หน่วยงานที่คุ้มครองผู้บริโภค มีอะไรบ้าง

“หน่วยงานประจำจังหวัด” ตามความหมายในระเบียบสภาองค์กรของผู้บริโภค ฉบับที่ 4 ว่าด้วยการจัดตั้งหน่วยงานประจำจังหวัด กลไกเขตพื้นที่ สมาชิก และองค์กรของผู้บริโภคของสภาองค์กรของผู้บริโภค พ.ศ.2562 หมายความว่า สมาชิกที่ได้รับการจัดตั้งขึ้น โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการให้เป็นหน่วยงานประจำจังหวัด ซึ่งถูกกำหนดไว้ใน มาตรา 12 (4) แห่งพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) การจัดตั้งสภาองค์กรของผู้บริโภค พ.ศ.2562 ว่า โครงสร้างขององค์กรซึ่งอย่างน้อยต้องมีสำนักงานสภาองค์กรของผู้บริโภคและหน่วยงานประจำจังหวัด ซึ่งอาจมีทุกจังหวัดหรือบางจังหวัดตามที่เห็นสมควร ตลอดทั้งวิธีการบริหารงานของสำนักงานสภาองค์กรของผู้บริโภค ซึ่งอย่างน้อยต้องมีเลขาธิการสำนักงานสภาองค์กรของผู้บริโภคเป็นหัวหน้าสำนักงาน และวิธีการบริหารงานในหน่วยงานประจำจังหวัด รวมตลอดทั้งผู้มีอำนาจกระทำการแทนสภาองค์กรของผู้บริโภค

“หน่วยงานประจำจังหวัด” ก่อเกิดมาพร้อมกับการมี “สภาองค์กรของผู้บริโภค” หรือ สอบ. ซึ่งเป็นโครงสร้างสำคัญของ สอบ. เป็นนวัตกรรมของระบบการคุ้มครองผู้บริโภคที่มีหน่วยงานประจำจังหวัดกระจายอยู่ในจังหวัดต่าง ๆ เพื่อเป็นตัวแทนของผู้บริโภคทุกด้าน สามารถดำเนินงานคุ้มครองและพิทักษ์สิทธิผู้บริโภคได้อย่างรวดเร็ว เท่าทันสถานการณ์ และความต้องการ

หน่วยงานที่คุ้มครองผู้บริโภค มีอะไรบ้าง

บทบาทหน้าที่ของหน่วยงานประจำจังหวัด

(1) เสนอแนะนโยบายเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคต่อหน่วยของรัฐในระดับจังหวัด 
(2) สนับสนุนและดำเนินการตรวจสอบ ติดตาม เฝ้าระวังสถานการณ์ปัญหาสินค้าและบริการ แจ้งหรือโฆษณาข่าวสาร เตือนภัยเกี่ยวกับสินค้าหรือบริการที่อาจกระทบต่อสิทธิของผู้บริโภค อาจก่อให้เกิดความเสียหาย หรือเกิดความเสื่อมเสียแก่ผู้บริโภคในระดับจังหวัด โดยจะระบุชื่อสินค้า บริการ หรือชื่อของผู้ประกอบธุรกิจด้วยก็ได้ (3) รายงานการกระทำหรือการละเลยการกระทำ อันมีผลกระทบต่อสิทธิของผู้บริโภคไปยังหน่วยงานของรัฐ หรือหน่วยงานอื่นที่รับผิดชอบในระดับจังหวัด และเผยแพร่ให้ประชาชนทราบ (4) สนับสนุนการรวมตัวและช่วยเหลือองค์กรของผู้บริโภคภายในจังหวัด เพื่อรักษาประโยชน์ของผู้บริโภค(5) ร่วมกับสมาชิกและองค์กรของผู้บริโภคอื่นในจังหวัด “จัดให้มีสภาจังหวัด” โดยให้หน่วยงานประจำจังหวัดทำหน้าที่เป็นเลขานุการ (6) รับเรื่องร้องเรียน ไกล่เกลี่ยหรือประนีประนอมยอมความข้อพิพาทเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิของผู้บริโภค(7) ดำเนินคดีในนามของสภาได้ เมื่อได้รับความเห็นชอบจากที่ประชุมสภาจังหวัด ตามที่กำหนดในหมวดว่าด้วยการฟ้องคดี เว้นแต่หน่วยงานประจำจังหวัดนั้น เป็นองค์กรที่ได้รับการแต่งตั้งโดยคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค ให้ดำเนินคดีแทนผู้บริโภคได้(8) จัดทำแผนการปฏิบัติงานและแผนงบประมาณรายปี และราย 6 เดือน(9) จัดทำรายงานผลการปฏิบัติงานเสนอต่อสำนักงานเป็นประจำทุก 6 เดือน โดยอย่างน้อยรายงานต้องมีเนื้อหาครอบคลุมผลงานที่เป็นความสำเร็จ ปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะ (10) ดำเนินการใช้จ่ายงบประมาณและจัดทำรายงานการเงินและบัญชีให้เป็นไปตามระเบียบ สอบ.ว่าด้วยการงบประมาณ การบัญชี การเงิน และการสอบบัญชีของ สอบ. และ(11) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่คณะกรรมการมอบหมาย 

ปัจจุบัน (ข้อมูลวันที่ 25 มีนาคม 2565) สอบ.แต่งตั้งองค์กรสมาชิก ยกระดับขึ้นเป็นหน่วยงานประจำจังหวัด ทำหน้าที่คุ้มครองและพิทักษ์สิทธิของผู้บริโภคในจังหวัด รับเรื่องร้องเรียน ไกล่เกลี่ย หรือประนีประนอมยอมความข้อพิพาทเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิของผู้บริโภค และสามารถดำเนินคดีในนามของสภาฯ ได้ตลอดจนดำเนินการอื่นใดตามที่ สอบ.กำหนด จำนวน 13 หน่วย ประกอบด้วย

                ยังมีรายละเอียดเกี่ยวกับกระบวนวิธีพิจารณาในศาล ซึ่งเป็นประโยชน์และสร้างความเป็นธรรม รวมทั้งมีแต้มต่อให้กับ ผู้บริโภคอีกหลายประเด็น แต่อย่างไรก็ตามเจตนารมณ์ เบื้องต้นของศาลผู้บริโภค จะดำเนินการไกล่เกลี่ยให้คู่ความได้ตกลงกัน หรือ ประนีประนอม ยอมความเป็นสำคัญ แต่ขอย้ำต่อจากนี้ไปผู้ประกอบการธุรกิจจะถูกผู้บริโภคฟ้องง่ายขึ้น และมากขึ้น ทั้งเป็นเรื่องใหม่ต่อ ศาลที่จะต้องรับภาระคดีพิพาทระหว่างผู้ประกอบการธุรกิจ และผู้บริโภค อย่างไรก็ตาม หากผู้ประกอบการธุรกิจมีความรับ ผิดชอบต่อ สินค้า หรือการให้บริการ มีความสุจริตจริงใจไม่ค้ากำไรเกินควร ก็ไม่ต้องกลัวว่าจะต้องขึ้น “ศาลผู้บริโภค” แต่อย่างไร

          1. สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองสิทธิผู้บริโภค (สคบ.) มีหน้าที่คุ้มครองประโยชน์ของประชาชน ที่มีปัญหาจากการอุปโภคและ บริโภค ส่งเสริมคุ้มครองสิทธิและผลประโยชน์ของผู้บริโภคที่ได้รับเกี่ยวกับความเป็นธรรมเรื่องราคา  การปลอมปนสินค้า  การผูกขาดตลาด  การโกงมาตราชั่ง  ตวง  วัด  ตลอดจนการโฆษณาชวนเชื่อเกินความเป็นจริง เผยแพร่ให้ความรู้แก่ผู้บริโภคให้ทราบถึงภัยอันตรายที่เกิดจาก สินค้าที่เป็นพิษ ประสานงานระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ของรัฐ ตลอดจนติดตามการดำเนินงานของหน่วยงานต่าง ๆ ของเพื่อให้มีการปฏิบัติ งานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว

          2. สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.)

                    2.1. คณะกรรมการอาหาร มีหน้าที่ กำหนดคุณภาพหรือมาตรฐานของอาหาร ควบคุมเฉพาะตามชื่อ ประเภท ชนิด หรือลักษณะ ของอาหารนั้น และกำหนดหลักเกณฑ์เงื่อนไขและวิธีการผลิตเพื่อจำหน่าย นำเข้าเพื่อการจำหน่าย หรือการจำหน่าย
                    2.2. คณะกรรมการยา มีอำนาจหน้าที่กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับการผลิตยาการขายยา การนำเข้าหรือสั่งยา เข้ามาในราชอาณาจักร การนำยามาเป็นตัวอย่างเพื่อการตรวจ การตรวจสอบสถานที่ผลิตยา สถานที่ขายยา และสถานที่เก็บยา
                    2.3. สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม สังกัดกระทรวงอุตสาหกรรมมีหน้าที่ในการกำหนดมาตรฐานสินค้าอุตสาหกรรม เพื่อเป็นเกณฑ์ขั้นต่ำสำหรับผู้ผลิต ในการผลิตสินค้า
                    2.4. องค์กรเอกชน ภาคเอกชนมีการจัดตั้งองค์กรที่เกี่ยวข้องกับผู้บริโภค เช่น องค์กรพิทักษ์ประโยชน์ของผู้บริโภค โครงการสภา สตรีส่งเสริมผู้บริโภค เป็นต้น

          3. สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.)  มีหน้าที่คุ้มครองผู้บริโภค รักษาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ พัฒนา อุตสาหกรรมของประเทศให้สามารถแข่งขันได้ในตลาดโลก ตลอดจนสร้างความเป็นธรรมในการซื้อขาย ขจัดปัญหาและอุปสรรคทางการค้า ที่เกิดจากมาตรการด้านมาตรฐาน
        กิจกรรมของ สมอ.

          1. การกำหนดมาตรฐาน
                    1.1. มาตรฐานระดับประเทศ กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.) ประเภทบังคับและไม่บังคับตามความต้องการ และการขยายตัวของอุตสาหกรรมการค้า และเศรษฐกิจของประเทศ  รวมทั้งนโยบายของรัฐบาล เพื่อคุ้มครองผู้บริโภค รักษาสิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติ และส่งเสริมให้ภาคอุตสาหกรรมไทยแข่งขันในตลาดโลก
                   1.2. มาตรฐานระดับสากล ร่วมกำหนดมาตรฐานกับองค์กรสากลที่สำคัญคือ องค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน(International Organization for standardization : ISO) คณะกรรมาธิการระหว่างประเทศว่าด้วยมาตรฐานสาขาอิเล็กทรอนิกส์(International Electrotechnical Commission : IEC)

           2. การรับรองคุณภาพผลิตภัณฑ์
                   2.1 การรับรองตามมาตรฐานของประเทศ   สมอ.ให้การรับรองคุณภาพผลิตภัณฑ์ โดยการอนุญาตให้แสดงเครื่องหมายมาตรฐาน จำนวน 2 แบบ คือ
                         1)  เครื่องหมายมาตรฐานทั่วไป

หน่วยงานที่คุ้มครองผู้บริโภค มีอะไรบ้าง

                        เป็นเครื่องหมายที่แสดงกับผลิตภัณฑ์ที่เป็นมาตรฐานไม่บังคับ ผู้ผลิตสามารถยื่นขอใบอนุญาตแสดงเครื่องหมายมาตรฐาน ได้ด้วยความสมัครใจ ซึ่งเป็นมาตรฐานที่กำหนดออกมามากที่สุด โดยปัจจุบันมีกว่า 2,000 รายการ

                    2)  เครื่องหมายมาตรฐานบังคับ

หน่วยงานที่คุ้มครองผู้บริโภค มีอะไรบ้าง

                        เป็นเครื่องหมายที่แสดงบนผลิตภัณฑ์ที่มีกฎหมายกำหนดให้ต้องเป็นไปตามมาตรฐาน เพื่อคุ้มครองความปลอดภัยให้แก่ผู้ บริโภค และป้องกันความเสียหายที่จะเกิดขึ้นแก่เศรษฐกิจของประเทศ ผู้ผลิต ผู้นำเข้า และผู้จำหน่ายจะต้องผลิต นำเข้าและจำหน่ายเฉพาะ ผลิตภัณฑ์ที่ต้องเป็นไปตามมาตรฐานเท่านั้น ปัจจุบัน สมอ.กำหนดออกมาแล้ว 69 รายการ

                   2.2 การรับรองฉลากเขียว (Green Label)

                     สมอ.ร่วมกับสถาบันสิ่งแวดล้อมไทยดำเนินโครงการฉลากเขียวเพื่อให้การรับรองโดยให้ใช้ฉลากเขียวสำหรับผลิตภัณฑ์ ทั้งนี้ เพื่อช่วยลดมลภาวะจากสิ่งแวดล้อม และเพื่อผลักดันให้ผู้ผลิตใช้เทคโนโลยี หรือวิธีการผลิตที่ให้ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อย

                   2.3 รับรองคุณภาพผลิตภัณฑ์ชุมชน (มผช.)                     

                     เป็นการให้การรับรองคุณภาพผลิตภัณฑ์ชุมชนของผู้ผลิตในชุมชนที่เกิดจากการรวมกลุ่มกันประกอบกิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่ง หรือชุมชนในโครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) ที่ผ่านการคัดเลือกจากจังหวัด และ/หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องตามมาตรฐานผลิต ภัณฑ์ชุมชน ที่สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ได้ประกาศกำหนดไว้ และจะแสดงเครื่องหมายมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนกับผลิต ภัณฑ์ที่ได้รับ

หน่วยงานที่คุ้มครองผู้บริโภค มีอะไรบ้าง

ที่มา-https://sites.google.com/site/kruticha/bth-reiyn/ngan-thurkic/hnwy-thi-3-ngein-thxng-khxng-mi-kha/kar-khumkhrxng-phu-briphokh

หน่วยงานใดที่มีหน้าที่คุ้มครองผู้บริโภค

สคบ. เป็นหน่วยงานในสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี โดย ทำหน้าที่เป็นหน่วยงานที่ตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. ๒๕๒๒ เพื่อช่วยเหลือผู้บริโภค ในการรับเรื่องราวร้องทุกข์จากผู้บริโภคที่ได้รับความเดือดร้อนหรือเสียหายจากการกระทำของผู้ประกอบการ ในด้านโฆษณา ฉลาก สัญญา สินค้าที่อาจเป็นอันตราย เรื่องของธุรกิจขายตรงและตลาด ...

มีหน่วยงานใดบ้างรับผิดชอบต่อการคุ้มครองสุขภาพผู้บริโภคโดยตรงที่สุด

สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาเป็นส่วนราชการมีฐานะการปกป้องและคุ้มครองสุขภาพประชาชนจากการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพโดยผลิตภัณฑ์สุขภาพเหล่านั้นต้องมีคุณภาพมาตรฐานและปลอดภัย มีการส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคที่ถูกต้องด้วยข้อมูลวิชาการที่มีหลักฐานเชื่อถือได้และมีความเหมาะสม เพื่อให้ประชาชนได้บริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ปลอดภัยและสม ...

หน่วยงานใดบ้างที่มีหน้าที่ในการคุ้มครองผู้บริโภคหรือช่วยแก้ปัญหาให้ผู้บริโภคจากการใช้สื่อโฆษณา

หน่วยงานที่รับผิดชอบ คือ สานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค (สคบ.) หมายเลขโทรศัพท์1166 ▪ การขายสินค้าราคาแพง (รวมถึงการขายผลิตภัณฑ์สุขภาพด้วย) หน่วยงานที่รับผิดชอบ คือ กรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์หมายเลขโทรศัพท์1569 ▪ ซื้ออาหารแล้วถูกโกงตาชั่ง หน่วยงานที่รับผิดชอบ คือ กองชั่ง ตวง วัด กระทรวงพาณิชย์ หมายเลขโทรศัพท์ ...

หน่วยงานภาครัฐมีบทบาทสำคัญในการคุ้มครองผู้บริโภคอย่างไร

1. สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองสิทธิผู้บริโภค (สคบ.) มีหน้าที่คุ้มครองประโยชน์ของประชาชน ที่มีปัญหาจากการอุปโภคและ บริโภค ส่งเสริมคุ้มครองสิทธิและผลประโยชน์ของผู้บริโภคที่ได้รับเกี่ยวกับความเป็นธรรมเรื่องราคา การปลอมปนสินค้า การผูกขาดตลาด การโกงมาตราชั่ง ตวง วัด ตลอดจนการโฆษณาชวนเชื่อเกินความเป็นจริง เผยแพร่ให้ความรู้แก่ ...

หน่วยงานใดที่มีหน้าที่คุ้มครองผู้บริโภค มีหน่วยงานใดบ้างรับผิดชอบต่อการคุ้มครองสุขภาพผู้บริโภคโดยตรงที่สุด หน่วยงานใดบ้างที่มีหน้าที่ในการคุ้มครองผู้บริโภคหรือช่วยแก้ปัญหาให้ผู้บริโภคจากการใช้สื่อโฆษณา หน่วยงานภาครัฐมีบทบาทสำคัญในการคุ้มครองผู้บริโภคอย่างไร หน่วยงานคุ้มครองผู้บริโภค มีกี่หน่วยงาน หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองผู้บริโภค 9 หน่วยงาน งานคุ้มครองผู้บริโภคมีอะไรบ้าง หน่วยงานคุ้มครองผู้บริโภคภาครัฐ มีอะไรบ้าง หน่วยงานที่คุ้มครองผู้บริโภคภาครัฐและเอกชน มีอะไรบ้าง องค์กรเอกชนเพื่อผู้บริโภค มีอะไรบ้าง กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค มีอะไรบ้าง