การอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ม. 3

��ٺ�ҹ�͡�ͷ��� ���䫵�ͧ��ٵ������ ��˹�� �����ѧ��§ ���繪�ͧ�ҧ㹡��������� �š����¹ �����ٹ������� ������������ ���ѹ���µ���˵ء�ó���س��� ��黯Ժѵԧҹ㹷ء��鹷��ͧ������� ���ͤ�����ԭ�͡���㹻ѭ�� �����ԭ����˹����ԪҪվ

��纹���͡��Դ����� 5 ���Ҥ� 2548

Email : [email protected]
Tel : 081-3431047

การอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ม. 3
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ม. 3

การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯ from sompoy

ลำดับขั้นการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ

การอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ม. 3


๑.  จำความหมายของคำ  ข้อความ  หรือประโยค
๒.  เข้าใจเนื้อเรื่องที่อ่าน  สรุปมโนทัศน์ของเรื่อง  เรียงลำดับเหตุการณ์  หรือ  เล่าเรื่องได้
๓.  นำเหตุการณ์และถ้อยคำ หรือ ประโยคที่ได้จากการอ่านไปเทียบเคียงหรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน
๔.  วิเคราะห์แยกแยะรายละเอียดของเนื้อเรื่อง  เช่น  บุคลิกภาพของตัวละคร  หรือ ลักษณะพิเศษที่ทำให้เกิดเหตุการณ์สำคัญของเรื่อง
๕.  สังเคราะห์โดยการเปรียบเทียบกับสถานการณ์  คติ  สำนวน  สุภาษิตที่เกี่ยวข้อง
๖.  ประเมินค่า  พิจารณาตัดสินข้อเท็จจริง  หรือข้อคิดเห็น  รวมทั้งคุณค่าเหตุผล  และ  ความประทับใจที่ได้รับจากการอ่าน

ความหมาย
 หมายถึง  การอ่านที่ผู้อ่านนำเอาวิธีคิดอย่างมีวิจารณญาณ  มาใช้ในการรับสารจากการอ่าน ทั้งนี้  เพื่อประเมินสิ่งที่อ่าน และ ตัดสินใจว่าสิ่งที่ผู้เขียนนำเสนอมีเหตุผลน่าเชื่อถือหรือไม่  เพียงใด การอ่านอย่างมีวิจารณญาณเป็นทักษะการอ่านขั้นสูง  ที่ผู้อ่านจำเป็นต้องมีความรู้เกี่ยวกับเรื่องที่อ่านเพื่อเป็นพื้นฐานในการวิเคราะห์วิจารณ์ในขั้นสูงต่อไป  ทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณเป็นสิ่งที่มีความสำคัญ  โดยเฉพาะอย่างยิ่งในโลกของข้อมูลข่าวสารเช่นในปัจจุบัน  ทั้งนี้เพราะจะช่วยให้ผู้อ่านรู้จักวิเคราะห์ ตรวจสอบ และเลือกรับข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ ได้อย่างมีเหตุผล

ลำดับขั้นการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ
๑.  จำความหมายของคำ  ข้อความ  หรือประโยค
๒.  เข้าใจเนื้อเรื่องที่อ่าน  สรุปมโนทัศน์ของเรื่อง  เรียงลำดับเหตุการณ์  หรือ  เล่าเรื่องได้
๓.  นำเหตุการณ์และถ้อยคำ หรือ ประโยคที่ได้จากการอ่านไปเทียบเคียงหรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน
๔.  วิเคราะห์แยกแยะรายละเอียดของเนื้อเรื่อง  เช่น  บุคลิกภาพของตัวละคร  หรือ ลักษณะพิเศษที่ทำให้เกิดเหตุการณ์สำคัญของเรื่อง
๕.  สังเคราะห์โดยการเปรียบเทียบกับสถานการณ์  คติ  สำนวน  สุภาษิตที่เกี่ยวข้อง
๖.  ประเมินค่า  พิจารณาตัดสินข้อเท็จจริง  หรือข้อคิดเห็น  รวมทั้งคุณค่าเหตุผล  และ  ความประทับใจที่ได้รับจากการอ่าน

หลักปฏิบัติในการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ
๑.  นั่งในท่าสบาย  ลำตัวตรง
๒.  กะระยะสายตาห่างจากหนังสือประมาณ  ๑  ฟุต
๓.  ไม่เอียงคอ  หรี่ตา  หรือส่ายหน้าตามบรรทัด
๔.  ไม่ทำปากขมุบขมิบ  หรือออกเสียงขณะอ่าน
๕.  กวาดสายตาตลอดบรรทัด  ไม่มองย้อนกลับ
๖.  ไม่ใช้นิ้วชี้ตามตัวอักษร
๗.  มีสมาธิและปฏิบัติตามลำดับขั้นการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ
การอ่านงานเขียนโดยทั่วไปนั้น   ต้องรู้จักคิด พิจารณาไตร่ตรองให้รอบคอบ การอ่านอย่างมีวิจารณญาณต้องอาศัยการวิเคราะห์เป็นพื้นฐาน ผนวกกับการประเมินค่าเรื่องที่เราอ่านอีกขั้นหนึ่ง คือ สามารถวิจารณ์เรื่องนั้น แสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล วิเคราะห์ถ้อยคำ ประโยค วิเคราะห์ทรรศนะของผู้แต่งและเนื้อหาได้

การอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ม. 3
  
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ม. 3
  
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ม. 3
  
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ม. 3

Advertisement

Share this:

  • Twitter
  • Facebook

Like this:

Like Loading...


การอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ม. 3

“สมศักดิ์ เจียม” อ่านเกม “ทักษิณ” ทะลุหัวใจ หวัง “แลนด์สไลด์” เพื่อ “ต่อรอง” “ศรีสุวรรณ” จ่อร้อง กกต.สอบ “โทนี่” ชี้นำ “เพื่อไทย” ปมค่าแรง 600 “เฉลิม” รีเทิร์น อ้อนขอโอกาสทำงาน แก้ปัญหายาเสพติด 1 ใน 6 ภารกิจด่วน

น่าสนใจเป็นอย่างยิ่ง วันนี้ (12 ธ.ค. 65) เพจเฟซบุ๊ก Somsak Jeamteerasakul ของนายสมศักดิ์ เจียมธีรสกุล โพสต์ข้อความระบุว่า

“แลนด์สไลด์” คืออะไร? ก็คือ กลับไปปี 2554 อีกครั้ง ที่ยิ่งลักษณ์ได้เสียงเกินครึ่งของสภา แล้วหากจัดตั้งรัฐบาลได้ ก็ขึ้นมาจัดการนโยบายต่างๆ หวังให้...ต้องมาต่อรองด้วย (คราวก่อนหวังใช้พี่สาวไม่สำเร็จ) การมีนายกฯเป็นคนของตัวเอง (เศรษฐา, อุ๊งอิ๊ง?) ทำให้ได้คุยกับ...โดยตรง ไม่เช่นนั้น คุยไม่ได้มานานแล้ว”


ขณะเดียวกัน นายศรีสุวรรณ จรรยา เลขาธิการสมาคมองค์การพิทักษ์รัฐธรรมนูญไทย โพสต์เฟซบุ๊กระบุว่า

การอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ม. 3

“วันอังคารที่ 13 ธ.ค. 65 นี้ เวลา 10.00 น. ศรีสุวรรณ จะเดินทางไปยื่นคำร้องต่อ กกต. ณ ศูนย์ราชการฯ อาคาร B กรณี นายโทนี่ ออกมาไลฟ์พูดคุยในกลุ่ม CARE ชี้แจงนโยบายขึ้นค่าแรง 600 บาทของพรรคเพื่อไทย กรณีเช่นนี้อาจเข้าข่ายเป็นการชี้นำ/ครอบงำกิจกรรม หรือนโยบายของพรรคการเมือง ตาม ม.28-29 แห่ง พ.ร.ป.พรรคการเมือง 2560 หรือไม่ พรรคการเมืองที่ปล่อยให้บุคคลอื่นที่มิใช่สมาชิกครอบงำ/ชี้นำ อาจมีความผิดตาม ม.92(3) ถึงขั้น กกต.เสนอศาล รธน.สั่งยุบพรรคนั้นๆ ได้”

การอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ม. 3

ที่น่าสนใจไม่แพ้กัน ร.ต.อ.เฉลิม อยู่บำรุง ที่ปรึกษาคณะกรรมการยุทธศาสตร์และทิศทางการเมืองพรรคเพื่อไทย โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊กส่วนตัว เฉลิม อยู่บำรุง ระบุว่า

กราบเรียนพี่น้องประชาชนโดยเฉพาะผู้ที่เป็นแฟนทางการเมือง ของ ร้อยตำรวจเอก ดร.เฉลิม อยู่บำรุง

วันนี้ ผมมีความรู้สึกคิดถึงพี่น้อง จึงอยากจะส่งข้อความที่ไม่ยาวนัก มาให้พี่น้องได้อ่าน และ ต้องขอโทษแฟนคลับทั้งหลาย ที่ผมห่างหายไปนาน แต่จิตใจยังระลึกและคิดถึงพวกท่านเสมอ ปัจจุบัน พรรคการเมืองคึกคัก ออกนโยบาย ไม่เว้นแต่ละชั่วโมง บางพรรค ต้องการคะแนนนิยม คิดได้แม้กระทั่ง ให้กัญชาพ้นจากวงจรยาเสพติด ผมไม่ใช่นักเรียนนอก แต่ ผมปราบยาเสพติดมาตั้งแต่เป็น นายตำรวจกองปราบ ผมยังยืนยันว่า “กัญชา” ยังต้องเป็นยาเสพติด ไม่ใช่ผมคนเดียว สมาชิกกลุ่มอาเซียนทุกประเทศด้วย

ในประเทศไทย มีความขัดแย้งทางความคิด ส่วนตัว ผมขอขีดเส้นใต้ว่า ผมไม่เห็นด้วย การเมืองเล่นกันนอกระบบมากเกินไป นักการเมืองอย่าหลงระเริง ว่า “8 ปี จะไม่มีการกลับมาอีกครั้งหนึ่ง”

ผมคิดว่า หากมีโอกาสทำงานให้บ้านเมืองอีกครั้งหนึ่ง ผมมีภารกิจที่จะต้องปฏิบัติโดยเร่งด่วน ดังนี้!

1. การแก้ไขปัญหายาเสพติด

2. การลดปัญหาความยากจน และความเหลื่อมล้ำ

3. การแก้ไขปัญหาทุจริต คอร์รัปชันในระบบราชการ

4. การรับมือต่อโรคติดต่ออุบัติใหม่ โรคอุบัติซ้ำ

5. การรับมือต่อสังคมสูงวัย

6. การส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์

ที่กระผมเรียนมาทั้งหมด 6 ประการ ส่วนหนึ่ง

ขอเก็บเอาไว้เพื่อที่จะได้แสดงความเห็นให้ท่านได้รับทราบในโอกาสต่อไป

ผมรักเคารพพี่น้องและ ขอส่งความปรารถนาดี มายังทุกท่าน ขอให้มีความสุข

ขอความกรุณาให้ท่านติดตาม “เฉลิม กลับมาแล้ว”

แน่นอน, ประเด็นที่น่าสนใจ ก็คือ เกมการเมืองในช่วงที่พรรคการเมืองต่างๆ เตรียมความพร้อมในการรณรงค์หาเสียงเลือกตั้ง ก่อนที่จะมีการ “ยุบสภา” ตามที่มีกระแสข่าว หรือไม่ รัฐบาลอาจอยู่จนครบเทอม?

แต่ไม่ว่าจะ “ยุบสภา” หรือ อยู่จนครบเทอม ก็ไม่ต่างกันมากนัก เพราะอายุของสภาชุดนี้ใกล้จะหมดวาระแล้ว และถึงอย่างไร ในช่วงต้นปี 2566 ก็จะต้องมีการเลือกตั้งใหม่อย่างแน่นอน

ดังนั้น “ความดุเดือด” ในการแสดงความคิดเห็นทางการเมือง การโจมตีทางการเมือง หรือแม้แต่การจับไต๋ “อ่านเกม” ทางการเมือง ชนิดรู้ใจรู้ทันทุกย่างก้าวเดินเกม จึงเป็นไปอย่างร้อนแรงตามไปด้วย

แต่สุดท้าย “ประชาชน” คือ ผู้ตัดสิน ผ่านวิจารณญาณของตัวเอง ด้วยเหตุด้วยผล ด้วยความชอบ ไม่ชอบเป็นการส่วนตัว ก็แล้วแต่ แต่สุดท้ายผลสะท้อน ก็คือ “ระบอบประชาธิปไตย” นั่นเอง



  • นายศรีสุวรรณ จรรยา
  • เพื่อไทย
  • กกต.
  • แลนด์สไลด์
  • โทนี่
  • ชี้นำเพื่อไทย
  • ร.ต.อ.เฉลิม อยู่บำรุง
  • ทักษิณ
  • นายสมศักดิ์ เจียมธีรสกุล