส่วนที่ 1: การทดสอบความถนัด (aptitude test) ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และวิศวกรรมศาสตร์ 60 คะแนน ประกอบด้วย

ด้านตัวเลข (numerical reasoning)

ด้านมิติสัมพันธ์ (diagrammatic reasoning)

ด้านเชิงกล (mechanical reasoning) และด้านฟิสิกส์ (physics aptitude test)

ส่วนที่ 2: การทดสอบความคิดและความสนใจทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และวิศวกรรมศาสตร์ 40 คะแนน ประกอบด้วย

ความคิดเชิงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และวิศวกรรมศาสตร์ (จำนวน 15 ข้อ รวม 20 คะแนน)

ความสนใจข่าวสารความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และวิศวกรรมศาสตร์ (จำนวน 10 ข้อรวม 20 คะแนน)

.

4. TPAT4

TPAT4 40 ความถนัดทางสถาปัตยกรรม

หมวดที่ 1

เนื้อหา

การวัดความรู้ทั่วไปด้านศิลปะและการออกแบบ ที่เกี่ยวข้องกับงานสถาปัตยกรรม ภูมิสถาปัตยกรรม และสถาปัตยกรรมภายใน

หมวดที่ 2

เนื้อหา

การวัดความรู้ทั่วไปด้านทฤษฎีสีและทฤษฎีด้านความงามทางศิลปะและงานสถาปัตยกรรม

หมวดที่ 3

เนื้อหา

การวัดความรู้พื้นฐานระบบโครงสร้าง ประเภทและลักษณะโครงสร้าง องค์ประกอบของโครงสร้างทางสถาปัตยกรรม และงานระบบพื้นฐานในงานสถาปัตยกรรม

หมวดที่ 4

เนื้อหา

การวัดการรับรู้ด้านมิติสัมพันธ์และรูปทรง

.

ข้อสอบ A-Level

1. A-Level 61 Math1 วิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 1

สาระจำนวนและพีชคณิต

1. เซต

2. ตรรกศาสตร์

3. จำนวนจริงและพหุนาม

4. ฟังก์ชัน

5. ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม

6. ฟังก์ชันตรีโกณมิติ

7. จํานวนเชิงซ้อน

8. เมทริกซ์

9. ลําดับและอนุกรม

สาระการวัดและเรขาคณิต

10. เรขาคณิตวิเคราะห์

11. เวกเตอร์ในสามมิติ

สาระสถิติและความน่าจะเป็น

12. สถิติ

13. การแจกแจงความน่าจะเป็นเบื้องต้น

14. หลักการนับเบื้องต้น

15. ความน่าจะเป็น

สาระแคลคูลัส

16. แคลคูลัสเบื้องต้น

.

2. A-Level 62 Math2 วิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 2

1. จำนวนและพีชคณิต

2. เซต

3. ตรรกศาสตร์เบื้องต้น

4. เลขยกกำลัง

5. ฟังก์ชัน

6 ลําดับและอนุกรม

7. ดอกเบี้ยและมูลค่าของเงิน

8. สถิติและความน่าจะเป็น

9. สถิติ

10. หลักการนับเบื้องต้น

11. ความน่าจะเป็น

หมายเหตุ

ข้อสอบบางข้อมีการบูรณาการระหว่างเนื้อหาขอบเขตเนื้อหาของข้อสอบ สามารถศึกษาได้จาก เอกสารตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 จาก เว็บไซต์สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

.

3. A-Level 63 Sci วิทยาศาสตร์ประยุกต์

วิทยาศาสตร์ชีวภาพ

1. ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม

2. การลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์

3. การรักษาดุลยภาพของร่างกายมนุษย์

4. ระบบภูมิคุ้มกันของมนุษย์

5. การดำรงชีวิตของพืช

6. พันธุกรรมและวิวัฒนาการ

วิทยาศาสตร์กายภาพ

7. อะตอมและสมบัติของธาตุ

8. สารโคเวเลนต์

9. สารประกอบไอออนิก

10. สารประกอบไฮโดรคาร์บอน

11. พอลิเมอร์

12. ปฏิกิริยาเคมี

13. สารกัมมันตรังสี

14. การเคลื่อนที่และแรง

15. แรงในธรรมชาติ

16. พลังงานทดแทน

17. คลื่นกล

18. เสียง

19. แสงสี

20. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ

21. เอกภพและกาแล็กซี

22. ดาวฤกษ์

23. ระบบสุริยะ

24. เทคโนโลยีอวกาศ

25. โครงสร้างโลก

26. การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี

27. ธรณีพิบัติภัย

28. การเกิดลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศ

29. การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ

30. ข้อมูลสารสนเทศทางอุตุนิยมวิทยา

.

4. A-Level 64 Phy วิชาฟิสิกส์

กลศาสตร์

1. ธรรมชาติและพัฒนาการทางฟิสิกส์

2. การเคลื่อนที่แนวตรง

3. แรงและกฎการเคลื่อนที่

4. สมดุลกลของวัตถุ

5. งานและกฎการอนุรักษ์พลังงานกล

6. โมเมนตัมและการชน

7. การเคลื่อนที่แนวโค้ง

8. การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกส์อย่างง่าย

คลื่นกล และแสง

9. คลื่น

10. เสียง

11. แสง

ไฟฟ้า แม่เหล็กและคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

12. ไฟฟ้าสถิต

13. ไฟฟ้ากระแส

14. แม่เหล็กและไฟฟ้า

15. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

อุณหพลศาสตร์และสมบัติเชิงกลของสาร

16. ความร้อนและแก๊ส

17. ของแข็งและของไหล

ฟิสิกส์แผนใหม่

18. ฟิสิกส์อะตอม

19. ฟิสิกส์นิวเคลียร์และฟิสิกส์อนุภาค

.

5. A-Level 65 Chem วิชาเคมี

สมบัติของธาตุและสารประกอบ

1. อะตอมและสมบัติของธาตุ

2. พันธะเคมี

3. แก๊ส

4. เคมีอินทรีย์

5. พอลิเมอร์

สมการเคมีและการเปลี่ยนแปลงทางเคมี

6. ปริมาณสัมพันธ์

7. อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

8. สมดุลเคมี

9. กรด–เบส

10. เคมีไฟฟ้า

ทักษะในปฏิบัติการเคมีและการคำนวณปริมาณของสาร

11. ความปลอดภัยและทักษะในปฏิบัติการเคมี

12. โมล

13. สารละลาย

.

6. A-Level 66 Bio วิชาชีววิทยา

ความหลากหลายทางชีวภาพและสิ่งแวดล้อม

1. ระบบนิเวศและไบโอม

2. ประชากร

3. ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

4. ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตและอนุกรมวิธาน

หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต

5. เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต

6. โครงสร้างและการทำงานของเซลล์

ระบบและการทำงานต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์

7. ระบบย่อยอาหาร

8. ระบบหมุนเวียนเลือด

9. ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน

10. ระบบขับถ่าย

11. ระบบหายใจ

12. ระบบประสาทและการเคลื่อนที่

13. ระบบสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต

14. ระบบต่อมไร้ท่อ

15. พฤติกรรมของสัตว์

โครงสร้างและการทำงานของส่วนต่าง ๆ ในพืช

16. เนื้อเยื่อและโครงสร้างภายในของพืช

17. การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำของพืช และการลำเลียงของพืช

18. การสังเคราะห์ด้วยแสงและสารอินทรีย์ในพืช

19. การสืบพันธุ์ของพืชดอก

20. การควบคุมการเจริญเติบโตและการตอบสนองของพืช

พันธุศาสตร์และวิวัฒนาการ

21. การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม

22. สมบัติของสารพันธุกรรม ความสัมพันธ์ระหว่างยีน การสังเคราะห์โปรตีน และลักษณะทางพันธุกรรม

23. การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม

24. เทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

25. วิวัฒนาการและพันธุศาสตร์ประชากร

.

7. A-Level 70 Soc สังคมศาสตร์

1) ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม

2) หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดำเนินชีวิตในสังคม

3) เศรษฐศาสตร์

4) ประวัติศาสตร์

5) ภูมิศาสตร์

.

8.1 A-Level 81 Thai ภาษาไทย

1) การอ่าน

1.1 การอ่านเพื่อเข้าใจเนื้อหา

1.2 การจับใจความ/การสรุปสาระสำคัญของข้อความ

1.3 การตีความ

1.4 การวิเคราะห์จุดประสงค์/เจตนาของผู้เขียน

1.5 การวิเคราะห์ข้อคิด/แนวคิดที่ได้จากการอ่าน

1.6 การอนุมานจากเนื้อหาของข้อความที่อ่าน

1.7 ท่าที/น้ำเสียง/อารมณ์ความรู้สึก/ความคิดเห็นของผู้เขียน

2) การเขียน

2.1 การเรียงลำดับข้อความ

2.2 การเรียงความ

2.3 การพรรณา/บรรยาย/อธิบาย

2.4 การใช้เหตุผล

2.5 การแสดงทรรศนะ

2.6 การโต้แย้ง

2.7 การโน้มน้าว

3) การพูด การฟัง

3.1 การวิเคราะห์จุดประสงค์ในการพูด

3.2 การใช้ข้อความถาม และตอบที่สัมพันธ์กัน

3.3 การตีความ/อนุมาน/วิเคราะห์สาร/บุคลิกของผู้พูดหรือผู้ฟัง

4) หลักการใช้ภาษา

4.1 การสะกดคำ

4.2 การใช้คำตรงความหมาย

4.3 ประโยคกำกวม/ประโยคบกพร่อง

4.4 ประโยคสมบูรณ์

4.5 ระดับภาษา

4.6 การใช้สำนวนถูกต้องตามความหมาย

4.7 ชนิดของประโยคตามเจตนา

4.8 คำที่มีความหมายตรง/อุปมา

4.9 คำทับศัพท์ภาษาอังกฤษ

4.10 ราชาศัพท์

.

8.2. A-Level 82 Eng ภาษาอังกฤษ

1. ทักษะการฟังและการพูด (Listening and Speaking Skills)

2. ทักษะการอ่าน (Reading Skill)

3. ทักษะการเขียน (Writing Skill)

.

8.4 A-Level 84 Ger ภาษาเยอรมัน

สมรรถนะทางภาษาเยอรมัน

1) ความสามารถในการเขียน

2) การใช้คำศัพท์และสำนวนภาษาเยอรมันในสถานการณ์ชีวิตประจำวัน

3) การอ่านตัวบทภาษาเยอรมัน

.

8.5 A-Level 85 Jap ภาษาญี่ปุ่น

สมรรถนะการใช้ภาษาญี่ปุ่นในการสื่อสารในสถานการณ์ชีวิตประจำวัน

1) ความสามารถในการใช้ไวยากรณ์พื้นฐาน

2) ความสามารถในการสื่อสาร

3) ความสามารถในการเขียน

4) ความสามารถในการอ่าน

.

8.6 A-Level 86 Kor ภาษาเกาหลี

สมรรถนะการใช้ภาษาเกาหลีในการสื่อสาร

1) ความสามารถในการใช้คำศัพท์และสำนวนในชีวิตประจำวัน

2) ความสามารถในการอ่านและสังคมวัฒนธรรม

3) ความสามารถในการใช้ไวยากรณ์

.

8.7 A-Level 87 Chi ภาษาจีน

สมรรถนะการใช้ภาษาจีนในการสื่อสาร

1) ความสามารถในการใช้คำศัพท์และสำนวนภาษาจีนในชีวิตประจำวัน

2) ความสามารถในการอ่านและสังคมวัฒนธรรม

3) ความสามารถในการใช้ไวยากรณ์

.

8.8 A-Level 88 Pali ภาษาบาลี

สมรรถนะการใช้ภาษาในการสื่อสาร

1) ความสามารถในการใช้คำศัพท์และสำนวนภาษา

2) ความสามารถในการอ่าน

3) ความสามารถในการใช้ไวยากรณ์

.

** ยังมีอัพเดตแนวข้อสอบเพิ่มเติม รอประกาศจากทาง ทปอ.ต่อไปนะจ้ะ  (อัพเดตข้อมูล   :   5  มิถุนายน 2565)

ศิลปะในชีวิตประจําวัน มีอะไรบ้าง

การนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันนั้น ควรเน้นเป็น ๓ ประเภท ดังนี้ ๑. การนำศิลปะไปทำเป็นของใช้ต่างๆ เช่น ผ้าปูโต๊ะ ย่าม แจกัน ที่ใส่ดินสอ พัด เป็นต้น ๒. การนำศิลปะไปทำเป็นของประดับตกแต่ง เช่น ภาพตกแต่งผนัง ปกหนังสือ ปฏิทิน ภาพแขวน เป็นต้น ๓. การนำศิลปะไปทำเป็นของเล่นต่างๆ เช่น รถแข่ง ตุ๊กตา ว่าว หุ่นยนต์ เป็นต้น

ศิลปะมีความสําคัญในชีวิตประจําวันของมนุษย์อย่างไร

มนุษย์ นับว่าเป็นสัตว์ชนิดเดียวในโลกที่สามารถรับรู้และสร้างสรรค์ศิลปะได้ ศิลปะจึงมีความสำคัญต่อชีวิตมนุษย์อย่างมหาศาล เพราะศิลปะมีส่วนช่วยเสริมสร้างจิตใจของมนุษย์ให้สูงขึ้น กล่อมเกลาจิตใจให้อ่อนโยน ทำให้เกิดความกลมกลืน ความรักสามัคคีต่อกัน งานศิลปะถูกสร้างสรรค์ขึ้นเพื่อสนองความต้องการทางอารมณ์และจิตใจ เป็นเครื่องมือ ...

ทัศนศิลป์คืออะไรแบ่งออกเป็นกี่ประเภทอะไรบ้าง

ประเภทของทัศนศิลป์ แบ่งประเภทของศิลปะ ออกได้เป็น 3 ประเภท ใหญ่ๆ ตามประเภทของความงาม คือ วิจิตรศิลป์ (Fine Art) ประยุกต์ศิลป์ (Applied Art) สถาปัตยกรรม (Architecture)

ทัศนศิลป์มีความสำคัญต่อชีวิตนักเรียนอย่างไร

ทัศนศิลป์ เป็นศิลปะที่ประณีตงดงาม มีคุณค่าทางด้านจิตใจทั้งต่อผู้สร้างสรรค์ ผู้ชื่นชม ใช้ประโยชน์ และเป็นพื้นฐานสำคัญในการนำศิลปะมาใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต และสังคมส่วนรวมได้ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง มีความรู้ความเข้าใจ เห็นคุณค่าและสามารถนำทัศนศิลป์มาใช้ในการพัฒนาชีวิตและสังคมได้