แนวคิดการออกกําลังกาย FITT มีกี่ข้อ

มันจบแล้ว. ในช่วงครึ่งทศวรรษที่ผ่านมา พวกเราได้มีความสุขกับยุคทองของความบันเทิง การเกิดขึ้นของบริการสตรีมมิ่งทำให้ทีวีและภาพยนตร์สามารถเข้าถึงได้มากขึ้นกว่าที่เคยเป็นมา เป็นทั้งเรื่องที่ดีและบางครั้งก็น่าเบื่อ ที่ต้องติดตามรายการใหม่ๆ ของทั้ง Netflix, HBO Max, Disney Plus และรายการอื่นๆ แต่ในช่วง 2-3 เดือนที่ผ่านมา เราได้เห็นการปรับทิศทางใหม่เกี่ยวกับจำนวนบริการเหล่านี้ในการทำธุรกิจ และเป็นที่ชัดเจนว่าเนื้อหาจำนวนมากที่เราเคยเพลิดเพลินในราคาถูก ๆ หลักร้อย เพียงแค่การสมัครสมาชิกรายเดือนกำลังจะสิ้นสุดลง พวกเราบางคนจะรู้สึกเจ็บปวดจากสิ่งนั้นมากกว่าคนอื่นๆ เลือกฟังกันได้เลยนะครับ อย่าลืมกด Follow ติดตาม PodCast ช่อง Geek Forever’s Podcast ของผมกันด้วยนะครับ 🎧 ฟังผ่าน Podbean : https://bit.ly/3GBTbQU 🎧 ฟังผ่าน Apple Podcast : https://bit.ly/3X19trH 🎧 ฟังผ่าน Google Podcast : https://bit.ly/3VBxKUc 🎧 ฟังผ่าน Spotify : https://bit.ly/3IjjtbK 🎧 ฟังผ่าน Youtube : https://youtu.be/muFiSlK7sJk The original article appeared here https://www.tharadhol.com/geek-story-ep158-streaming-wars-end/ References Image : https://www.theverge.com/2022/12/14/23507793/streaming-wars-hbo-max-netflix-ads-residuals-warrior-nun ========================= ร่วมสนับสนุน ด.ดล Blog และ Geek Forever Podcast เพื่อให้เรามีกำลังใจในการผลิต Content ดี ๆ ให้กับท่าน https://www.tharadhol.com/become-a-supporter/ ——————————————– ติดตาม ด.ดล Blog ผ่าน Line OA เพียงคลิก : https://lin.ee/aMEkyNA ——————————————– ไม่พลาดข่าวสารผ่านทาง Email จาก ด.ดล Blog : https://www.getrevue.co/profile/tharadhol ——————————————– Geek Forever Club พื้นที่ของการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร ความรู้ ด้านธุรกิจ เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ ใหม่ ๆ ที่น่าสนใจ https://www.facebook.com/groups/geek.forever.club/ ========================= ช่องทางติดตาม ด.ดล Blog เพิ่มเติมได้ที่ Fanpage : www.facebook.com/tharadhol.blog Blockdit : www.blockdit.com/tharadhol.blog Twitter : www.twitter.com/tharadhol Instragram : instragram.com/tharadhol TikTok : tiktok.com/@geek.forever Youtube : www.youtube.com/c/mrtharadhol Linkedin : www.linkedin.com/in/tharadhol Website : www.tharadhol.com

                    "สิ่งสำคัญควรมีช่วงอบอุ่นร่างกาย (warm up) เพื่อเตรียมก่อนออก และช่วงชะลอ (cool down) เพื่อเตรียมหยุด และควรเพิ่มระดับความท้าทายอย่างค่อยเป็นค่อยไป และคอยสังเกตอาการผิดปกติอยู่เสมอ ย้ำว่าการออกกำลังกายไม่จำเป็นต้องอยู่ในระดับหนัก แต่ควรมีกิจกรรมทางกายหรือการเคลื่อนไหวอย่างเหมาะสม เช่น ทำงานบ้าน การเดิน หรือการปั่นจักรยานให้ได้ถึงระดับที่เหนื่อยพอพูดเป็นประโยคสั้นๆ ได้รวมอย่างน้อยสัปดาห์ละ 150 นาที ก็มีประโยชน์ต่อร่างกายได้เช่นกัน” รองอธิบดีกรมอนามัย กล่าว

การออกกำลังกายทำได้ทุกวัยตั้งแต่วัยเด็ก วัยรุ่น วัยทำงาน จนถึงวัยผู้สูงอายุ ในกลุ่มผู้สูงอายุบางคนกลัวการออกกำลังกาย กลัวว่าร่างกายเราจะรับไม่ไหว ใช่ครับบางกลุ่มรับไม่ไหวจริงๆเนื่องจากโรคประจำตัวและด้วยเหตุผลทางด้านร่างกายและด้านจิตใจต่างๆ

การออกกำลังกายในผู้สูงอายุสามารถทำได้ แต่ต้องไม่หนักจนเกินไป ทางที่ดีควรปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญก่อนที่จะเริ่มออกกำลังกายอย่างจริงจังดีกว่า

ข่าวจาก ผู้จัดการออนไลน์ วันที่ 11 พ.ย. 2562 ได้เล่าข่าวว่า นพ. อรรถพล แก้วสัมฤทธิ์ รองอธิบดีกรมอนามัย พูดถึง ชายอายุ 60 ปีที่เสียชีวิตภายในฟิสเนส เพราะยกน้ำหนักถึง 120 กิโลกรัมซึ่งเกินกว่าที่ตัวเองจะรับไหว ด้วยเหตุนี้ทำให้ผู้สูงอายุต่างกลัวว่าการออกกำลังกายทำให้เสี่ยงต่อการเสียชีวิต ทำให้เมื่อสูงอายุแล้วจะเลิกที่จะออกกำลังกาย อย่าเลิกนะครับ การออกกำลังกายของผู้สูงอายุสามารถทำได้และจะยิ่งเพิ่มให้ร่างกายเราแข็งแรงมากขึ้นอีกด้วย แต่! เราต้องดูโรคประจำตัวของเราก่อนว่า มีโรคประจำตัวหรือไม่ หากมีโรคประจำตัวเช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ อาจมีผลต่อด้านหัวใจและหลอดเลือด ถ้ามีโรคประจำตัวที่กล่าวมานี้หรือมีมากกว่านี้ ควรปรึกษาแพทย์ก่อนดีกว่าครับ หลังจากปรึกษาแพทย์แล้ว เมื่อเริ่มออกกำลังกายจริง ถ้ามีอาการจุกแน่นน่าอก หน้ามืด เป็นลม ใจสั่น หมดสติ หากพบอาการที่ว่ามานี้ให้หยุดออกกำลังกายทันที

แนวคิดการออกกําลังกาย FITT มีกี่ข้อ

นพ. อรรถพล แก้วสัมฤทธิ์ (ข่าวจาก ผู้จัดการออนไลน์ วันที่ 11 พ.ย. 2562) ได้กล่าวว่า หลักการออกกำลังกายที่ชื่อว่า “FITT” เป็นแนวทางการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพที่ดี

แล้ว FITT คืออะไร?

  1. F – Frequency คือ ความถี่ในการออกกำลังกาย 3 -5 ครั้งต่อสัปดาห์ หรือวันเว้นวัน
  2. I – Intensity คือ ความหนักในการออกกำลังกาย หมายถึง การออกกำลังกายที่ร่างกายรับไหวเราจะรู้ตัวเราเอง แต่จะเน้นไปที่การออกกำลังกายแบบต่อเนื่อง เช่น เดิน วิ่ง ปั่นจักรยาน ส่วนการออกกำลังกายที่เกี่ยวกับ การยกน้ำหนัก ควรออกแค่พอตึงกล้ามเนื้อไม่หักโหมเกินกำลัง และต้องหายใจอย่างถูกต้องโดยที่ เมื่อเราออกแรงอย่ากลั้นหายใจ ให้หายใจปกติ
  3. T – Time คือ ระยะเวลาในการออกกำลังกายแบบต่อเนื่อง หรือเรียกว่า การคาร์ดิโอ ในแต่และครั้งควรรใช้เวลา 10-30 นาที หรืออาจจะมากกว่านี้ก็ได้ถ้าร่างกายชินกับการอออกกำลังกายแล้ว
  4. T – Type คือ ชนิดการออกกำลังกาย โดยแบ่งเป็น 3 ชนิดคือ ชนิดแรกคือการคาร์ดิโอ การเดิน การวิ่ง การปั่นจักรยาน ชนิดที่สองคือการยกน้ำหนักหรือบอดี้เวท ชนิดที่สาม คือการยืดเหยียดเพื่อบรรเทาออกการปวดเมื่อยตามร่างกาย

แนวคิดการออกกําลังกาย FITT มีกี่ข้อ

ในการออกกำลังกายด้วยหลักการ FITT สิ่งที่สำคัญที่สุดคือการอบอุ่นร่างกายก่อนออกกำลังกายทุกครั้ง อาจเป็นการยืดเหยียดเพื่ออบอุ่นร่างกายเพื่อลดอาการตึงกล้ามเนื้อหลังออกกำลังกาย และการออกกำลังการไม่จำเป็นต้องอยู่ในระดับที่หนัก ออกกำลังกายที่เหมาะสมตามกำลังของตนเอง เพียงเท่านี้เราทุกคนก็จะมีสุขภาพที่ดี คุณภาพชีวิตที่ดี และมีความสุขกับการใช้ชีวิตแล้วครับ

การออกกําลังกายตามหลักของ FITT มีอะไรบ้าง

F = ออกกำลังกายสัปดาห์ละ 3 วัน คือ จันทร์ พุธ และศุกร์ I = ใช้ความหนักในการออกกำลังกาย 50-60% ของอัตราการเต้นของหัวใจสูงสุด T = ใช้เวลาในการออกกำลังกาย 30 นาที T = ออกกำลังกายโดยใช้การเดินเร็วในสวนสาธารณะ

การออกกําลังกายมีกี่ประเภท อะไรบ้าง

4 ประเภทของการออกกำลังกาย.
การออกกำลังกายแบบแอโรบิก (Aerobic Exercise) หรือการฝึกความทนทาน (Endurance Exercise).
การฝึกความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ (Strength Training).
การยืดเหยียดกล้ามเนื้อ (Stretching).
การฝึกการทรงตัว (Balance exercise).

ปัจจัยที่มีผลต่อการออกกําลังกาย มีกี่ด้าน

1. ตัวแปรอิสระ ได้แก่ 1.1 ปัจจัยด้านชีวสังคม ได้แก่เพศ อายุ 1.2 ปัจจัยนํา ได้แก่ ด้านการรับรู้ประโยชน์ต่อการออกกําลังกาย และการรับรู้อุปสรรคต่อการ ออกกําลังกาย 1.3 ปัจจัยเอื้อ ได้แก่ด้านสถานที่ด้านอุปกรณ์กีฬา และด้านเวลา 1.4 ปัจจัยเสริม ได้แก่ด้านการสนับสนุนจากคนในครอบครัว 2. ตัวแปรตามได้แก่พฤติกรรมการออกกําลังกายของ ...

ขั้นตอนของการออกกําลังกายมีกี่ขั้นตอน อะไรบ้าง

ขั้นตอนการออกกำลังกาย การออกกำลังกายแต่ละครั้งประกอบด้วย 4 ขั้นตอน.
การเหยียดและยืดกล้ามเนื้อ (stretching exercise).
การอุ่นร่างกาย (warm up).
การออกกำลังกายต่อเนื่อง เช่น เดินเร็ว วิ่งเหยาะ ว่ายน้ำ ปั่นจักยาน รำมวยจีน กายบริหาร.
การผ่อนร่างกายให้เย็นลง (cool down).