แบบทดสอบสมรรถภาพทางกาย ประถม

แบบทดสอบสมรรถภาพทางกาย ประถม

5 แบบทดสอบสมรรถภาพทางกาย มาตรฐานนานาชาติ (ICSPFT)

   แบบทดสอบสมรรถภาพทางกายที่นิยมทรายและเป็นที่ยอมรับจากประเทศต่างๆ  ทั่วโลกว่าเป็นแบบทดสอบที่เหมาะสำหรับผู้สนใจทั่วไปและสามารถทดสอบได้ด้วยตนเองคือ แบบทดสอบสมรรถภาพทางกายมาตรฐานนานาชาติได้ชื่อย่อว่า ICSPFT (lnternational Committee Standard of Physical Fitness Test) ใช้วัดสมรรถภาพทางกายโดยทั่วไปประกอบด้วยทดสอบย่อย 8 รายการได้แก่

วิ่งเร็ว 50 เมตร (50 Meter Sprint)

ยืนกระโดดไกล

แรงบีบมือ ( Grip Strength)

ลุก-นั่ง 30 วินาที ( 30 Second Sit-up)

ดึงข้อ  งอแขนห้อยตัว

วิ่งเก็บของ ( Shuttle Run)

นั่งงอตัวไปข้างหน้า ( Trunk Forward Flexion)

วิ่งระยะไกล ( Distance Run) แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ

วิ่ง 1,000 เมตร สำหรับชายอายุ 12 ปีขึ้นไป

วิ่ง 800 เมตร สำหรับหญิงอายุ 12 ปีขึ้นไป

วิ่ง 600 เมตร ทั้งชายและหญิงที่อายุต่ำกว่า 12 ปี

5.1 วิ่งเร็ว 50 เมตร

  เมื่อผู้ปล่อยตัวให้สัญญาณ “เข้าที่” ให้พูดทดสอบยืนให้ปลายเท้าข้างในข้างหนึ่งชิดเส้น(ไม่ต้องย่อตัวถ้าออกวิ่ง) เมื่อได้ยินหรือเห็นสัญญาณปล่อยตัวให้ผู้เข้าทดสอบวิ่งเร็วที่สุดจนผ่านเส้นชัยขวัญให้ทดสอบ2ครั้ง

  ผู้จับเวลา1คน อาจจับเวลาทีเดียว 2 คนได้โดยใช้นาฬิกาจับเวลา 2 เรือนมือละข้างหรือนาฬิกาจับเวลาที่มีเข็มแยกเวลา บันทึกเวลาเป็นวินาทีทศนิยม1ตำแหน่ง(ตำแหน่งแรกของเศษวินาที) บันทึกเวลาที่ดีที่สุดจากการทดสอบสองครั้งดูคะแนนจากตารางที่ 2.1 

  

แบบทดสอบสมรรถภาพทางกาย ประถม

รูปที่2.3 วิ่งเร็ว50เมตร เพื่อวัดความเร็ว

(ที่มา:http://www.cadetcentre.com/main/jupgrade/index.php/pt)

ตารางที่ 2.1 คะแนนวิ่งเร็ว 50 เมตรร

รูปที่2.3 วิ่งเร็ว50เมตร เพื่อวัดความเร็ว

(ที่มา:http://www.cadetcentre.com/main/jupgrade/index.php/pt)

5.2 ยืนกระโดดไกล

  ผู้จัดลำดับเข้าทดสอบอธิบายวิธีการกระโดดให้ผู้เข้าทดสอบยืนปลายเท้าทั้งสองชิดเส้นเริ่มซ้อมเวียนเทียนทั้งสองไปข้างหน้าพร้อมกับก้มตัว เมื่อได้จังหวะเรียนเขียนไปข้างหน้าอย่างแรง พร้อมกับกระโดดด้วยเท้าทั้งสองไปข้างหน้าให้ไกลที่สุดระยะโดยใช้ไม้ T จากจุดที่ส้นเท้าลงบนพื้นแล้วเริ่มถ้าผู้เข้าทดสอบเสียหลักไงหลังก้นหรือมือแตะพื้นให้ทดสอบใหม่

   บันทึกระยะทางที่ทำได้เป็นเซนติเมตร เอาระยะที่ไกลที่สุดจากการทดสอบ 2 ครั้ง ดูคะแนนจากตารางที่ 2.2

  

แบบทดสอบสมรรถภาพทางกาย ประถม

 รูปกระโดดไกลเพื่อวัดกำลังกล้ามเนื้อขา 2.4

(ที่มา:http://www.cadetcentre.com/afap/เทคนิคการทำคะแนนสอบพลศึกษา.html)

ตารางที่  2.2 คะแนนยืนกระโดดไกล

5.3 แรงบีบของมือ

  ให้ผู้ทดสอบใช้มือ ถูกหรือสัมผัสผง Magnesium เพื่อการเลื่อนแล้วจับเมื่อวัดให้เหมาะที่สุดโดยใช้นิ้วมือข้อที่สองรับน้ำหนักของเครื่องมือวัดยืนตรง รปล่อยแขนห้อยข้างลำตัว ห่างลำตัวเล็กน้อยพร้อมให้ออกแรงบีบมือจนสุดแรงระวังบีบข้อมือห้า ให้เบื่อหรือเครื่องวัดถูกส่วนใดของร่างกายและห้ามเวียงเครื่องมือหรือนมลำตัวเพื่อช่วยออกแรงบีบทำการทดสอบข้อมือทั้งสองข้างข้างละสองครั้งบันทึกครั้งที่ทำให้ได้มากที่สุดของแต่ละข้างไว้ดูจาก ตารางที่ 2.3

   

แบบทดสอบสมรรถภาพทางกาย ประถม

รูปที่ 2.5 แรงบีบมือเพื่อวัดกำลังกล้ามเนื้อมือและแขน

4.5 ลุกนั่งใน 30 วินาที 

  จัดผู้รับการทดสอบเป็นคู่ ให้ผู้รับการทดสอบคนแรกนอนหงายบนเบาะเข่างอตั้งเป็นมุมฉากเท้าแยกห่างกันประมาณ 30 ซม. ประสานนิ้วมือรองเท้าทอยไว้ ผู้ทดสอบผู้ที่2 คุกเข่าที่ปลายเท้าของผู้รับการทดสอบ (หันหน้าเข้าหากัน) มือทั้งสองกำและกดข้อเท้าของผู้รับการทดสอบไว้ ให้หลังติดพื้นเมื่อให้สัญญาณบอก "เริ่ม" พร้อมกับจับเวลา ผู้เข้าทดสอบลุกนั่งแล้วกรมศรีษะลงไประวังหัวเขาทั้งสองแล้วก๊อปลงนอนในท่าเดิมจนนิ้วมือจรดเบาะจึงกลับลุกขึ้นใหม่ทำเช่นนี้ติดต่อกันไปอย่างรวดเร็วให้ได้จำนวนมากที่สุดภายใน 30 วินาที

การบันทึก:  บันทึกจำนวนครั้งที่ทำถูกต้องใน 30 วินาที

 

รูปที่  การทดสอบสมรรถภาพร่างกายด้วยการลุกนั่ง

(ที่มา:http://www.cadetcentre.com/afap/เทคนิคการทำคะแนนสอบพลศึกษา.html)

5.5 ดึงข้อ บอแขนห้อยตัว

  1.สำหรับชายอายุ12 ปีขึ้นไป ผู้จัดและนับจำนวนครั้งจัดระดับราวเดี่ยวให้สูงพอเหมาะสม เมื่อผู้รับการทดสอบห้อยตัวจนสุดแล้วเท้าไม่ถึงพื้น ให้ผู้รับการทดสอบขึ้นยืนบนม้ารอง จับราวในท่าคว่ำมือห่างกันเท่าช่วงไหล่ เอาม้ารองออกแล้วให้รับการทดสอบปล่อยตัวจนแขน ลำตัวและขาเหยียดตรงเป็นท่าตั้งต้น ออกแรงงอแขนดึงตัวขึ้นจนคางพ้นราว แล้วหย่อนตัวลงกลับมาในท่าตั้งต้น งอแขนดึงตัวขึ้นมาใหม่ ทำให้ได้มากครั้งที่สุด ห้ามแกว่งเท้าหรือเตะขา ถ้าหยุดพักระหว่างครั้งนานเกินกว่า 3-4 วินาที หรือไม่สามารถดึงขึ้นให้คางพ้นราวได้ 2 ครั้งติดกัน ให้ยุติการทดสอบ

การบันทึก บันทึกจำนวนครั้งที่ดึงขึ้นได้อย่างถูกต้องและคางพ้นราว

ระเบียบการทดสอบ   ถ้าผู้รับการทดสอบหยุดพักนานเกินไป หรือไม่สามารถดึงข้อมือให้คางพ้นราวติดกัน 2 ครั้ง ให้ยุติการทดสอบ

  2.งอแขนห้อยตัว สำหรับชายอายุต่ำกว่า 12 ปีและหญิงจัดหมารองเท้าใกล้ราวเดียวให้สูงพอที่เมื่อผู้เข้าทดสอบยิงตรงม้า คางจะอยู่เหนือราวเล็กน้อย ให้จับเราด้วยถ้าถ้าความมือมือห่างกันเท่าช่วงรายและแขนงเต็มที่เมื่อให้สัญญาณเริ่ม(พร้อมกับเอาม้าออก) ให้พูดทดสอบต้องเก่งข้อแขนและดึงตัวไว้ในท่าเดิมให้นานที่สุดถ้าคาร์ลต่ำลงถึงราวให้ยุตติการทดสอบ

บันทึก:  เป็นวินาทีจาก “เริ่ม” ดูจากคะแนนตารางที่ 2.5

แบบทดสอบสมรรถภาพทางกาย ประถม

แบบทดสอบสมรรถภาพทางกาย ประถม

วางไม้ทั้งสองท่อนกลางวง (ห่างกันประมาณ 20 ซม.) ที่ชิดเส้นตรงข้ามเส้นเริ่ม ผู้รับการทดสอบยืนให้เท้าข้างใดข้างหนึ่งชิดเส้นเริ่ม เมื่อพร้อมแล้วผู้ปล่อยตัวส่ง “ไป” ให้ผู้รับการทดสอบวิ่งไปหยิบท่อนไม้ในวงกลม 1 ท่อน วิ่งกลับมาวางไว้ในวงกลมหลังเส้นเริ่ม กลับตัววิ่งไปหยิบท่อนไม้อีกท่อนหนึ่ง แล้ววิ่งกลับมาวางในวงกลมหลังเส้นเริ่มแล้ววิ่งเลยไป ห้ามโยนท่อนไม้ ถ้าวางไม่เข้าในวงต้องเริ่มใหม่

บันทึก:เวลาตั้งแต่ “ไป” จนถึงวางท่อนไม้ท่อนที่ 2 ครั้งดูคะแนนจากจากตารางที่ 2.6

แบบทดสอบสมรรถภาพทางกาย ประถม

แบบทดสอบสมรรถภาพทางกาย ประถม

รูปที่  วิ่งเก็บของเพื่อความเร็วและความคล่องแคล่วว่องไว

5.7 นั่งงอตัว/งอตัวไปข้างหน้า 

ให้ผู้รับการทดสอบถอดรองเท้า นั่งเหยียดขาตรงสอดเท้าเข้าใต้ม้าวัดโดยเท้าทั้งสองตั้งฉากกับพื้นและชิดกัน ฝ่าเท้าจรดแนบกับที่ยันเท้า เหยียดแขนตรงขนานกับพื้นแล้วค่อย ๆ ก้มตัวไปข้างหน้าให้มืออยู่บนม้าวัด จนไม่สามารถก้มตัวได้ต่อไป ให้ปลายนิ้วมือเสมอกัน และรักษาระยะทางไว้ได้ 2 วินาทีขึ้นไป อ่านระยะจากจุด “0” ถึงปลายมือ (ห้ามโยกตัวหรืองอตัวแรง ๆ)

การบันทึก       

บันทึก:ระยะเป็นเซนติเมตร ถ้าปลายนิ้วเลยปลายเท้าบันทึกค่าเป็น + ถ้าไม่ถึงปลายเท้าค่าเป็น – ใช้ค่าที่ดีกว่าจากการทดสอบ 2 ครั้ง ดูคะแนนจากตารางที่ 2.7

แบบทดสอบสมรรถภาพทางกาย ประถม

แบบทดสอบสมรรถภาพทางกาย ประถม

รูปที่  การทดสอบ นั่งงอตัว

(ที่มา: http://www.cadetcentre.com/afap/เทคนิคการทำคะแนนสอบพลศึกษา.html)

5.8 วิงระยะไกล (1,000เมตร 800 เมตร)

  ชายอายุ 12 ปีขึ้นไป 1,000 เมตร

  หญิงอายุ 12 ปีขึ้นไป 800 เมตร

ให้สัญญาณ “เข้าที่” ผู้รับการทดสอบยืนปลายเท้าข้างใดข้างหนึ่งชิดเส้นเริ่มเมื่อให้สัญญาณ “ไป” ให้ออกวิ่งไปตามเส้นทางที่กำหนด พยายามใช้เวลาน้อยที่สุด และควรรักษาความเร็วให้คงที่ ถ้าไปไม่ไหวอาจหยุดเดินแล้ววิ่งต่อไปจนครบระยะทางผู้จับเวลาจะขานเวลาผู้ที่วิ่งถึงเส้นชัยทีละคน ให้ผู้บันทึกเวลาบันทึกไว้ ผู้ช่วยผู้บันทึกจะจดหมายเลขผู้รับการทดสอบที่เข้าถึงสั้นชัยเรียงตามลำดับ