หนังสือ วิชาเครื่องสูบและเครื่องอัดอากาศ

30101-2006 งานเครื่องสูบและเครื่องอัดอากาศ (ทฤษฏีจำนวน 2 คาบ : ปฏิบัติจำนวน 3 คาบ: จำนวน 3 หน่วยกิต) (Pump and Air Compressor)

จุดประสงค์รายวิชา เพื่อให้

  1. เข้าใจลักษณะการทํางานของเครื่องสูบและเครื่องอัดอากาศ
  2. คํานวณสมรรถนะของเครื่องสูบและเครื่องอัดอากาศ
  3. เข้าใจหลักการออกแบบเครื่องสูบและเครื่องอัดอากาศ
  4. เข้าใจหลักการบํารุงรักษาเครื่องสูบและเครื่องอัดอากาศ
  5. เข้าใจการเลือกใช้งานเครื่องสูบและเครื่องอัดอากาศ
  6. มีกิจนิสัยที่ดี ในการสืบเสาะหาความรู้ในการทํางานปฏิบัติงานด้วยความประณีตรอบคอบ ประหยัด มีวินัยตรงต่อเวลาตระหนักถึงความปลอดภัยในการทํางานและรักษาสิ่งแวดล้อม

สมรรถนะรายวิชา

  1. แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการทํางานของเครื่องสูบและเครื่องอัดอากาศ
  2. แสดงความรู้เกี่ยวกับการหลักการออกแบบเครื่องสูบและเครื่องอัดอากาศ
  3. คํานวณสมรรถนะของเครื่องสูบและเครื่องอัดอากาศ
  4. ซ่อมและปรับแต่งข้อขัดข้องของอุปกรณ์ในระบบเครื่องสูบและเครื่องอัดอากาศตามคู่มือ

คำอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบัติ ชนิดหลักการทํางานของเครื่องสูบและเครืÉองอัดอากาศการหาสมรรถนะของเครื่องสูบ และเครื่องอัดอากาศ การออกแบบ การเลือกใช้งาน การติดตั้งซ่อมและการบํารุงรักษารวมทั้งมลภาวะเป็นพิษ กับสิ่งแวดล้อม

หลักการทางานของเคร่ืองสูบและเคร่ืองอัดอากาศ

หัวเรือ่ ง

1. ประเภทของเคร่ืองอัดอากาศ
2. ชนดิ และหลกั การทางานของเครื่องอดั อากาศ

สาระสาคัญ

เคร่ืองอดั อากาศ เปน็ อุปกรณห์ ลกั ทีม่ ใี ช้ในโรงงานอุตสาหกรรมแทบทุกประเภท ทุกขนาด เนื่องจากใน
กระบวนการผลิตหลายกระบวนการ จาเป็นต้องมีการใช้งานอากาศอัดสาหรับอุปกรณ์นิวแมติกส์ ต่างๆ เช่น Air
Cylinder ปืนลม เคร่ืองขัด เคร่ืองเจาะ เครื่องพ่น และการลาเลียง ตลอดจนเป็นส่วนประกอบในการใช้งานของ
เครือ่ งจกั รอตั โนมตั ิต่าง ๆ

เครอื่ งอัดอากาศ มีหน้าทห่ี ลักในการเพิ่มความดันของอากาศจากความดันบรรยากาศปกติ (ประมาณ 1
บาร์) ให้สูงข้ึนตามความต้องการใช้งาน ซึ่งโดยส่วนใหญ่มักใช้งานที่ความดันในช่วง 4-7 บาร์ โดยอาศัยหลักการ
ลดปรมิ าตรของอากาศลง สง่ ผลให้มีความดันเพ่ิมขึ้น

จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม

ด้านความรู้
1. มีความรู้ความเข้าใจประเภทของเครื่องอัดอากาศ
2. บอกชนดิ ของเคร่ืองอดั อากาศได้
3. อธิบายหลกั การทางานของเคร่ืองอัดอากาศแต่ละชนิดได้

ดา้ นทกั ษะ
4. ปฏิบัตงิ าน แยกชนิดของเครอื่ งอดั อากาศ

ด้านคุณธรรม จริยธรรม
5. มเี จตคตแิ ละกิจนสิ ัยที่ดใี นการจดั การงานอาชีพ

นายวฒั นา ทองเทพ สาขาวชิ าช่างยนต์ วทิ ยาลยั เทคนิคกนั ทรลกั ษ์

หนว่ ยที่ 1 ความร้เู บอื้ งตน้ เกย่ี วกับการจัดการองค์การ 2

1. ประเภทของเคร่อื งอดั อากาศ

โดยทว่ั ไปเครื่องอัดอากาศอาจแบง่ ได้ 2 ประเภท คือ ประเภทปริมาตรแทนท่เี ชิงบวก และแบบไดนามิคส์
1.1 เครอื่ งอดั อากาศประเภทปรมิ าตรแทนท่เี ชงิ บวก (Positive Displacement)

มีหลกั การทางาน คือ ให้อากาศเขา้ ไปในช่องปรมิ าตรแลว้ ทาให้ปริมาตรอากาศนเ้ี ล็กลงโดยใชพ้ ลังงาน
จากภายนอก เม่อื ปริมาตรของอากาศลดลงกจ็ ะทาให้ความดนั สูงข้นึ เคร่ืองอดั อากาศแบ่งปรมิ าตรแทนทีม่ ที ้ัง
แบบลูกสูบและโรตารี่
1.2 เคร่อื งอดั อากาศประเภทไดนามิคส์ (Dynamics)

มีหลักการทางาน คือ ให้พลงั งานกลแก่อากาศทาให้อากาศมคี วามเร็วเพ่ิมขึ้นโดยผ่าน โรเตอร์แลว้
อาศยั รูปรา่ ง Casing ภายในเครื่องอัดอากาศลดความเร็วลง ทาใหพ้ ลังงานจลนข์ องอากาศเปลี่ยนรูปเป็นความดนั
เครอ่ื งอดั อากาศประเภทน้ีได้แก่ Centrifugal Compressor , Turbo Compressor , Air jet

2. ชนดิ และหลักการทางานของเคร่อื งอัดอากาศ

เคร่อื งอดั อากาศสามารถแบ่งตามลักษณะวิธีการของการอัดอากาศไดห้ ลายชนดิ เชน่ แบบลูกสบู แบบสกรู แบบ
โรตารี่เวน แบบหมุนเหวย่ี ง ฯลฯ ซง่ึ มากกวา่ 80% ของโรงงานอตุ สาหกรรมเปน็ การใช้งานเครอื่ งอัดอากาศแบบ
ลกู สูบและแบบโรตาร่ี แทบทั้งสิน้

2.1 เคร่อื งอัดอากาศแบบลกู สูบ (Reciprocating compressors)
2.2 เครอ่ื งอัดอากาศแบบโรตารี่ (Rotary compressors)
2.3 เคร่ืองอัดอากาศแบบหมุนเหว่ยี ง (Centrifugal compressors)

2.1 เครอ่ื งอัดอากาศแบบลกู สบู (Reciprocating compressors)
เครอ่ื งอัดอากาศประเภทน้ี ส่วนใหญจ่ ะมขี นาดเลก็ ใชต้ น้ กาลงั จากมอเตอรไ์ ฟฟ้าหรือเครอ่ื งยนต์ขนาด

เลก็ โดยมสี ายพานเปน็ อุปกรณ์ถ่ายทอดกาลังงานไปสูเ่ ครอื่ งอดั เพื่อให้ลกู สูบเคล่ือนที่อัดอากาศใหม้ ีปริมาตรเลก็
ลงและความดันของอากาศสูงข้ึน อากาศอัดจะถกู สง่ ไปเกบ็ ไว้ในถังลมก่อนท่ีจะนาไปใชง้ านตอ่ ไป เครื่องอดั
อากาศประเภทน้ีส่วนใหญ่ จะระบายความร้อนดว้ ยอากาศ ดังนั้นบริเวณรอบๆเส้ือสบู ของเคร่อื งอัดจงึ ทาเป็นแผ่น
ครบี (vane) เพือ่ เพ่มิ พนื้ ทีใ่ นการระบายความร้อนให้มากยิ่งขึน้ การเคล่อื นท่ีของลูกสบู ในจังหวะอดั แต่ละคร้ังจะ
ทาใหอ้ ากาศหรือแก๊สเกิดการอดั ตวั ข้นึ และการไหลของอากาศอดั จะมลี กั ษณะเปน็ แบบหว้ งๆ (pulsation) ไม่
ต่อเน่อื งกัน ซ่ึงเป็นผลเสียต่อระบบท่อส่ง เพราะอาจทาให้เกดิ ความดันย้อนกลบั ณ จุดท่มี กี ารหักเล้ยี วในระบบ
ทอ่ สง่ ได้ ทาให้ท่อสง่ ไดร้ ับความเสยี หายในภายหลัง เน่อื งจากในอากาศมคี วามชืน้ หรือไอน้าและฝุ่นละอองปะปน
อยดู่ ว้ ยไม่มากกน็ อ้ ย ดังนน้ั อากาศทเ่ี ข้าสู่เครื่องอัดอากาศจึงมีไอนา้ และฝุน่ ละอองปะปนเข้าไปด้วย เมอ่ื อากาศ
ถกู อัดตัว โมเลกุลของอากาศจะเกิดการเสยี ดสีกันทาให้อากาศที่ถูกอัดมีความรอ้ นสงู ขนึ้ ดงั นั้น อากาศท่ีถูกอดั
ก่อนที่จะถูกนาไปยงั ถังอัดอากาศจงึ ต้องมีการระบายความร้อนออกเสียกอ่ น เพื่อป้องกนั อนั ตรายจากความร้อน
ซึ่งจะทาใหช้ ิน้ สว่ นภายในเครอ่ื งอัดอากาศได้รับความเสียหายได้ อากาศอดั ดังกลา่ วเม่อื ถูกนาไปเกบ็ ในถงั อัด
อากาศจะยงั มคี วามร้อนเหลืออยบู่ ้าง เม่ืออากาศอดั ภายในถงั อากาศเย็นตวั ลง กจ็ ะทาให้ไอน้ากล่ันตัวเปน็ หยดน้า
อยู่ในถงั อดั อากาศ ซง่ึ จะก่อให้เกิดความเสยี หายได้ในขณะท่นี าอากาศไปใชง้ าน ดงั นนั้ จึงต้องมีการระบายนา้ ส่วน
น้ีออกไปจากถังอัดอากาศ ก่อนท่จี ะมีการใช้งานอยู่เสมอทุกวนั

นายวฒั นา ทองเทพ สาขาวชิ าช่างยนต์ วทิ ยาลัยเทคนิคกันทรลกั ษ์

หน่วยท่ี 1 ความรู้เบื้องตน้ เก่ียวกบั การจัดการองค์การ 3

2.1.1 เครอื่ งอดั อากาศแบบลกู สูบ (Piston Air Compressor)
เปน็ เครื่องอดั ลมหรือปมั๊ ลมท่ีนยิ มใช้กันมากทส่ี ุด เนื่องจากความสามารถในการอัดลม คอื

สามารถสร้างความดันหรอื แรงดันของลมอัด ไดต้ ้ังแต่ 1 บาร์ (Bar) จนถึงเปน็ 1000 บาร์ (Bar) ทาใหป้ ั๊มลมแบบ
ลูกสบู ทาไดต้ ั้งแตค่ วามดันตา่ ความดันปานกลางไปถึงความดนั สงู มีแบบใช้สายพานจะทาให้เสียงเงียบหรือแบบ
มอเตอรใ์ นตวั ที่เรยี กว่าลูกสบู โรตารี่ แบบนีจ้ ะผลติ ลมได้เรว็ กวา่ แบบใชส้ ายพาน

รูปท่ี 1 เครอื่ งอัดอากาศแบบลูกสบู (Piston Air Compressor)

การทางานของปั๊มลมแบบลูกสูบ
ลกู สบู จะมกี ารเคลื่อนตัวในแนวดง่ิ ทาใหเ้ กดิ การดดู และการอดั ภายในกระบอกสบู โดยทช่ี ่วงการดดู
อากาศ ล้นิ ช่องดูดเขา้ จะทาการเปดิ ออกเพ่ือดึงอากาศเข้าภายในกระบอกสูบ แต่ลน้ิ ทางดา้ นอดั อากาศออก จะ
ปดิ สนิท จากน้นั เมื่อถงึ ชว่ งการอัดอากาศ ตัวลกู สบู จะดันอากาศให้ออกทางลมออก ทาให้ลน้ิ ทางด้านทางออก
เปดิ ส่วนทางล้นิ ดดู อากาศจะปิดลง เมอ่ื ลูกสบู ของป๊ัมลมขยับขนึ้ -ลง จึงเกดิ การดูดและอัดอากาศขนึ้
ขอ้ แนะนาในการเลอื กซื้อป๊มั ลมแบบลกู สบู
- ในส่วนของมอเตอรข์ บั ปั๊มลม ใหด้ ขู นาดของมอเตอร์บรเิ วณชุดขดลวดอยู่กับท่ี (Stator Coil) ให้มี
ขนาดใหญ่ ไมเ่ ลก็ เกินไป
- ท่อส่งลมเขา้ สถู่ ังเก็บ หากมีครบี ระบายความรอ้ น กจ็ ะช่วยระบายความร้อนของลมกอ่ นเขา้ ถังเกบ็ ได้

2.1.2 เคร่ืองอดั ลม หรือป๊ัมลมแบบไดอะแฟรม (Diaphragm Air Compressor)
เปน็ ปั๊มลมที่ใชต้ วั ไดอะแฟรม ทางานเหมอื นลูกสบู และส่งผลให้ลนิ้ ดา้ นดดู อากาศเข้าเละล้ิน

ด้านสง่ อากาศออกทางานโดยไม่ได้สมั ผสั กับชน้ิ สว่ นทีเ่ ป็นโลหะ และลมอดั ท่ีได้จะไม่มีการผสมของน้ามนั หล่อล่นื
จึงเปน็ ลมที่สะอาด แตไ่ มส่ ามารถสร้างแรงดันได้สงู ข้อดีกค็ ือ ลมทีไ่ ดจ้ ากปัม๊ ลมประเภทนม้ี ีความปลอดภัยสูงและ
มักใชใ้ นอุตสาหกรรมอาหาร อตุ สาหกรรมยา อุตสาหกรรมเคมี และนยิ มใชใ้ นอุตสาหกรรมการเลี้ยงสัตว์น้า
เนอ่ื งจากเสยี งทเ่ี งยี บและลมสะอาดนนั่ เอง

นายวัฒนา ทองเทพ สาขาวิชาช่างยนต์ วทิ ยาลยั เทคนคิ กันทรลกั ษ์

หนว่ ยท่ี 1 ความร้เู บื้องตน้ เก่ยี วกบั การจดั การองค์การ 4

รูปที่ 2 เคร่อื งอัดลม หรอื ป๊ัมลมแบบไดอะแฟรม (Diaphragm Air Compressor)

การทางานของปม๊ั ลมแบบไดอะแฟรม
ระบบอัดลมลกั ษณะนี้ จะใชแ้ ผ่นไดอะแฟรมเปน็ ตัวดูดอากาศ ในขณะทีล่ ูกสบู เคลือ่ นทลี่ ง แผ่น
ไดอะแฟรมจะดดู อากาศจากภายนอกผ่านลิ้นวาลว์ ด้านดดู มาเก็บไวใ้ นห้องเกบ็ ลม และเมื่อลกู สบู เคลื่อนทขี่ ้นึ สุด
แผน่ ไดอะแฟรมจะอัดอากาศภายในหอ้ งสูบทง้ั หมดผา่ นวาล์วดา้ นออกเพ่ือไปเก็บไว้ในถงั พกั หรือไปใช้งานโดยตรง

2.2 เครื่องอดั อากาศแบบโรตาร่ี (Rotary compressors)
เครอ่ื งอดั อากาศแบบโรตาร่ีหรือแบบลูกสบู หมุน จะอดั อากาศอันเป็นผลมาจากการเคลอื่ นที่ผลกั ดนั

ของโรเตอร์ในลักษณะการแทนท่ขี องอากาศ อากาศอดั ที่ได้จะมีอัตราการไหลอย่างสม่าเสมอ แต่ปริมาณอากาศ
อัดที่ได้จะมีคา่ ความดนั ค่อนข้างตา่ กวา่ มาก การหมนุ ของโรเตอรเ์ พ่ืออดั อากาศจะต้องหมุนดว้ ยความเรว็ รอบทีส่ ูง
ซ่งึ จะก่อให้เกิดเสียงดงั และช้ินส่วนที่เคล่ือนทีภ่ ายในจะมีอัตราการสกึ หรอค่อนขา้ งสูง เครือ่ งอัดอากาศประเภทนี้
แบง่ เป็นลกั ษณะย่อยๆ ดงั นี้

2.2.1 เคร่อื งอดั ลม หรือ ปั๊มลมแบบสกรู (Screw Air Compressor)
เครือ่ งอัดอากาศแบบสกรู โดยทัว่ ไปมขี นาดมอเตอร์ และปริมาณการผลติ อากาศอัดสงู กว่า

เครอื่ งอัดอากาศแบบลูกสูบ ขนาดทีน่ ิยมใช้มกั อยใู่ นช่วง 11 - 75 kW จงึ มักใช้ในอุตสาหกรรมทีต่ ้องการอากาศ
อัดในปรมิ าณท่ีสูง เป็นป๊ัมลมท่ีนยิ มใชใ้ นโรงงาน โรงพิมพ์มาก ปม๊ั ลมแบบนจ้ี ะมตี วั สกรูโรเตอร์ในการผลิตลม ไม่มี
ลิน้ ในการเปดิ ปดิ ปม๊ั ลมชนดิ นตี้ ้องการระบบระบายความร้อนทด่ี ี มีทัง้ ระบบระบายความรอ้ นดว้ ยอากาศ และ
ระบบระบายความร้อนด้วยนา้ ถ้าเปน็ เคร่ืองขนาดใหญ่ ป๊ัมลมสามารถจา่ ยลมได้ถงึ 170 ลูกบาศกเ์ มตรต่อนาที
(m3/min) และสร้างแรงดนั ไดม้ ากกวา่ 10 บาร์ (Bar)

การทางานของปมั๊ ลมแบบสกรู
ภายในปม๊ั ลมอัดอากาศ จะมีโรเตอรเ์ กลยี วสกรคู กู่ ัน โดยที่สกรทู ้งั สองเพลาที่ขบกนั จะเรียกวา่ เพลา
ตวั ผแู้ ละเพลาตวั เมยี ทง้ั สองตวั เปน็ สกรูทีม่ ที ิศทางการหมนุ เข้าหากัน ทาให้อากาศจากภายนอกถกู ดูดและอดั
สง่ ไปรอบๆ เส้อื ปั๊ม และสง่ ผ่านไปทางออกเขา้ สู่ชดุ แยกนา้ มนั ออกจากอากาศ จากน้นั จะไปสู่ถังเกบ็ ลม โดย
ความเร็วรอบของเพลาตัวผูแ้ ละเพลาตวั เมียเกือบเทา่ กัน โดยเพลาตวั ผู้จะหมุนเร็วกว่าเพลาตัวเมียเล็กน้อย ปม๊ั ลม
ประเภทนี้ การไหลของแรงลมจะราบเรียบกวา่ แบบลกู สูบ

นายวัฒนา ทองเทพ สาขาวิชาชา่ งยนต์ วทิ ยาลัยเทคนิคกันทรลกั ษ์

หน่วยที่ 1 ความรูเ้ บื้องต้นเก่ยี วกบั การจดั การองคก์ าร 5

รูปที่ 3 เครอ่ื งอัดลม หรือ ป๊ัมลมแบบสกรู (Screw Air Compressor)

2.2.3 เครือ่ งอดั ลม หรือ ป๊ัมลมแบบใบพดั เลื่อน (Sliding Vane Rotary Air Compressor)
ป๊มั ลมชนิดนขี้ ้อดีคือเสยี งเงียบ การหมนุ จะราบเรยี บมีความสม่าเสมอ การอัดอากาศคงที่ ไม่มี

ลิน้ หรอื วาล์วในการปิดเปดิ มีพ้ืนทที่ างานจากดั จึงเกดิ ความรอ้ นไดง้ ่าย หากตอ้ งการประสทิ ธภิ าพทด่ี จี ะต้องผลติ
ปม๊ั ลมชนดิ น้ดี ้วยความประณีตสงู สามารถผลิตลมไดต้ ั้งแต่ 4-100 ลกู บาศกเ์ มตรต่อนาที (m3/min) และความ
ดันทาได้ 1-10 บาร์ (Bar)

รปู ที่ 4 เคร่ืองอัดลม หรือ ปั๊มลมแบบใบพัดเล่อื น (Sliding Vane Rotary Air Compressor)

การทางานของปมั๊ ลมแบบใบพดั เลอ่ื น
ตวั เครื่องจะมีใบพดั ติดอยู่กับชุดขับเคลอื่ นการหมนุ หรือเรียกวา่ โรเตอร์ และวางใหเ้ ย้ืองศนู ยภ์ ายใน
ของเรือนสบู เม่อื มีการหมุนของโรเตอร์ใบพัด อากาศจะถกู ดูดทางช่องลมเข้าและอดั อากาศจากพืน้ ท่ีกวา้ งไปสทู่ ่ี
แคบกวา่ และส่งอากาศที่ถูกอัดออกไปทางชอ่ งลมออกเพ่ือไปใชง้ านหรือเข้าถังเก็บต่อไป

นายวฒั นา ทองเทพ สาขาวชิ าช่างยนต์ วิทยาลัยเทคนิคกนั ทรลกั ษ์

หน่วยท่ี 1 ความรูเ้ บือ้ งต้นเกี่ยวกับการจัดการองค์การ 6

2.2.4 เครอ่ื งอดั ลม หรือป๊ัมลมแบบใบพัดหมนุ (Root Air Compressor)
ปั๊มลมแบบนจี้ ะมใี บพดั หมนุ 2 ตวั เมือ่ โรเตอร์สองตวั ทาการหมนุ อากาศจะถกู ดูดจากฟากหนึ่ง

ไปยงั อีกฟากหนง่ึ โดยไม่มกี ารเปล่ยี นแปลงปริมาตร ทาให้อากาศไม่ถูกบบี หรืออัดตัว อากาศจะถูกอดั ตัวก็ต่อเม่ือ
อากาศได้ถูกส่งเขา้ ไปยงั ถงั เก็บลม ป๊มั ลมแบบน้ตี ้นทนุ การผลติ จะแพง ไม่มลี ้ิน ไม่ตอ้ งการหลอ่ ลนื่ มากขณะ
ทางาน แต่ต้องมีการระบายความรอ้ นท่ีดี

รูปที่ 5 เครือ่ งอดั ลม หรอื ปั๊มลมแบบใบพัดหมนุ (Helical or spiral lobe Air Compressor)

การทางานของปัม๊ ลมแบบใบพัดหมนุ
ใบพัดหมนุ 2 ตวั จะหมุนในทิศทางตรงขา้ มกัน เมื่อโรเตอร์หมุน ทาใหอ้ ากาศถกู ดดู จากทางลมเขา้
และไปออกช่องทางลมออก โดยไม่ทาใหอ้ ากาศถูกบีบหรืออดั ตวั

ป๊ัมลมแบบกังหัน (Radial and Axial Flow Air Compressor)
2.3 เครื่องอดั อากาศแบบหมุนเหวีย่ ง (Centrifugal compressors)

เป็นเครือ่ งอดั อากาศท่ใี ช้หลักการทางดา้ นพลศาสตร์ ทางานด้วยการเปลี่ยนพลงั งานจลนเ์ ปน็ ความดนั
ทศิ ทางการเคลื่อนท่ีของอากาศอัดจะถูกเหวย่ี งตวั ออกไปในแนวรศั มี ลมดูดจะเข้าสู่พืน้ ท่ีตรงกลางเพลาใบพัดและ
ถกู เหว่ียงตัวออกไปในแนวรัศมขี องใบพัดสผู่ นงั เครอ่ื งอัด และถกู ส่งไปตามระบบทอ่ อากาศอดั จะมีความดนั สูงขึน้
แตค่ วามเร็วยังคงท่ี เมื่อเราต้องการอากาศอดั ท่ีมีค่าความดันสงู มากขน้ึ เราสามารถกระทาไดโ้ ดยการใช้เครอื่ งอัด
อากาศหลายสเตจ โดยท่ีอากาศอัดซ่งึ ได้จากสเตจแรกจะถกู ส่งต่อไปยังสเตจตอ่ ไปและอัดอากาศให้ได้ความดนั ที่
ตอ้ งการ อากาศที่อัดไดใ้ นแต่ละสเตจจะมีความรอ้ นสงู ขนึ้ ดังนนั้ จงึ ต้องมีการระบายความร้อนออกจากอากาศอัด
กอ่ นท่ีจะสง่ อากาศอดั ไปยงั สเตจต่อๆ ไป ปั๊มลมแบบนี้ จะไดอ้ ัตราการจ่ายลมที่มาก ลกั ษณะเปน็ ใบพัดกงั หัน
ดูดอากาศมาจากอกี ด้านหนึ่ง ด้วยความเรว็ สูง และส่งออกไปอีกด้านหนึ่ง ลกั ษณะการออกแบบใบพัดจงึ สาคญั
มาก ในเรื่องของอัตราของการผลติ และจา่ ยลม

การทางานของป๊มั ลมแบบกังหัน
เคร่ืองอดั ลมแบบกังหนั นี้ ใชห้ ลกั การของกังหนั ใบพดั โรเตอรห์ มุนดว้ ยความเร็วสูง อากาศจะถกู ดดู
ผ่านเข้าในช่องทางลมเขา้ และอากาศจะถูกอัดและถูกสง่ ต่อไปยังอีกด้านหน่ึง ในชอ่ งทางลมออก โดยไหลไปตาม
ใบพัดและแกนเพลา ปม๊ั ลมแบบน้สี ามารถผลติ ลมได้ถึง 170-2,000 ลูกบาศก์เมตรตอ่ นาที (m3/min)

นายวัฒนา ทองเทพ สาขาวชิ าชา่ งยนต์ วทิ ยาลัยเทคนคิ กันทรลักษ์

หน่วยท่ี 1 ความรเู้ บือ้ งต้นเกย่ี วกับการจดั การองคก์ าร 7

รูปที่ 5 เครอ่ื งอดั ลม หรอื ป๊ัมลมแบบกงั หัน (Radial and Axial Flow Air Compressor)

นายวัฒนา ทองเทพ สาขาวิชาช่างยนต์ วทิ ยาลัยเทคนคิ กันทรลกั ษ์