สรุปการรักษาดุลยภาพของกรด-เบสในร่างกาย

คีย์เวิร์ดยอดนิยมของ มัธยมปลาย

ค้นหาเนื้อหาที่ต้องการไม่เจอเหรอ? ลองค้นหาใน Q&A ดูสิ!

คำสำคัญ: การรักษาสมดุล

・ตรวจสอบความถูกต้องของการสะกดคำ
・ลองใช้คีย์เวิร์ดอื่น
・ค้นหาจากประเภทของสมุดโน้ตที่เผยแพร่ในหน้าบนสุด หรือจากอันดับรายสัปดาห์

พบ - เนื้อหาที่ตรงกันบน Q&A

การรักษาดุลยภาพของรา่ งกาย

(Homeostasis)

นางสาววิชุดา พรหมคงบุญ
โรงเรียนกาแพงวทิ ยา อาเภอละงู จังหวดั สตูล

การควบคุมดุลยภาพของ
กรด-เบสของเลอื ดโดยการ

ทางานของไตและปอด

ขั้นสร้างความสนใจ

การหายใจระดับเซลล์

การสลายสารอาหารต่าง ๆ เพือ่ ใหไ้ ด้พลงั งานซึง่ ลว้ นเปน็
กระบวนการเมแทบอลิซึมทีต่ อ้ งอาศัยเอนไซมใ์ นการ
เกิดปฏิกิริยาเคมี เอนไซมเ์ ปน็ โปรตีน โดยเอนไซมแ์ ตล่ ะ
ชนิดจะทาางานได้ดีขึน้ อย่กู บั ปจั จัยต่าง ๆ

ข้นั สรา้ งความสนใจ

การทางานของเอนไซมใ์ นรา่ งกาย

การทางานของเอนไซม์ในร่างกาย

1. เอนไซม์อะไมเลสสา
มารถทางานได้ดที ส่ี ุดที่

คา่ pH ใด ??

2. จงอธิบายอัตราการ
ทางานของเอนไซม์เพป
ซนิ เอนไซม์อะไมเลส

และเอนไซม์ทรปิ ซิน
??

การหายใจระดบั เซลล์
(กระบวนการสร้างพลงั งาน)

ในเลอื ด

ความเป็นกรด-เบสของเลือดข้นึ กบั
ความเขน้ ขน้ ไฮโดรเจนไอออน H+

คาถาม

ถา้ เลอื ดมีปรมิ าณ H+ มากกวา่ หรอื นอ้ ยกวา่ ปกติจะ
ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของ pH อย่างไร

ร่างกายมนษุ ยม์ แี นวโน้มมคี วามเปน็ กรดหรือ
เบสมากกว่ากัน เพราะเหตใุ ด

ความเข้มข้นของ H+

H H+ + H+ H+

กรด ทั่วไปเลือดมีแนวโน้ม เบส

Acid มีสภาวะเปน็ กรด Base
(pH ต่า) (pH สูง)
เพราะ CO2 เกดิ ข้นึ
และสะสมตลอดเวลา

ในสภาวะปกติ.. เลอื ดมีแนวโน้มเปน็ กรด

ทัว่ ไปเลอื ดมแี นวโนม้ ตอ้ งกาจัด
H+
มสี ภาวะเป็นกรด
(ไฮโดรเจน
เพราะ CO2 เกิดขึน้ ไอออน)
และสะสมตลอดเวลา

การแลกเปลยี่ นแกส๊

การแลกเปลีย่ นแก๊สคาร์บอนไดออกไซดก์ ับแกส๊ ออกซเิ จนเกดิ ขึน้ ท่ี
อวยั วะใด และบรเิ วณใด

นักเรียนทดลองกล้นั หายใจ

เหตใุ ดนกั เรยี นจึงกลน้ั หายใจไม่ได้นาน

นกั เรียนสบื ค้นข้อมลู

เกีย่ วกบั กลไกการควบคุมดลุ ยภาพของกรด-เบสของ
เลือดโดยการทางานของปอด

การหายใจช่วยในการรกั ษาดุลยภาพของกรด-เบสใน
เลอื ดได้อยา่ งไร

การรักษาดลุ ยภาพของความเป็น
กรด – เบสภายในรา่ งกาย

ในคนปกติ pH ในเลือดอยูร่ ะหว่าง 7.35 – 7.45
ถ้า pH ต่ากวา่ 7.35 หมายความว่า เลอื ดของบคุ คลนน้ั เปน็ กรด
ถ้า pH สงู กวา่ 7.45 หมายความว่า เลอื ดของบคุ คลนั้นเปน็ ดา่ ง

Acidosis ปกติ Alkalosis
ต่ากวา่ 7.35 (7.35-7.45) สงู กวา่ 7.45

การรักษาดลุ ยภาพของ
กรด-เบสของเลือด

ปอด ไต

Lungs Kidneys

การรักษาดลุ ยภาพของกรด-เบสของเลอื ด
โดยการทางานของปอด

ควบคมุ การหายใจ

สมองสว่ นเมดัลลา ออบลองกาตา

1 CO2 หรือ H+ สะสมในเลือดมาก
(เลือดเปน็ กรด)

หายใจเร็วและลึกขน้ึ เช่น
หลังออกกาลงั กาย

2 CO2 หรือ H+ สะสมในเลอื ดนอ้ ย
(เลือดเปน็ เบส)

หายใจชา้ ลง

การรกั ษาดลุ ยภาพของกรด-เบสของเลอื ด
โดยการทางานของไต

1 CO2 หรอื H+ สะสมในเลอื ดมาก
(เลือดเปน็ กรด)

หลั่งสารทเ่ี ป็นกรดออกไป
ทางทอ่ หนว่ ยไต

(ขบั ออกไปกับปสั สาวะ)
ไฮโดรเจนไอออน(H+),
แอมโมเนียมไอออน(NH4+)

ดูดกลบั สารท่ีเปน็ เบสเขา้ เลือด

ไฮโดรเจนคาร์บอเนตไอออน(HCO-3),
โซเดียมไอออน(Na+)

“เอากรดออก เอาเบสเขา้ ”

2 CO2 หรอื H+ สะสมในเลือดน้อย
(เลือดเปน็ เบส)

หล่งั สารทเี่ ปน็ เบสออกไป
ทางท่อหน่วยไต

(ขบั ออกไปกับปัสสาวะ)
ไฮโดรเจนคารบ์ อเนตไอออน
(HCO3-), โซเดยี มไอออน(Na+)

ดดู กลับสารทีเ่ ปน็ กรดเขา้ เลอื ด

ไฮโดรเจนไอออน(H+),
แอมโมเนยี มไอออน(NH4+)

“เอาเบสออก เอากรดเข้า”

สรุป

ดุลยภาพของกรด-
เบสของเลอื ด
โดย

ปอด ไต
กาจดั
กาจดั
CO2 NH4+

H+

มาลองทาข้อสอบ
กันหน่อยนะคะ

แบบทดสอบ

ข้อใดแสดงสภาวะของเลือดในคนกอ่ นและหลงั การออกกาลงั กาย

ใหมๆ่ ไม่ถูกต้อง

ค่าทีว่ ดั กอ่ นออก หลังออก
กาลงั กาย กาลงั กาย
1. คา่ pH ของเลือด
2. ความเข้มขน้ ของออกซิเจน(หนว่ ย/ 7.4 7.8
ซม3) 30 20
3. ความเขม้ ข้นของคาร์บอนไดออกไซด์
(หน่วย/ซม3) 60 65
4. ความเขม้ ขน้ ของกรดแลกติก
(หนว่ ย/ซม3) 15 35

แบบทดสอบ

2. การดื่มน้าสม้ เป็นปริมาณมากทาให้เลือดมีสภาวะเปน็ กรดจริง
หรือไมเ่ พราะเหตุใด

1. เป็ นกรดจริง เพราะวิตามินซลี ะลายนา้ ได้
2. เป็ นกรดจริง เพราะนา้ ส้มมรี สเปรีย้ วและมปี ริมาณกรดสูง
3. ไม่เป็ นกรด เพราะเลือดมีสมบตั เิ ป็ นสารละลายบัฟเฟอร์
4. ไมเ่ ป็ นกรด เพราะร่างกายจะไดร้ ับอนั ตรายไดห้ ากเลือดมี
สภาวะเป็ นกรด


                     การรักษาสมดุลของกรด- เบสในมนุษย์

           การควบคุมกรด เบส ในร่างกายทั่วไปนั้นหมายถึง การควบคุมความเข้มข้นของ ไฮโดรเจนอิออนของน้ำในร่างกายหรือเลือดให้มีค่าคงที่ เพื่อให้เหมาะกับการทำงานของเอนไซม์และปฏิกิริยาต่างๆในร่างกาย การที่ของเหลวในร่างกายหรือในเซลล์ จะมีโฮโดรเจนอิออนมากหรือน้อยนั้นเกิดจากการแตกตัวของโฮโดรเจนอิออนจากกรดชนิดต่างๆ ถ้ามีโฮโดรเจนอิออนเข้มข้นมากค่า PH จะต่ำแสดงสภาพเป็นกรด แต่ในทางตรงกันข้ามถ้าของเหลวนั้นมีโฮโดรเจนอิออนเข้มข้นน้อยค่า PH จะสูงแสดงสภาพเป็นเบส ซึ่งสารที่ให้ความเข้มข้นของไฮโดรเจนอิออนต่ำลงได้แก่ สารไฮโดรเจนค่าร์บอเนตอิออน ฟอตเฟตอิออน และไฮดรอกไซด์อิออนหรือนั่นคื่อสารที่ไฮดรอกไซด์อิออนเข้มข้นมากความเข้มข้นของไฮโดเจนอิออนก็จะลดลง   ค่า PH จะมีการเปลี่ยนแปลงเสมอ เพราะปริมาณของสารที่ให้และรับไฮโดรเจนอิออนไม่คงที่เนื่องจากมีการนำสารเข้าหรือนำออกเป็นผลจากปฏิกิริยาภายในเซลล์ เช่น ในการหายใจ กรดที่เกิดจากกระบวนการเมตาโบลิซึมในร่างกายเกิดจาก
       1.กรดจากคาร์บอนไดออกไซด์ซึ่งเป็นผลจากการเผาผลาญต่างๆ การหายใจของเซลล์ ซึ่งร่างกายจะขับออกทางปอด
       2.กรดซัลฟูริก กรดไฮโดรคอลิก และฟอคฟอริค ซึ่งเกิดจากกระบวนการเผาผลาญอาหารพวกโปรตีน กรดพวกนี้จะถูกกำจัดออกทางไต

กลไกการควบคุมกรด เบสในร่างกาย
1. โดยการเปลี่ยนแปลงอัตราการหายใจเพื่อลดหรือเพิ่มคาร์บอนไดออกไซด์
    1.1โดยศูนย์ควบคุมการหายใจที่สมองส่วนเมดัลลาออบลองกาตา
    1.2ซึ่งการหายใจจะช่วยแก้ปัญหาความเป็น กรด เบส ในเลือดได้ 50-70 %
2. ระบบบัฟเฟอร์
    คือระบบที่ช่วยให้สารละลายใดๆที่ทำให้มีค่าความเป็น กรด เบส เกือบคงที่บัฟเฟอร์ที่สำคัญในเลือดได้แก่
    2.1 ระบบบัฟเฟอร์โปรตีน สามส่วนสี่ ของบัฟเฟอร์ทั้งหมด ได้แก่ โปรตีนในพลาสมา ฮีโมโกลบิน
    2.2 บัฟเฟอร์โฮโดรเจนเปอร์มังกาเนต ประกอบด้วยโซเดียมไฮรโดเจนคาร์บอเนต และกรดคาร์บอนิก
    2.3 บัฟเฟอร์ฟอสเฟต ประกอบด้วยฟอสเฟตไอออน
3. การขับ H(ที่เพิ่มขึ้นหรือลดลง)ทางไต
    โดยมีหลักการว่า มีกรดในร่างกายมากขับออกไปพร้อมกับปัสสาวะ ถ้าเป็นเบสในร่างกายมากก็ขับออกพร้อมากับปัสสาวะ