ประโยชน์ ของน้ำยาเช็ดกระจกจาก ธรรมชาติ

สวัสดีผู้อ่านทุกท่าน วันนี้เราได้นำเคล็ดลับดีๆในการกำจัดคราบฝุ่นที่เกาะติดแน่นอยู่ตามกระจกในบ้านของเรา โดยการทำน้ำยาจากวัตถุดิบธรรมชาติ ที่ขอบอกเลยว่ามันดีมากๆ เห็นผลดี100% อีกทั้งยังปลอดภัยไร้สารเคมีที่จะทำลายสุขภาพของเราอีกด้วย และไม่ต้องเปลืองเงินซื้ออีกต่อไป

ดอกอัญชันสีม่วง ที่ขึ้นอยู่ทั่วไปบริเวณใกล้บ้าน ในสวน ริมถนน คนในชุมชนของเราโดยเฉพาะผู้สูงอายุมักนำดอกอัญชันมาใช้ประโยชน์หลายอย่าง เช่น ทาผม ทาคิ้ว เพื่อให้ดกดำ ใช้แทนสีผสมอาหาร ซึ่งเป็นน้ำชาลดอาการเบาหวาน เป็นต้น ภูมิปัญญาชาวบ้านของไทย ได้นำเอาสีจากดอกอัญชันมาใช้ แต่งสีขนมไทย เช่น ขนมช่อม่วง ขนมเรไร ขนมชั้น เป็นต้น ทำให้สีคราม โดยเอาดอกอัญชันไปแช่ในน้ำร้อนจะได้สีน้ำเงิน ถ้าเติมน้ำมะนาว หรือหยดน้ำมะพร้าวลงไปเล็กน้อย จะได้สีม่วง นอกจากนี้ในสมัยโบราณยังนิยมใช้ย้อมผมจะทำให้ผมดำตามธรรมชาติ ไม่หงอกก่อนวัยแก้ปัญญาผมแตกปลายและผมเสีย กระตุ้นการเจริญเติบโตของเส้นผมให้นุ่มสลวยเป็นเงางาม ปัจจุบันมีการเอาสารสกัดจากดอกอัญชันไปใช้ผสมกับแชมพูและครีมนวดผม เพื่อทำให้ผมดกดำ

นอกจากนี้มะกรูดและดอกอัญชัน ยังช่วยลดคราบสกปรกและยังไม่มีสารเคมีเพราะน้ำยาเช็ดกระจก ที่ซื้อมาอาจจะมีสารเคมีและยังอาจทำอันตรายร่างกายเราด้วย

วัสดุอุปกรณ์มีดังนี้

1. ดอกอัญชันสีม่วง 300 กรัม

2. น้ำตาลทรายหรือกากน้ำตาล 300 กรัม

3. มะกรูด 2 ผล

4. น้ำสะอาด 1 ลิตร

5. หม้อสแตนเลสหรือหม้อเคลือบ 1 ใบ

6. โหลสำหรับหมัก 1 ใบ

วิธีทำการทำน้ำหมักชีวภาพจากดอกอัญชัน

1. นำดอกอัญชันต้มกับน้ำให้เดือดสักพัก ให้ได้สีของดอกอัญชันที่เข้มข้ม

ประโยชน์ ของน้ำยาเช็ดกระจกจาก ธรรมชาติ

2. ฝานมะกรูด เอาเฉพาะผิวมะกรูด ใส่ลงในหม้อต้มดอกอัญชันต้มต่อประมาณ 10 นาที ดับไฟ

3. ปล่อยให้น้ำดอกอัญชันเย็นลง จนมีอุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส ใส่น้ำตาลทรายหรือกากน้ำตาลลงไปคนให้ละลายเข้ากัน

ประโยชน์ ของน้ำยาเช็ดกระจกจาก ธรรมชาติ

4. เทใส่โหลสำหรับหมัก ปิดฝา พอให้แก๊สที่เกิดขึ้นระบายออกมาได้ ทิ้งไว้ประมาณ 30 วัน

ประโยชน์ ของน้ำยาเช็ดกระจกจาก ธรรมชาติ

5. กรองน้ำหมักชีวภาพที่ได้ เอากากออก นำไปเป็นปุ๋ยต้นไม้ได้

6. นำน้ำหมักชีวภาพจากดอกอัญชันใส่ลงในขวดสเปรย์

ประโยชน์ ของน้ำยาเช็ดกระจกจาก ธรรมชาติ

ผลที่ได้จากการทำ

เมื่อยังไม่กรอง น้ำหมักชีวภาพจากดอกอัญชันสีม่วงเข็ม มีแก๊สเล็กน้อย มีกลิ่นออกเปรี้ยวเล็กน้อย มีดอกอัญชันสีซีดลอยอยู่ด้านบนและมีฝ้าสีขาวลอยอยู่บนผิวด้านบน การที่น้ำหมักชีวภาพมีกลิ่นเปรี้ยวเล็กน้อยและฝ้าสีขาวลอยอยู่บนผิวด้านบน แสดงว่ามีจุลินทรีย์เกิดขึ้น สามารถนำน้ำหมักชีวภาพไปใช้งานได้ ถ้าไม่ฝ้าสีขาวลอยอยู่ด้านบนและมีกลิ่นเหม็นแสดงว่าน้ำหมักชีวภาพเสีย ใช้ไม่ได้

ใช้ทำความสะอาดกระจกเงา มีความเงาวาว ไม่มีคราบสกปรกเหลืออยู่ นอกจากนั้นน้ำมันหอมจากผิวมะกรูดยังมีสรรพคุณในการไล่แมลงต่างๆ รวมทั้งยุงอีกด้วย

วิธีนี้ดีจริงๆ ดีทั้งประโยชน์ ดีต่อสุขภาพคนและดีต่อสภาพแวดล้อม มีข้อดีเยอะขนาดนี้ วิธีก็ไม่ได้ยุ่งยากจนเกินไป เรามาทำตามกันเลยดีกว่าค่ะ

รายงานผลการประเมินโครงการฉบับสมบูรณ์

โครงการน้ำยาเชด็ กระจกจากดอกอัญชันและมะกรูด
ประจำปีการศึกษา 2564

สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
คณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์
มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สรุ าษฎร์ธานี

รายงานผลการประเมินโครงการฉบบั สมบูรณ์

โครงการนำ้ ยาเชด็ กระจกจากดอกอญั ชันและมะกรดู
ประจำปีการศกึ ษา 2564

จดั ทำโดย
สถาพร พจนวเิ ศษ
กันติศา องั ศภุ านิช
อรยา รัตนมณี

เสนอ
อาจารย์ อยับ ซาดัดคาน

สาขาวิชารฐั ประศาสนศาสตร์
คณะมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลยั ราชภฏั สุราษฎร์ธาน

คำนำ

โครงการน้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรูด จัดทำขึน้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการทำ
น้ำหมักชีวภาพจากดอกอัญชันและมะกรูดไปใช้ขจัดคราบสกปรกบนกระจก เพื่อส่งเสริมการนำพืชที่มีอยู่ใน
ท้องถิ่นมาใช้ประโยชน์และเพื่อสร้างเสริมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม โดยดำเนินโครงการอย่างเป็นระบบ
นับตั้งแต่การศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหาและความต้องการ การกำหนดจุดพัฒนา การวางแผน การ
ปฏิบัติงานตามแผน การนิเทศติดตามผล และประเมินโครงการ เพ่ือนำผลการประเมินโครงการไปใช้ในการ
พัฒนางานอย่างต่อเน่ืองและเป็นระบบ ผลการดำเนินงานช่วยให้นักศึกษาได้พัฒนาตนเองมีกรอบการพัฒนา
ตนเองชัดเจน มีการวิเคราะห์เป้าหมายกับส่ิงที่ตนเองเป็นอยู่ และคำตอบคือการพัฒนาเพ่ิม ส่งผลให้นักศึกษา
มีคณุ ภาพตามจดุ หมายของหลกั สตู ร

ขอขอบคุณอาจารย์ อยับ ซาดัดคาน (ทใี่ ห้คำปรึกษา แนะนำ) ทใ่ี ห้ความรว่ มมือในการดำเนินโครงการ
น้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอญั ชันและมะกรดู และประเมินโครงการนำ้ ยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรูด
ทำให้การดำเนินงานบรรลุผลตามเป้าหมายท่ีกำหนด ซึง่ ประโยชน์ท่ไี ดร้ ับคือ หมักชีวภาพจากดอกอัญชันและ
มะกรูด สามารถนำไปใช้ขจัดคราบสกปรกบนกระจกแทนน้ำยาเช็ดกระจกท่ัวไปได้ซ่ึงยังช่วยลดสารพิษตกค้าง
และผู้เกยี่ วข้อง สำหรับใช้ในการพัฒนางาน ใหม้ คี วามกา้ วหน้าต่อไป

กนั ติศา อังศภุ านชิ
(นางสาว กันตศิ า อังศุภานิช)

หวั หนา้ โครงการ

สารบัญ

หนา้
คำนำ……………………………………………………………………………………………………………………………………………........ก
สารบญั ………………………………………………………………………………………………………………………………………........ข-ค
สารบญั ภาพ……………………………………………………………………………………………………………………………….........ง
สารบัญตาราง…………………………………………………………………………………………………………………………...........จ
บทคัดยอ่ ……………………………………………………………………………………………………………………………….…...........ฉ
บทที่ 1บทนำ……………………………………………………………………………………………………………………………........1

ความเป็นมาของโครงการ……………………………………………………………………………………………….......1
วัตถุประสงค์ของโครงการ……………………………………………………………………………………………….......1
ขอบเขตดำเนนิ งานของโครงการ…………………………………………………………………………………..........1
เปา้ หมายของโครงการ…………………………………………………………………………………………………….......2
งบประมาณของโครงการ………………………………………………………………………………………………........2
ปัจจัยในการดำเนินโครงการ…………………………………………………………………………………………........3
กิจกรรมในการดำเนินโครงการ…………………………………………………………………………………….......3-4
นยิ ามศัพท์……………………………………………………………………………………………………………………..........4
ประโยชนท์ คี่ าดว่าจะไดร้ ับ……………………………………………………………………………………………......4-5
กระบวนการดำเนินโครงการ…………………………………………………………………………………………......5-7

บทที่ 2เอกสารและแนวคดิ ทฤษฎที ่ีเก่ียวขอ้ ง……………………………………………………………….........8

แนวคิด ทฤษฎีท่ีเกย่ี วกบั การดำเนินโครงการ……………………………………………………………….....8-13
หลกั การแนวคิด ทฤษฎที ่ีเกยี่ วกับการประเมินผลโครงการ…………………………………………....13-20
กรอบแนวคิดการประเมนิ ผลโครงการ………………………………………………………………………..…......20

บทท่ี 3 วธิ กี ารประเมินโครงการ………………………………………………………………………………………….......21

รปู แบบการประเมินโครงการ…………………………………………………………………………………………...21-22
วิธกี ารการประเมนิ โครงการ…………………………………………………………………………………………….....22
ประชากรกล่มุ ตวั อย่าง…………………………………………………………………………………….……………........22
เคร่อื งมอื ที่ใช้ในการประเมินโครงการ……………………………………………………………………………...22-23
การเกบ็ รวบรวมข้อมลู ………………………………………………………………………………………………….........23
การวเิ คราะห์ผลการประเมนิ โครงการ……………………………………………………………………………......23
การวเิ คราะห์ขอ้ มลู เชงิ คุณภาพ………………………………………………………………………………………..23-24

บทท่ี 4ผลการประเมินโครงการ…………………………………………………………………………………………........25

ผลการประเมินดา้ นสภาวะแวดล้อม……………………………………………………………………………......25-27
ผลการประเมินด้านปัจจัย………………………………………………………………………………………………...28-30
ผลการประเมนิ ด้านกระบวนการ……………………………………………………………………………………...31-33
ผลการประเมินดา้ นผลผลิต……………………………………………………………………………………………....34-36

บทที่ 5สรุปผล อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ………………………………………………………………......37

รปู แบบการประเมิน………………………………………………………………………………………………................37

สารบัญ (ต่อ)

หน้า

สรปุ ผลการประเมินโครงการ…………………………………………………………………………………………........38
ขอ้ เสนอแนะสำหรับนำผลการประเมนิ ไปใช้…………………………………………………………………........38
ข้อเสนอแนะสำหรับหัวข้อการประเมินต่อไป………………………………………………………………….......38

บรรณนกุ รม………………………………………………………………………………………………….……………………………........39
ภาคผนวก………………………………………………………………………………………………….…………………………………......40

ภาคผนวก ก แบบประเมนิ ของโครงการ………………………………………………………………………….......41
ภาคผนวก ข ภาพกระบวนการผลติ ในการจดั ทำโครงการ…………………………………………….....42-50

สารบญั ภาพ

หน้า

ภาพที่ 1 หลกั การ PDCA……………………………………………………………………………………………………………….....17
ภาพท่ี 2 หลักการประเมนิ ผลรปู แบบ CIPP MODEL…………………………………………………………………......20
ภาพท่ี 3 กรอบแนวคิดการประเมินผลโครงการ………………………………………………………............................20
ภาพท่ี 4 รูปแบบการประเมนิ โครงการแบบ CIPP MODEL……………………………………………………………..21-22

สารบญั ตาราง

หนา้

ตารางท่ี 1 แสดงการใช้งบประมาณโครงการ……………………………………………………………………………...........2
ตารางที่ 2 ระยะเวลาดำเนินงานตามโครงการ………………………………………………………………………….........4-5
ตารางที่ 3 ขั้นตอน/วธิ กี ารดำเนนิ งาน (ตามกระบวนการ PDCA) …………………………………………..........6-7

ตอนที่ 1 ผลการประเมนิ โครงการ
ตารางท่ี 1 ผลการประเมินโครงการด้านสภาวะแวดล้อม……………………………………..………………….......25-27
ตารางที่ 2 ผลการประเมนิ โครงการดา้ นปัจจยั …………………………………………………………………………......28-30
ตารางท่ี 3 ผลการประเมินโครงการด้านกระบวนการ………………………………………………………………......31-33
ตารางที่ 4 ผลการประเมินโครงการด้านผลผลิต…………………………………….…………………………………......34-36

บทคัดยอ่

ชอื่ เร่ืองการประเมนิ โครงการ นำ้ ยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรดู
ผู้รับผิดชอบ นาย สถาพร พจนวเิ ศษ

นางสาว กนั ติศา องั ศุภานิช
นางสาว อรยา รตั นมณี

ระยะเวลาการประเมนิ โครงการ
ระยะเวลาในการดำเนินโครงการและทำการประเมินโครงการ วันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2564 ถึง

วนั ที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2564

วัตถุประสงค์โครงการ
1. เพอ่ื ศึกษาผลการทำน้ำหมักชีวภาพจากดอกอัญชนั และมะกรูดไปใช้ขจดั คราบสกปรกบนกระจก
2. เพือ่ ส่งเสริมการนำพชื ทม่ี อี ยู่ในทอ้ งถนิ่ มาใช้ประโยชน์
3. เพ่ือสรา้ งเสริมการอนุรกั ษส์ ิ่งแวดล้อม

วิธดี ำเนินโครงการ
การประเมินโครงการน้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรูด ดำเนินในระหว่าง วันท่ี 15

กันยายน 2564 - วันที่ 15 ตุลาคม 2564 โดยใช้กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย ประชากรในชุมชนขุนทะเล
อำเภอสุราษฎรธ์ านี จงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี จำนวน 10 คน

เครอ่ื งมอื ท่ีใชป้ ระเมินโครงการคอื
การประเมินโครงการน้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรูด ใช้รูปแบบการประเมินแบบ CIPP

Model

บทที่ 1

บทนำ

ความเป็นมาและความสำคัญของโครงการ

ในปัจจุบันมีการใช้สารเคมีใบชีวิตประจำวันกันอย่างแพร่หลาย และมีสารเคมีที่มีพิษรวมอยู่ด้วย
จำเป็นอย่างยิ่งท่ีจะต้องอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมและแก้ไขปัญหามลพิษอย่างเร่งด่วน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการแก้ไข
สารพิษตกค้าง ท้ังในน้ำ ในอากาศ ในดิน รวมทั้งในอาหาร ล้วนมีสารตกค้างท้ังส้ิน (ไกรฤกษ์ เปสะโล,
2561)

น้ำยาเช็ดกระจกท่ีใช้กันท่ัวไปมีส่วนผสมของ บิวทิล เซลโลโซล และแอมโมเนียมไฮดรอกไซด์ ซ่ึง
เป็นวตั ถุอันตรายชนิดท่ี 1 และชนิดที่ 2 ซ่งึ สารเคมีน้ีมีอันตรายต่อมนษุ ย์ และส่ิงมีชวี ิตอื่นดอกอัญชันสีม่วง ท่ี
ขึ้นอยู่ท่ัวไปบริเวณใกล้บ้านในสวนริมถนน คนในชุมชนของเราโดยเฉพาะผู้สูงอายุมักนำดอกอัญชันมาใช้
ประโยชน์หลายอย่าง เช่น ทาผม ทาค้ิว เพ่ือให้ดกดำ ใช้แทนสีผสมอาหาร ช่ึงเป็นน้ำชาลดอาการเบาหวาน
เป็นต้นนอกจากนี้มะกรูดและดอกอัญชันยังช่วยลดคราบสกปรกและยังไม่มีสารเคมีเพราะน้ำยา เช็ดกระจกที่
ชอื้ มาอาจจะมสี ารเคมีและยังอาจทำอันตรายร่างกายเราด้วย (ไกรฤกษ์ เปสะโล, 2561)

นอกจากนี้มะกรูดและดอกอัญชันยังช่วยลดคราบสกปรกและยงั ไมม่ สี ารเคมีเพราะน้ำยา เช็ดกระจกท่ี
ซอ้ื มาอาจจะมสี ารเคมีและยังอาจทำอนั ตรายรา่ งกายเราดว้ ย (ไกรฤกษ์ เปสะโล, 2561)

วัตถปุ ระสงค์ของการประเมินโครงการ

1. เพ่ือประเมินผลการทำน้ำหมกั ชวี ภาพจากดอกอญั ชันและมะกรูดไปใช้ขจัดคราบสกปรกบนกระจก
2. เพ่ือประเมนิ การส่งเสริมการนำพืชที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาใช้ประโยชน์
3. เพื่อประเมินการสรา้ งเสรมิ การอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม

ขอบเขตของโครงการ

ขอบเขตดา้ นเนื้อหาในการประเมิน
1. น้ำหมักชีวภาพจากอัญชันและมะกรูด จะใช้อัญชันสีม่วงพันธ์กลบี ช้นั เดยี ว และพนั ธ์กลีบซ้อน
2. กระจกที่ใชท้ ำการทดลอง ใช้กระจกเงาและกระจกใสท่คี วามสกปรกตามปกติ

ขอบเขตด้านพืน้ ที่
ดำเนนิ การในพนื้ ท่ี หม่ทู ่ี 7 ตำบลขุนทะเล อำเภอสรุ าษฎรธ์ านี จังหวดั สุราษฎร์ธานี

ขอบเขตด้านประชากร
ประชากรทใ่ี ช้ในการศึกษา คอื ประชาชนในหมู่ท่ี 7 ตำบลขนุ ทะเล อำเภอสุราษฎร์ธานี จังหวดั

สุราษฎรธ์ านี จำนวน 10 คน

2

เปา้ หมายของโครงการ

ดา้ นปริมาณ
• เพอื่ จัดทำน้ำยาเชด็ กระจกจากดอกอญั ชันและมะกรูดทเ่ี ป็นพชื ท่ีมีอยใู่ นท้องถิ่น จำนวน 10
ขวด ภายใน 1 เดอื น
• สมาขิกในกลมุ่ จะมคี วามรู้ความเข้าใจในการผลิตน้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชนั และมะกรูด
ร้อยละ 80%

ด้านคณุ ภาพ
• นำ้ ยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรูด สามารถชว่ ยลดคราบสกปรกบนกระจกได้อยา่ งมี
ประสทิ ธิภาพ
• เพ่ือจัดทำนำ้ ยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชนั และมะกรดู ใหก้ ับประชาชนจำนวน 10 คน ในผู้ท่ี
สนใจน้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอญั ชนั และมะกรดู แบบไรส้ ารเคมี

งบประมาณของโครงการ

งบประมาณในการดำเนินโครงการมาจากสมาชิกในกลุ่มรวมกันเป็นเงินจำนวน 200 บาท ใน การ
ปฏิบัติโครงการ โดยวัสดุอุปกรณ์ในการดำเนินโครงการบางส่วนมีไว้อยู่แล้ว ซึ่งสามารถจัดทำเป็น ตารางแจก
แจงการใช้งบประมาณในการดำเนินโครงการไดด้ งั น้ี

ตารางที่ 1 แสดงการใช้งบประมาณโครงการ “นำ้ ยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชนั และมะกรูด”

รายการ จำนวน รายจา่ ย เปน็ เงิน
หนว่ ยละ (บาท)
วสั ดอุ ุปกรณ์
1.ดอกอัญชันสีมว่ ง 400 กรัม 1- -
2. มะกรูดสด 1 กโิ ลกรัม 1 40 40
3.น้ำตาลทราย 1 กโิ ลกรมั 1 25 25
4.ตะแกรงเหลก็ 1 35 35
5.มดี 1- -
6.หมอ้ 1- -
7.นำ้ เปลา่ สะอาด 2,000 มลิ ลิลิตร 1- -
8.โหลสำหรับหมกั ผัก 1 40 40
9.ขวดสำหรบั ใสบ่ รรจุภณั ฑ์ 1 60 60

รวม 200

3

ปจั จัยในการดำเนนิ โครงการ 2. มะกรดู สด
4. ตะแกรงเหล็ก
วัสดุอุปกรณ์ 6. หม้อ
1. ดอกอัญชนั สีม่วง 8. โหลสำหรับหมกั ผกั
3. นำ้ ตาลทราย
5. มดี
7. น้ำเปล่าสะอาด
9. ขวดสำหรบั ใสบ่ รรจุภัณฑ์

บคุ คลที่รว่ มดำเนนิ โครงการ
สมาชิกในกลุ่มประกอบด้วย สถาพร พจนวิเศษ, กันติศา อังศุภานิช, อรยา รัตนมณี และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ไดแ้ ก่ กลุ่มแม่บา้ นในชมุ ชน และมารดาของสมาชกิ ในกลมุ่

เอกสาร แหลง่ เรยี นรู้ สถานประกอบการ
สมาชิกในกลุ่มได้ทำการศึกษาจากอินเตอร์เน็ตในการใช้ประกอบข้อมูล และศึกษาความรู้ในการทำน้ำยาเช็ด
กระจกจากดอกอัญชนั และมะกรูด จากแหล่งเรียนรู้คือ มารดาของสมาชิกในกลุ่ม

อาคารสถานที่
ที่พักอาศัยของสมาชกิ ในกลมุ่ ตัง้ อย่ทู ี่ 393 หมทู่ ี่ 7 ตำบลขุนทะเล อำเภอสรุ าษฎรธ์ านี จงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี

กิจกรรมในการดำเนินงานโครงการ

กิจกรรมประเมินผลการทำน้ำหมักชีวภาพจากดอกอัญชนั และมะกรูดไปใช้ขจดั คราบสกปรกบนกระจก
รายละเอยี ดกจิ กรรมการดำเนินโครงการ

1. กิจกรรมประเมินผลการทำน้ำหมักชีวภาพจากดอกอัญชันและมะกรูดไปใช้ขจัดคราบสกปรกบน
กระจก
1.1 วตั ถุประสงค์
1.1.1 เพ่ือประเมินผลน้ำหมักชีวภาพจากดอกอัญชันและมะกรูดว่านำไปใช้ขจัดคราบ
สกปรกบนกระจกไดจ้ ริง
1.1.2 เพื่อแก้ปญั หาการใชส้ ารเคมีในน้ำยาเชด็ กระจก

1.2 การดำเนนิ โครงการ
1.2.1 เรม่ิ จากหาวตั ถดุ บิ ทมี่ ีอยใู่ นท้องถิน่ คือ ดอกอัญชันและมะกรดู
1.2.2 นำดอกอญั ชนั และผวิ มะกรดู มาตม้ ลงในนำ้ เปลา่ สะอาด และใส่นำ้ ตาลตามลงไป
นำมาหมกั ไวเ้ ป็นเวลา 15 วัน
1.2.3 กรองกากและนำใส่ขวดและติดฉลากบนผลติ ภณั ฑ์นำ้ ยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชนั
และมะกรดู
1.2.4 นำผลติ ภณั ฑ์นำ้ ยาเชด็ กระจกจากดอกอญั ชันและมะกรดู ที่ได้ไปเชด็ กระจกใส

1.3 เครอื่ งมอื ในการประเมินผล
1.3.1 ใช้รปู แบบการประเมินโครงการแบบ CIPP MODEL

4

1.4 ผลทีค่ าดวา่ จะไดร้ บั
1.4.1 แกป้ ญั หาการใชส้ ารเคมีในนำ้ ยาเช็ดกระจกหนั มาใช้แบบธรรมชาติ
1.4.2 สามารถนำน้ำยาเชด็ กระจกไปใชข้ จัดคราบสกปรกบนกระจกแทนน้ำยาเชด็ กระจก
ทว่ั ไปได้
1.4.3 กระจกมีความสะอาดข้นึ โดยใชน้ ้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรูด

นิยามศพั ท์

มะกรูด คือ พืชในตระกูลส้ม (Citrus) มีถ่ินกำเนิดในประเทศลาว อินโดนีเซีย มาเลเซีย และไทย ใน
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ นิยมใชใ้ บมะกรูดและผิวมะกรูดเป็นสว่ นหน่งึ ของเครื่องปรงุ อาหารหลายชนิด

อัญชัน คือ พืชมีดอกชนิดใบเลี้ยงคู่ เป็นพืชเถาเลื้อย ตระกูลเดียวกับถ่ัว มีอายุประมาณ 1 ปีจึง
จัดเป็นพืชอายุส้ัน ลำต้นเล้ือย และพันรอบหลัก อาจยาวได้ถึง 6-7 เมตร มีดอกท่ีสวยงาม โดยปกติมีสีน้ำ
เงนิ มีถิ่นกำเนิดในแอฟรกิ า

นำ้ ยาเช็ดกระจก คือ ผลิตภัณฑ์ที่ช่วยใหก้ ระจกมีความแวววาวสดใส สะอาดปราศจากส่ิงสกปรก ลด
ความแห้งประหยัดแรง เช็ดออกงา่ ย และลดการเกาะตวั ของฝุ่นละออง

ประโยชน์ทคี่ าดว่าจะไดร้ บั

• น้ำหมักชีวภาพจากดอกอัญชันและมะกรูด สามารถนำไปใช้ขจัดคราบสกปรกบนกระจกแทน
น้ำยาเชด็ กระจกท่วั ไปได้ และช่วยลดสารพิษตกคา้ ง

• สมาชิกในกลุม่ จะได้รบั ความรู้จากการศึกษาและปฏบิ ัติการทำน้ำยาเช็ดกระจก และยังสามารถ
นำความรู้จากการปฏิบัตินนั้ ไปตอ่ ยอดหรือพฒั นาเปน็ อาชพี หลักได้ในอนาคต

ตารางท่ี 2 ระยะเวลาดำเนนิ งานตามโครงการ
วนั ที่ 15 กนั ยายน พ.ศ. 2564 ถึงวันที่ 15 ตลุ าคม พ.ศ. 2564 โดยมปี ฏิทนิ ปฏบิ ัติงานตามโครงการดังนี้

ระยะเวลา กจิ กรรม ผรู้ บั ผดิ ชอบ
15-18 กนั ยายน 2564 สมาชิกในกลมุ่
- ศึกษาถึงสรรพคุณของอัญชันและมะกรูดโดยศึกษา
การนำอัญชันมะกรูดมาพัฒนามาพัฒนาเป็นน้ำยาเช็ด
กระจกจากดอกอัญชันและมะกรูด ซึ่งสอบถามและ
เรี ย น รู้ จ า ก ผู้ มี ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ใน ก า ร ผ ลิ ต น้ ำ ย า เช็ ด
กระจกจากดอกอัญชันและมะกรดู

19-20 กันยายน 2564 - จัดเตรยี ม จดั หาวสั ดอุ ปุ กรณ์ สถานท่ใี นการทำน้ำยา สมาชกิ ในกลุ่ม
เชด็ กระจกจากดอกอัญชันและมะกรูด

21 กนั ยายน - 5 ตลุ าคม - ดำเนินการทำน้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและ สมาชิกในกลุ่ม
2564 มะกรูด โดยการหมักทิ้งไว้เป็นเวลา 15วัน เม่ือครบ
กำหนดพรอ้ มทัง้ บรรจุภัณฑ์ลงในขวดใส

5 ตุลาคม 2564 - ทำการแจกจ่ายแชมพูมะกรูดให้ประชาชนในชุมชน สมาชิกในกลุ่ม

5

ระยะเวลา กิจกรรม ผู้รบั ผิดชอบ
6-9 ตลุ าคม 2564 สมาชกิ ในกลุ่ม
- จัดทำแบบประเมินผลโครงการในเชิงคุณภาพด้าน
ต่างๆ เพื่อให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการ
เป้าหมายและผลท่ีคาดว่าจะได้รบั จากโครงการ เพอ่ื ใช้
สำหรับการประเมินผลโครงการและวัดผลการดำเนิน
โครงการ

10-15 ตลุ าคม 2564 - ทำการติดตามผลการดำเนินโครงการ การแก้ไข สมาชิกในกลุ่ม
ปัญหาในระหว่างการดำเนนิ โครงการ

กระบวนการการดำเนนิ โครงการ

รายงานผลการจัดทำโครงการ “น้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรูด” ได้มีการนำหลักการ
คณุ ภาพของ เดมมิ่ง “PDCA” มาใชใ้ นการดำเนินการ 4 ข้ันตอนดงั นี้

1. ขั้นตอนการร่วมกันวางแผน (Plan)
2. ขน้ั ตอนการร่วมกันปฏิบตั ิ (Do)
3. ขั้นตอนการรว่ มกันประเมิน (Check)
4. ขนั้ ตอนการร่วมปรับปรุง (Act)

1.ข้นั ตอนการร่วมกนั วางแผน (Plan)
ขัน้ ตอนนเี้ ป็นการวางแผนในการดำเนินโครงการ โดยมขี น้ั ตอนดงั นี้
1.1 สมาชิกในกลุ่มร่วมกันประชุมปรึกษากันในการเสนอช่ือโครงการ พร้อมทั้งร่วมกันศึกษาข้อมูลที่

เกย่ี วข้องกบั ชอื่ โครงการ และศึกษาถึงปจั จัยตา่ งๆ
1.2 สมาชิกในกลุ่มได้จัดทำโครงน้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรูด พร้อมท้ังวางแผนและ

แนวทาง ข้นั ตอนในการดำเนินโครงการ พร้อมทง้ั จัดเตรียมงบประมาณในการดำเนนิ โครงการ
1.3 สมาชกิ ในกลุ่มได้มกี ารประสานงานไปยงั สถานที่ในการจัดทำโครงการ
1.4 สมาชิกในกลุ่มจัดเตรียมจัดหาวสั ดุอปุ กรณ์ เครอื่ งมอื เครือ่ งใช้ต่างๆ ในการดำเนิน โครงการ

2.ขนั้ ตอนการร่วมกันปฏบิ ัติ (Do)
ขนั้ ตอนนี้เป็นการลงมือปฏิบัติดำเนนิ โครงการ โดยมขี ัน้ ตอนดงั นี้
2.1 สมาชิกในกลุ่มได้ทำการเสนอโครงการตอ่ อาจารย์ทป่ี รึกษา เพือ่ ขออนุมัติในการดำเนนิ โครงการ
2.2 ดำเนินโครงการน้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรูด ในช่วงเวลาตามปฏิทินท่ีทาง

โครงการไดก้ ำหนดไว้ โดยสมาชกิ ในกล่มุ ไดล้ งมือปฏิบัติโครงการ โดยมีการปฏิบัตดิ ังน้ี
• ศึกษาข้อมูลและสรรพคุณดอกอัญชันและมะกรูด รวมถึงการนำดอกอัญชันและมะกรูดมา
ผลิตเปน็ น้ำยาเชด็ กระจก
• สมาชิกในกลุ่มร่วมลงมือปฏิบัติการทำน้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรูดและหมัก
ทง้ิ ไวเ้ ป็นเวลา 15 วัน
• ทำการนำน้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรูดผ่านการผลิตเสร็จแล้ว นำมาบรรจุ
ภัณฑ์ลงในขวด

6

• สมาชิกในกลุ่มได้นำน้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรูด ทำการแจกจ่ายให้แก่

ประชาชนในพน้ื ทห่ี รือผู้ทส่ี นใจ

3.ข้ันตอนการรว่ มกันประเมนิ (Check)
โครงการน้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรูดได้จัดทำแบบประเมินในด้านต่างๆ ซ่ึงเป็นแบบ

ประเมินเชิงคุณภาพ เพื่อให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ เป้าหมาย และผลที่คาดว่าจะได้รับจากโครงการ เพื่อ
ประเมินโครงการและวดั ผลของการดำเนินโครงการ

4.ขัน้ ตอนการร่วมกันปรับปรุง (Act)
สมาชิกในกล่มุ ได้ทำการตดิ ตาม ประเมนิ ผลโครงการ แล้วรวบรวมข้อมูลต่างๆ ที่จัดทำโครงการ รวม

ไปจนถงึ ความสำเร็จ ปญั หาและอุปสรรค ข้อเสนอแนะต่างๆ ในการดำเนนิ โครงการครั้งน้ี มาสรปุ ผลเพื่อนำไป
ปรับปรงุ และพัฒนาในการดำเนินโครงการในคร้ังถัดไป

จากทีไ่ ด้นำหลกั การคณุ ภาพของวงจรคณุ ภาพเดมมงิ่ “PDCA” มาใชใ้ นการดำเนินโครงการ สามารถ
แจกแจงเปน็ ตารางได้ดังน้ี

ตารางที่ 3 ขัน้ ตอน/วธิ กี ารดำเนนิ งาน (ตามกระบวนการ PDCA)

ขน้ั ตอน รายละเอยี ดกจิ กรรม

P = Plan ระยะที่ 1 (ตน้ ทาง) (15 ก.ย. 2564 – 20 ก.ย. 2564)
การวางแผน - สมาชกิ ในกลมุ่ คิดโครงการ ประชมุ วางแผนขั้นตอนการดำเนินโครงการ
- สมาชกิ ในกลุ่มศกึ ษาถึงปจั จยั สภาพแวดลอ้ มตา่ งๆ และขอ้ มลู ที่เกีย่ วกบั โครงการ
- สมาชิกในกลุ่มได้เสนอโครงการต่ออาจารยท์ ่ีปรึกษา เพอื่ ขออนุมัติโครงการและเพื่อดำเนินโครงการใน
ขั้นตอนต่อไป

D = Do ระยะที่ 2 (กลางทาง) ( 21 ก.ย. 2564 – 5 ต.ค. 2564)
การปฏบิ ัติ - ทำการลงพื้นท่ีสำรวจสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกของพื้นท่ีที่จะดำเนินโครงการ เพ่ือมา
จดั ทำแผนปฏบิ ัติ
- นำแผนมาปฏิบัติโดยการศึกษาข้อมูลในการนำดอกอัญชันและมะกรูดมาผลิตเป็นน้ำยาเช็ดกระจก
เพื่อใช้การลงปฏิบัติผลิตน้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรูด วัสดุอุปกรณ์สถานที่สำหรับผลิต
น้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอญั ชันและมะกรดู
- ลงมือปฏบิ ตั ผิ ลิตน้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอญั ชันและมะกรดู และหมักทง้ิ ไว้ 15 วัน
- นำนำ้ ยาเช็ดกระจกจากดอกอญั ชนั และมะกรูดทผี่ ่านการผลิตเสรจ็ แล้ว นำมาบรรจุภณั ฑใ์ สใ่ นขวด
- นำนำ้ ยาเชด็ กระจกจากดอกอญั ชันและมะกรูดทเี่ สร็จส้ินทกุ กระบวนการ ทำการแจกจ่ายแก่ประชาชน
ในพื้นทชี่ ุมชนหรอื ผู้ท่ีสนใจ

C = Check ระยะท่ี 3 (กลางทาง) (6 ต.ค. 2564 – 9 ต.ค. 2564)
การตรวจสอบ - จัดทำแบบประเมินผลโครงการในเชิงคุณภาพด้านต่างๆ เพ่ือให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของ
โครงการ เป้าหมายและผลท่ีคาดว่าจะได้รับจากโครงการ เพื่อใช้สำหรับการประเมินผลโครงการและ
วดั ผลการดำเนนิ โครงการ

ขัน้ ตอน 7

A = Action รายละเอียดกจิ กรรม
การปรับปรุง
ระยะท่ี 4 (ปลายทาง) (10 ต.ค. 2564 – 15 ต.ค. 2564)
พัฒนา - ทำการตดิ ตามผลการดำเนนิ โครงการ การแกไ้ ขปญั หาในระหวา่ งการดำเนนิ โครงการ
- รวบรวมข้อมลู ความสำเร็จของโครงการในด้านต่างๆ รวมถึงปัญหาและอุปสรรค ขอ้ เสนอแนะอื่นๆ ใน
ระหวา่ งการดำเนนิ โครงการมาสรุปผล
- พัฒนาต่อยอดเพื่อสร้างความเข้มแข็งของโครงการและสร้างความสำเร็จของโครงการ และเพื่อ
ยกระดับในการดำเนนิ การโครงการในครัง้ ตอ่ ไป

บทที่ 2

เอกสารและแนวคดิ ทฤษฎีที่เกีย่ วข้อง

1. แนวคิดทฤษฎที เ่ี ก่ยี วข้องกบั การดำเนนิ โครงการ
2. หลกั การแนวคดิ ทฤษฎที ่ีเก่ียวกบั การประเมนิ ผลโครงการ

1. แนวคดิ ทฤษฎีท่ีเกีย่ วข้องกบั การดำเนนิ โครงการ

นิวัติ เรืองพานิช (2517) ได้อธิบายไว้ว่า ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resources) หมายถึง ส่ิงที่
เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติมีประโยชน์สามารถสนองความต้องการของมนุษย์ได้หรือ มนุษย์สามารถนำมาใช้
ประโยชน์ ท้ังนร้ี วมถึงพลังงานของมนษุ ย์ดว้ ย

เกษม จันทรแ์ กว้ (2544) ให้ความหมายของคําว่าทรัพยากรธรรมชาติไวว้ ่าหมายถงึ ส่ิงต่างๆ ซ่ึงมีอยู่
ตามธรรมชาติและใหป้ ระโยชน์ต่อมนุษย์ไม่ทางใดกท็ างหนงึ่

เสรี พงศพิศและคณะ (2536) ไดส้ รุปเร่ือง ภมู ปิ ัญญาหรือภมู ิปัญญาชาวบ้าน หรือภมู ิปัญญาทองถ่ิน
(local wisdom) หมายถึง พ้ืนฐานของความรูของชาวบ้าน ท่ีเรียนรูและมีประสบการณท้ังทางตรงและทาง
ออม หรอื ความรูทส่ี ะสมสืบต่อกันมา นาํ มาใชแกปญหาเปน็ สติปญั ญา เป็นองคความรูของชาวบ้าน

สุดาวรรณ มีเจริญ (2553) การศึกษาเรื่องมะกรูดมีฤทธิ์ในการยับยั้งและฆ่าเช้ือ สแตปฟิโลคอคไค
ผลการศึกษาพบว่าผลบวกต่อการทดสอบโคแอคกุเลส จากการทดสอบในหลอดทดลอง (โคแอคกุเลส เป็น
น้ำย่อยท่ีเช้ือกลุ่ม สแตปฟิโลคอคไคสร้างข้ึน ทำให้พลาสมาของคนหรือสัตว์เกิดการตกตะกอนซึ่งเป็น
คุณสมบัติท่ีใช้กำหนดว่าเช้ือสเตรนใดที่ที่เป็นตัวก่อโรค) ซ่ึงมีความเป็นไปได้ที่จะนำไปพิจารณาเป็นส่วนผสม
ของผลติ ภัณฑท์ างการคา้ ท่ีใชส้ ำหรบั สตั ว์ตอ่ ไปเพื่อลดการติดเช้ือทางผวิ หนังอยา่ งไรกต็ ามควรมกี ารทดลองใน
การใช้กับซับโดยตรงกอ่ นเพื่อศกึ ษาผลขา้ งเคียงอ่ืนๆที่มผี ลกระทบตอ่ การยบั ยัง้ เชอื้ และผลต่อสัตว์

อรุษา เชาวนลิขิต และคณะ (2552) ศึกษางานวิจัยเร่ืองผลกระทบ ph และความคงตัวของสาร
สกดั จากอัญชัน ผลการวิจัยพบวา่ การนำสารสกดั ดอกอัญชันมาใช้ประโยชน์นน้ั จะตอ้ งคำนึงถึงปริมาณของสาร
แอนโทไชยานนิ ทม่ี ีอยใู่ นตวั อย่างดอกอัญชัน ด้วยเพราะปริมาณสารแอนโทไชยานนิ จะมีปรมิ าณทแี่ ตกต่างกัน
ออกไปขึ้นอยู่กับระยะเวลาและลักษณะในการเก็บรักษาดอกอัญชัน โดยท่ีความคงตัวของสารแอนโทไชยานิน
ในดอกอัญชัน จะลดลงเม่ือระยะเวลาในการเก็บรักษาเพ่ิมข้ึนอันเป็นผลมาจากปัจจัยต่างๆ เช่น โครงสร้าง
อุณหภูมิและความเป็นกรดด่างซ่ึงความคงตัวของสารแอนโทไชยานินในดอกอัญชันน้ีจะส่งผลโดยตรงต่อ
ประสทิ ธิภาพในการเปลยี่ นแปลงของเฉดสแี ละความเขม้ ของสีของสารสกดั ดอกอญั ชัน

พนิดา กล่ำคลองตัน (2559) ศกึ ษาเรอื่ งน้ำหมกั ชีวภาพจากใบเตยและมะกรูดผลการศึกษาพบว่าน้ำ
หมักชีวภาพจากใบเตยและมะกรูดมีแก๊สเล็กน้อยมีกล่ินออกเปรี้ยวออกหวานเล็กน้อยมีใบเตยลอยอยู่ด้านบน
และมีฝ้าสีขาวลอยอยู่บนผิวด้านบนการท่ีนำหมักชีวภาพมีกินเปร้ียวเล็กน้อยและฝ้าสีขาวลอยอยู่บนผิว
ดา้ นบนแสดงว่ามีจุลินทรีย์เกิดขึน้ สามารถนำน้ำหมักชีวภาพไปใช้งานได้ถา้ ไม่มฝี ้าสีขาวลอยอยู่ ด้านบนและมี
กล่ินเหน็ แสดงว่าน้ำหมักชีวภาพเสียใช้ไมไ่ ด้ถ้ามีกลนิ่ เหมือนจะบูดให้เติมนำ้ ตาลทรายแดงลงไปเพ่มิ ในระหวา่ ง
การหมักหา้ มปิดฟ้าภาชนะจนแน่นสนิทเพราะอาจทำให้ระเบดิ ได้เน่ืองจากระหว่างการมักจะเกิดก๊าซต่างๆข้ึน
เช่นก๊าซคารบ์ อนไดออกไซดก์ ๊าซมเี ทน เปน็ ต้น

9

แนวคิดทฤษฎแี รงจงู ใจ
แรงจูงใจ คือ พลังผลักดันให้คนมีพฤติกรรม และยังมีการกำหนดทิศทางและเป้าหมาย ทิศทางของ

พฤติกรรมน้ันอีกด้วย คนท่ีมีแรงจูงใจสูง จะมีการใช้ความพยายามในการกระทำไปสู่ เป้าหมายโดยไม่ลดละ
แต่คนที่มีแรงจูงใจต่ำจะไม่มีการแสดงพฤติกรรม หรือไม่ก็ล้มเลิกการกระทำ ก่อนบรรลุเป้าหมาย โดยมีผู้ให้
นิยามของทฤษฎีแรงจูงใจไวด้ ังน้ี

ชาญศลิ ปว์ าสบญุ มา (2546, หนา้ 26) กล่าววา่ แรงจูงใจในการทำงาน หมายถึง พลังทั้งจากภายใน
และภายนอก ซงึ่ ช่วยกระตุ้นพฤติกรรมให้บุคคลทำในสิ่งต่างๆ ใหส้ ำเร็จและบรรลุตามเป้าหมายด้วยความเต็ม
ใจ และเปน็ ไปตามกระบวนการจูงใจของแตล่ ะบุคคล

ธิดา สุขใจ (2548, หน้า 8) กล่าววา่ แรงจูงใจในการทำงาน หมายถึง ส่ิงใดๆท่ีเป็นแรงผลกั ดันหรือ
กระตนุ้ ให้บุคคลปฏิบัติหรอื แสดงพฤติกรรมด้วยความเต็มใจ เพื่อท่ีจะนำมาซ่ึงการทำงานท่ีมีประสิทธภิ าพ ซ่ึง
มีมูลเหตุจูงใจที่สำคัญคือ ความต้องการ ความพึงพอใจในการทำงาน จะนำมาซ่ึงการปฏิบัติท่ีดีของบุคลากร
ทำให้บุคลากรมีความและจงรักภักดีต่อองค์กร ซึ่งเป็นเง่ือนไขสำคัญต่อตวามสำเร็จขององค์กรในระยะยาว
การจูงใจมีความสำคัญต่อการทำงานของบุคคล เพราะแรงจูงใจกระตุ้นให้การทำงานของแต่ละคนจะผลักดัน
ให้เป็นไปตามเป้าหมายท่ีตอ้ งการได้ โดยท่ัวไปมนุษย์มิได้ทำงานเต็มความสามารถที่มีอยูข่ องตนเอง ซึ่งการจูง
ใจด้วยแรงกระตุน้ จากภายใน และส่ิงจูงใจจากภายนอกตัวบุคคล เช่น รางวัล หรอื คำชมเชยต่างๆ เป็นต้น จะ
ทำให้มนษุ ยต์ อบสนองตอ่ สงิ่ กระตุ้นเหลา่ นนั้

ธร สุนทรา ยุทธ (2551, หนา้ 295) กล่าววา่ แรงจูงใจเป็นพลังผลักดันให้มนษุ ย์มีการเคล่ือนไหวไปสู่
เป้าหมายท่ีแต่ละคนต้องการ หากขาดแรงจูงใจมนุษย์อาจเปรียบได้กับหุ่นยนต์ตัวหน่ึงที่เคลื่อนไหวได้ ตาม
คำสั่งหรือความต้องการของคนอ่ืน และพฤติกรรมหลายๆ อย่างของมนุษย์จะไม่เกิดข้ึนถ้าปราศจากแรงจูงใจ
ซ่ึงแรงจูงใจมีลักษณะสำคัญ 2 ประการคือ 1) แรงจูงใจส่งเสริมให้ทำงานสำเร็จ เป็นแรงผลักดันให้แสดง
พฤติกรรม แรงผลักดนั น้ันๆ อาจเกิดจากภายในหรือภายนอกก็ได้ 2) แรงจูงใจกำหนดแนวทางของพฤติกรรม
ช้ีว่าควรเป็นไปในรูปแบบใดนำพฤติกรรมให้ตรงทิศทาง เพ่ือท่ีจะบรรลุเป้าประสงค์คือความสำเร็จของ
หนว่ ยงานหรอื องค์การ

(ภารดี อนันต์นาวี, 2555, หน้า 113; จอมพงศ์ มงคลวนิช, 2555, หน้า 217) การสร้างแรงจูงใจ
ใหเ้ กิดกับสมาชิกในองค์การ เป็นทักษะสำคญั ประการหน่ึงของผู้บริหารตอ้ งเรียนรู้และฝกึ ฝน และนำไปปฏิบตั ิ
ใหเ้ กิดประสทิ ธิผลแก่องค์การ (จนั ทรานี สงวนนาม, 2553, หน้า 252)

ประเภทของแรงจงู ใจ นักจติ วิทยาแบ่งการจูงใจออกเปน็ 2 ประเภทคือ
(จันทรานี สงวนนาม, 2553, หน้า 253-254) 15 1) การจูงใจภายใน หมายถึง สภาวะของบุคคลที่
มีความต้องการจะกระทำบางสิ่งบางอย่าง ด้วย จิตใจของตนเอง โดยไม่ต้องใชส้ ิ่งล่อใดๆ มากระตุน้ ซ่ึงถือว่ามี
คณุ ค่าต่อการปฏิบัติงานต่างๆ เป็นอย่างยิ่ง การจูงใจประเภทน้ีได้แก่ ความต้องการ (Needs) ความปรารถนา
(Desire) ความทะเยอทะยาน (Ambition) ความสนใจพิเศษ (Special Interest) และทัศนคติหรือเจตคติ
(Attitude) 2) การจูงใจภายนอก หมายถึง สภาวะของบุคคลท่ีได้รับการกระตุ้นจากภายนอก เพ่ือนำไปสู่การ
แสดงพฤติกรรมตามจุดมุ่งหมายของผู้กระตุ้น การจูงใจภายนอกได้แก่ เป้าหมาย ความคาดหวัง
ความก้าวหน้า สิ่งล่อใจต่างๆ เช่นการชมเชย การติเตียน การให้รางวัล การประกวด การลงโทษ การแข่งขัน
เป็นต้น สรุปได้ว่า แรงจูงใจเป็นสภาวะของบุคคลท่ีมีหรือไม่มีความต้องการจะกระทำบางส่ิงบางอย่าง ที่ต้อง
อาศัยแรงจูงใจภายใน คือความปรารถนาความต้องการจากภายในตนเอง และแรงจูงใจภายนอก คือ
จุดม่งุ หมายความคาดหวัง หรือสง่ิ ล่อใจตา่ งๆ จะเห็นไดว้ า่ แรงจงู ใจคอื ส่ิงกระตนุ้ หรอื ส่ิงเร้าทีท่ ำใหค้ นมพี ลงั ใน
การใช้ความร้คู วามสามารถที่มีอยู่ละแสวงหาความรู้ใหม่ในการทำงานด้วยความเต็มใจ และมีความสุขกับการ
ทำงานเพือ่ จะบรรลเุ ป้าหมายหรอื วตั ถปุ ระสงคข์ ององค์การ

10

องคป์ ระกอบของแรงจูงใจ
องคป์ ระกอบแรงจูงใจมี 2 ประการ (สมั มา รธนธิ ย์, 2553, หน้า 135-136)
1) องคป์ ระกอบภายนอก ไดแ้ ก่ สงิ่ แวดลอ้ มภายนอกท่ีอาจทำให้เกิดการเปลีย่ นแปลงพฤติกรรม
2) องคป์ ระกอบภายใน ได้แก่

2.1 ความตอ้ งการ (Needs) ในการจะทำส่ิงหนึ่งส่ิงใดให้สำเร็จ
2.2 เจตคติ (Attitudes) เป็นความเช่ือ ความรู้สึกต่อสิ่งใดสิ่งหน่ึงในลักษณะชอบหรือไม่ ชอบพอใจ
หรือไมพ่ อใจ หากมีเจตคติทีด่ ีตอ่ งานหรือเพ่ือนร่วมงานก็เป็นแรงผลักดันให้บุคคล ปฏิบัติงานได้ตามเป้าหมาย
แต่หากมเี จตคติไมด่ ีก็ยอ่ มทำงานประสบความสำเร็จตามเปา้ หมายได้ยาก
2.3 ค่านิยม (Values) เป็นการพิจารณาถึงคุณค่าของตนพึงพอใจที่จะปฏิบัติ พยายามเลือกท่ีจะทำ
ตามค่านิยมที่ตนเองมี เชน่ การใชข้ องท่มี ีราคาแพง เป็นตน้
2.4 ความวิตกกังวล (Anxiety) ความวิตกกังวลในการทำงาน อาจก่อให้เกิดอุปสรรคและ เกิด
แรงผลกั ดันให้สามารถดำเนินการอย่างละเอียดรอบคอบได้ ในการท่บี ุคคลน้นั มีแรงจูงใจใฝ่สมั ฤทธิ์สูงที่อาจจะ
สามารถประสบผลสำเร็จในการปฏิบตั งิ าน
สรุปไดว้ ่า แรงจูงใจมีองค์ประกอบ 2 ประการ คือ องค์ประกอบภายนอก ได้แก่ สง่ิ แวดล้อมภายนอก
และองค์ประกอบภายใน ได้แก่ ความต้องการ เจตคติความเชื่อ ค่านิยม ความวิตกกังวล ซึ่งประกอบกันเป็น
แรงจูงใจให้บคุ คลนน้ั สามารถประสบผลสำเร็จในการปฏิบตั ิงาน

แนวคิดทฤษฎีการเรียนรู้
การเรียนรู้คือ กระบวนการที่ทำให้มนุษย์เปล่ียนแปลงพฤติกรรมทางความคิด มนุษย์เราสามารถ

เรียนรู้ได้จากการได้ยิน การสัมผัส การอ่าน การเห็น รวมถึงผ่านการใช้สื่ออุปกรณ์ เคร่ืองมือเป็นส่วนส่งผ่าน
โดยมีผใู้ ห้นิยามของการเรยี นรู้ ดงั นี้

(Klein 1991:2) กล่าววา่ การเรียนรู้ (Learning) คอื กระบวนการของประสบการณ์ท่ีทำให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอย่างค่อนข้างถาวร ซ่ึงการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมน้ีไม่ได้มาจากภาวะช่ัวคราว วุฒิ
ภาวะ หรือสญั ชาตญาณ

(สุรางค์โค้วตระกูล :2539) กล่าวว่า การเรียนรู้(Learning) คือ การเปล่ียนแปลง พฤติกรรมซ่ึง
เน่ืองมาจากประสบการณ์ท่ีคนเรามีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมหรือจากการฝึกหัด เป็นการเปลี่ยนแปลง
พฤตกิ รรมซึง่ เนื่องมาจากประสบการณ์หรือการฝกึ หัด และพฤติกรรมน้ันอาจจะคงอยู่ระยะหนึ่ง หรือตลอดไป
กไ็ ด้

แนวคดิ ทฤษฎีการพัฒนาตนเอง
ความต้องการในการพัฒนาตนเอง เพอื่ ให้เพ่ิมพูนความรู้ ทำให้มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมต่างๆ ไป

ตามวัตถุประสงค์ของแต่ละบุคคล รวมทั้งสามารถดำรงอยู่ในสังคมหรือประสบความสำเร็จในชีวิต หน้าที่การ
งาน ควรมีแนวคดิ เกี่ยวกบั ความต้องการในการพฒั นาตนเอง โดยมีผู้ให้นยิ ามของทฤษฎกี ารพฒั นาตนเอง ดงั น้ี

กรกนก วงศ์พันธุเศรษฐ์ (อ้างถึงในเกศรินทร์ วิริยะอาภรณ์, 2545) ได้กล่าวว่า การพัฒนาตนเอง
หมายถึง การขยายขอบเขตความสามารถในการใช้ความรู้ความสามารถของบุคคลได้อย่างเต็มท่ีและ
ประยุกต์ใช้ความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับมาเพ่ือแก้ปัญหาหรือหาข้อยุติปัญหาในสถานการณ์ใหม่ๆ ที่
แตกตา่ งออกไป

ศศลักษณ์ ทองปานดี (2551) การพัฒนาตนเอง หมายถงึ การดำเนินการเก่ียวกับการส่งเสริมบคุ คล
ให้มีความรู้ความสามารถ มีทักษะการทำงานดีข้ึน ตลอดจนมีทัศนคติท่ีดีในการทำงานอันจะเป็นผลให้การ

11

ปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพดียิ่งข้ึน และการพัฒนาบุคคลควรส่งเสริม และพัฒนาทั้งร่างกาย อารมณ์ สังคม
และสตปิ ัญญาอย่างทว่ั ถึงสมำ่ เสมอและตอ่ เนื่อง

ความสำคญั ของการพัฒนาตนเอง
ในปัจจุบันการศึกษาเรื่องการพัฒนาตนเองเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งเน่ืองจากสภาพของโลกและ
เหตุการณ์ในปัจจุบันได้มีการเปลี่ยนแปลงได้อย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะเมื่อย่างเข้าสู่ยุคของข่าวสารข้อมูล
(Information Era) หรือท่ีเรียกว่าเป็นยุคของโลกคลื่นที่สาม (Third Wave) ให้เกิดการรวมตัวของทรัพยากร
ข้นึ เม่ือโลกอยู่ในสภาวะท่ีไรพ้ รมแดนการแขง่ ขันเพื่อชว่ งชิงทรัพยากรจงึ มีมากขน้ึ เป็นทวคี ูณ ซึ่งอาจเปรียบได้
ว่าเป็นสงครามข่าวสารในด้านข้อมูลความรู้จะเห็นได้ว่าการเปล่ียนแปลงเช่นนี้ ทำให้เกิดการเปล่ียนแปลง
ดำเนินไปโดยไม่พยายามกา้ วให้ทันจะกลายเป็นผู้ลา้ หลังและเสียประโยชน์ในเวลาอนั รวดเร็ว ดงั น้ันการพฒั นา
ตนเองเพ่ือให้เรียนรู้ได้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของโลกยุคโลกาภิวัตน์ เพื่อความอยู่รอดของชีวิตจึงเป็นสิ่งท่ี
จำเปน็ (ศศินา ปาละสงิ ห,์ 2547)
องคป์ ระกอบในการพัฒนาตนเอง
องคป์ ระกอบในการพัฒนาตนเองด้านตา่ งๆ ดังนี้
1. บุคลิกท่าทาง นับเป็นส่ิงสำคัญอย่างหนึ่ง เพราะกิริยาท่าทางคือการส่ือสารที่สำคัญซึ่งจะ ทำให้
ผู้อ่ืนรู้ถึงจิตใจตลอดจนความนึกคิดของบุคคลผู้น้ัน ดังน้ัน กริยาท่าทางหรือบุคลิกภาพท่ีสามารถสร้างความ
เชื่อม่ันใหส้ มาชกิ กลุม่ จงึ ทำให้ผู้อื่นยกย่องและเช่อื ถอื ไว้วางใจ
2. การพูด นับเป็นการสอ่ื สารทีจ่ ะทำให้ผู้อ่ืนปฏิเสธหรือยอมรบั ในตัวผู้พดู ได้เชน่ กัน ซึ่งการพดู ในทนี่ ้ี
รวมท้ังการพูดคุยแบบธรรมดาและการพูดแบบเป็นทางการ การพูดที่จะประสบความสำเร็จนั้นมีหลักการ
เบื้องแรกทส่ี ำคญั คือการระมดั ระวงั มใิ หค้ ำพูดออกไปเป็นการประทษุ รา้ ยจติ ใจผู้ฟงั
3. พัฒนาคุณสมบัติทางด้านมนุษย์สัมพันธ์ความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้อ่ืนเป็นทางที่จะทำให้ผู้อ่ืน ยอมรับ
และยกย่อง บุคคลท่มี ีความสัมพันธท์ ่ีดีต่อคนอ่ืน ย่อมจะทำให้ไดร้ ับความสนบั สนุนและรว่ มมอื
4. พัฒนาคุณสมบัติเฉพาะตัว ทำให้ได้รับการยอมรับจากสมาชิกส่วนใหญ่ ดังน้ันนอกจากความรู้
ความสามารถแล้ว คุณสมบัติเฉพาะตัวบางประการก็เป็นสิ่งสำคัญท่ีจะผลักดันให้บุคคลได้รับการยอมรับจาก
ทุกฝ่าย เป็นผู้มีคุณธรรม ได้แก่ เป็นผู้มีความซ่ือสัตย์สุจริตและประพฤติตนอยู่ภายใต้คุณธรรม ความดีตาม
บรรทดั ฐานของสังคมนัน้ ๆ
กระบวนการในการพฒั นาตนเอง
การพัฒนาตนเองให้ประสบความสำเร็จ ควรจะมีกระบวนการตามข้ันตอนซึ่ง (สุวรีเท่ียว ทัศน์,
2542) ไดก้ ล่าวถงึ กระบวนการในการพัฒนาตนเอง สรปุ ดงั น้ี
1. สำรวจตัวเอง การท่ีคนเราจะประสบความสมหวังหรือไม่สาเหตุที่สำคัญ คือ จะต้องมีการสำรวจ
ตนเองเพราะตนเองเป็นผกู้ ระทำตนเอง คนบางคนไมป่ ระสบความสำเร็จในชีวติ เนื่องจากบุคคล มจี ุดอ่อนหรือ
คุณสมบัติท่ีไม่ดีการท่ีจะทราบว่าตนมีคุณสมบัติอย่างไร ควรจะได้รับการสำรวจตนเอง ทั้งนี้เพื่อที่จะได้
ปรับปรุงแกไ้ ข หรือพฒั นาตนเองใหด้ ขี ึ้น เพอ่ื จะไดม้ ชี ีวิตทสี่ มหวังต่อไป
2. การปลูกคุณสมบัติที่ดีงาม โดยคุณสมบัตขิ องบุคคลสำคัญของโลกเป็นแบบอย่าง ซึ่งคุณสมบตั ิของ
บคุ คลไม่ใช่ส่งิ ทตี่ ิดตัวมาแต่เกดิ แตส่ ามารถเกิดขึน้ ได้
3. การปลูกใจตนเอง เป็นส่ิงสำคัญเพราะบุคคลท่ีมีกำลังใจดีย่อมมุ่งม่ันดำเนินการให้บรรลุเป้าหมาย
ของชีวิตที่กำหนดไว้
4. การส่งเสริมตนเอง คือการสร้างกำลังกายท่ีดีสร้างกำลังใจให้เข้มแข็ง และสร้างกำลังความคิดของ
ตนใหเ้ ป็นเลิศ
5. การดำเนินการพัฒนาตนเอง เป็นการลงมือปฏิบัติเพ่ือเสริมสร้างตนเองให้บรรลุวัตถุประสงค์ตาม
ทตี่ ง้ั ไว้

12

6. การประเมินผล เพ่ือจะได้ทราบว่าการดำเนินการพัฒนาตนเองตามท่ีบุคคลได้ตั้งเป้าหมาย ไว้
ดำเนินการไปได้ผลมากน้อยเพียงไร จึงจำเป็นต้องอาศัยการวัดผลและการประเมินผล สามารถสรุปได้ว่าการ
พฒั นาตนเอง คอื การที่เพ่ือใหเ้ พ่ิมพูนความรู้ ทำใหม้ ีการเปลี่ยนแปลงพฤตกิ รรมตา่ งๆ ไปตามวัตถุประสงค์ของ
แตล่ ะบุคคล รวมทง้ั สามารถดำรงอยู่ในสังคมหรอื ประสบความสำเรจ็ ในชีวติ

แนวคิดทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียง
"เศรษฐกิจพอเพียง" เป็นแนวพระราชดำริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่พระราชทาน มา นาน

กว่า ๓๐ ปีซึ่งเป็นแนวคิดที่ต้ังอยู่บนรากฐานของวัฒนธรรมไทย เป็นแนวทางการพัฒนาขั้นพ้ืนฐานท่ีตง้ั อยู่บน
ทางสายกลางและความไม่ประมาทซึ่งคำนึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุมีผล การสร้างภูมคิ ุ้มกนั ในตวั เอง
ตลอดจนการใช้ความรู้และคุณธรรมเพ่ือเป็นพื้นฐานในการดำเนินชีวิตซ่ึง ต้องมี"สติปัญญา และความเพียร"
เป็นท่ีตั้ง ซ่ึงจะนำไปสู่ความสุขในชีวิตท่แี ท้จริง เศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาช้ถี ึงแนวการดำรงอยู่และปฏิบัติ
ตนของประชาชนในทุกระดับ ต้ังแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชนจนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหาร
ประเทศให้ดำเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์
ความพอเพยี ง หมายถึง ความ พอประมาณ ความมเี หตุผล รวมถงึ ความจำเปน็ ที่จะต้องมีระบบภูมคิ ้มุ กันในตัว
ที่ดพี อสมควรต่อการกระทบใดๆ อนั เกดิ จากการเปล่ยี นแปลงทั้งภายในภายนอก ท้ังนี้จะต้องอาศัยความรอบรู้
ความ รอบคอบ และความระมัดระวังอยา่ งย่ิงในการนำวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการดำเนินการ
ทุกข้ันตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติโดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นัก
ทฤษฎีและนักธุรกิจในทุกระดับให้มีสำนึกในคุณธรรม ความซ่ือสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม
ดำเนินชีวติ ดว้ ยความอดทน ความเพยี ร มีสติปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมตอ่ การรองรับ
การเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทั้งด้านวัตถุสังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอก
ไดเ้ ป็นอย่างดี มูลนธิ ชิ ยั พฒั นา (2017).

เศรษฐกิจพอเพียง เป็นกรอบแนวคิด ซ่ึงมุ่งให้ทุกคนสามารถพ่ึงพาตัวเองได้รวมถึงการ พัฒนาให้ดี
ย่ิงขึ้น จนเกิดความย่ังยืน คำว่า พอเพียง คือ การดำเนินชีวิตแบบทางสายกลาง โดยต้ังอยู่บนหลักสำคัญสาม
ประการ คอื ความพอประมาณ ความมีเหตผุ ล และการมีภูมิคมุ้ กันทดี่ ี

ความพอประมาณ
คือ การดำรงชีวิตให้เหมาะสม ซ่ึงเราควรจะมีความพอประมาณทั้งการหารายได้และ พอประมาณใน

การใช้จ่าย ความพอประมาณในการหารายได้คือ ทำงานหารายได้ด้วยช่องทางสุจริต ทำงานให้เต็ม
ความสามารถ ไม่เบียดเบียนผู้อ่นื ส่วนความพอประมาณในการใช้จ่าย หมายถึง การใช้จ่ายให้เหมาะกับฐานะ
ความเป็นอยู่ ไม่ใช้จ่ายฟุ่มเฟือยหรือใช้จ่ายเกินตัว และในขณะเดียวกันก็ใช้จ่ายในการดูแลตนเอง และ
ครอบครัวอย่างเหมาะสม ไม่อย่อู ย่างลำบาก และฝดื เคืองจนเกนิ ไป

ความมีเหตผุ ล
ไม่ว่าจะเป็นการทำธุรกิจ หรือการดำรงชวี ติ ประจำวัน เราจำเป็นต้องมีการตดั สินใจตลอดเวลา ซึ่งการ

ตัดสินใจท่ีดีควรตั้งอยู่บนการไตร่ตรองถึงเหตุรวมทั้งคำนึงถึงผลที่อาจตามมาจากการตัดสินใจอย่างรอบคอบ
ไมใ่ ชต่ ัดสินใจตามอารมณ์หรอื จากส่ิงท่ีคนอน่ื บอกมาโดยปราศจากการวิเคราะห์

การมภี ูมิคมุ้ กันท่ดี ี
คือ การเตรียมตัวให้พร้อมรับกับความเปล่ียนแปลง ในโลกที่ไม่มีอะไรแน่นอน ทั้งสภาพลม ฟ้า

อากาศที่ไม่เอื้ออำนวยต่อการทำเกษตร การเปล่ียนแปลงในบริษัทคู่ค้า การเลิกจ้างพนักงานใน บริษัทใหญ่

13

หรือแม้แต่ความไม่แน่นอนของสถานการณ์ท้ังในและต่างประเทศที่มีผลต่อการลงทุน เราจึงจำเป็นต้องเรียนรู้
ที่จะดำรงอยู่ได้ด้วยการพึ่งพาตนเอง และต้ังอย่ใู นความไม่ประมาทอยู่เสมอ เช่น เตรียมแผนสำรองสำหรับแต่
ละสถานการณ์การมีรายได้หลายทางเพ่ือลดความเส่ียงในวันท่ีถูกเลิกจ้าง หรือการกระจายความเสี่ยงในการ
ลงทนุ

โดยการดำรงชีวิตตามหลักการท้ังสามข้อนั้น จำเป็นต้องมีความรู้และคุณธรรมประกอบด้วย ความรู้
ช่วยสร้างภูมิคุ้มกันท่ีเหมาะสม เช่น ความรู้ในการประกอบวิชาชีพช่วยให้ธุรกิจและการงานเจริญก้าวหน้า
หรือความรู้ในการลงทุนช่วยสร้างภมู ิคุ้มกันให้นักลงทนุ ทั้งนี้ความรู้และประสบการณ์จะชว่ ยทำใหเ้ ราตัดสนิ ใจ
ได้อย่างเป็นเหตุเป็นผล ถงึ แมว้ า่ พ้ืนฐานความคดิ และประสบการณท์ ี่แตกต่างกนั อาจทำให้เหตผุ ลของแต่ละคน
น้นั แตกต่างกนั แตห่ ากทุกคนยดึ ม่นั อยู่ในหลักคุณธรรมก็จะทำใหก้ ารอยู่รว่ มกนั ในสังคมเปน็ ไปอย่างสงบสขุ

อย่างที่กล่าวมาขา้ งต้น การพ่งึ พาตัวเองได้เป็นเพียงส่วนเริ่มต้นของการพัฒนาเศรษฐกจิ พอเพียง โดย
เมอ่ื ทุกคนสามารถดูแลตัวเอง และครอบครัวได้แลว้ ข้นั ต่อไปอาจทำการพัฒนาธรุ กิจ โดยมกี ารรวมกลุ่มกันใน
วิชาชีพเดียวกัน เพ่ือแลกเปลี่ยนความรู้และให้ความช่วยเหลือซ่ึงกันและกัน ในการรวมกลุ่มกันนั้น ไม่จำกัด
เฉพาะการรวมกลุ่มของชาวบ้าน เกษตรกร ในรปู ของสหกรณ์การทำงานในเมืองก็สามารถมีการรวมกลุ่มกนั ได้
เช่น การแบ่งปันความรู้ประสบการณ์ในการทำธุรกิจ ของกลุ่มอุตสาหกรรมเดียวกัน การแลกเปลี่ยนแนวคิด
การลงทุนเพ่ือเป็นการต่อยอดความรู้รวมไป จนถึงการแบ่งปันความช่วยเหลือส่งกลับคืนสู่สังคมไปสู่กลุ่มท่ียัง
ต้องการความชว่ ยเหลืออยู่ เช่น กิจกรรมจติ อาสาเพือ่ สรา้ งสังคมทีเ่ ข้มแข็งและอยรู่ ่วมกนั อยา่ งสงบสุข

จะเห็นได้ว่า แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงน้ัน เป็นแนวคิดท่ีต้ังอยูบ่ นความไม่ประมาทด้วยการใช้ความรู้
และคุณธรรม เพื่อให้เกิดการพ่ึงพาตัวเองได้และเผื่อแผ่ไปถึงสังคม ซึ่งเราสามารถนำหลักการปฏิบัติไปปรับ
ใช้ได้ท้ังในชวี ติ การทำงาน และการดำรงชวี ติ

2. หลกั การแนวคดิ ทฤษฎีทเี่ กี่ยวกบั การประเมนิ ผลโครงการ
แนวคิด ความหมาย และความสำคัญของประเมินโครงการ

พสิ ณุ ฟองศรี ไดก้ ล่าวว่าการประเมนิ หมายถึง กระบวนการตดั สินคณุ ค่าของสิง่ หน่ึงส่ิงใด โดยการนำ
สารสนเทศหรือผลจากการวัดมาเปรียบเทียบกับเกณฑ์ท่ีกำหนด (พิสณุ ฟองศรี, 2550 : น. 4 อ้างถึงใน
เชาว์ อินใย, 2553 : น. 3)

สมหวัง พิธิยานุวัฒน์ ได้กล่าวว่า การประเมินค่าหรือการประเมินผลหมายถึง การตัดสิน คุณค่าของ
สิ่งใดส่ิงหน่ึง ซ่ึงถือเป็นนิยามพ้ืนฐานในทางการจัดการนิยมนิยามการประเมินค่าหรือการ ประเมินผลว่าเป็น
กระบวนการที่ก่อให้เกิดสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ การตัดสินใจเลือกทางเลือก โดยอาศัยสารสนเทศท่ี
ถูกต้องเหมาะสม เม่ือผ่านการสังเคราะห์ให้เป็นองค์ความรู้จะทำให้เกิดปัญญาได้ (สมหวัง พิธิยานุวัฒน์,
2549 : น. 6 อา้ งถงึ ใน เชาว์ อนิ ใย, 2553 : น. 3)

เชาว์ อินใย ไดใ้ ห้ความหมายของการประเมินหมายถึง กระบวนการพิจารณาตัดสินคณุ ค่า ของส่ิงใด
ส่ิงหนึ่งว่า มีความเหมาะสมหรือไม่เพียงใด โดยนำสารสนเทศหรือผลจากการวัดมาเปรียบเทียบกับเกณฑ์ที่
กำหนดเพ่ือช่วยในการตัดสินใจ ตีค่าผลการดำเนินการนั้นๆ ว่าบรรลุวัตถุประสงค์หรือไม่ ใช้เป็นส่วนหน่ึงของ
กระบวนการจัดการ ส่วนคำว่าโครงการหมายถึง ส่วนย่อย ส่วนหน่ึงของแผนงาน ซ่ึงประกอบด้วยชุดของ
กิจกรรมที่จัดข้นึ อย่างมีระบบ มีการกำหนดทรัพยากร ในการดำเนินงาน ระยะเวลาดำเนนิ งานไว้อย่างชดั เจน
โดยออกแบบมาเพ่ือให้บรรลุเป้าหมายตามต้องการ ดังน้ันจึงสรุปได้ว่าการประเมินโครงการ หมายถึง
กระบวนการพิจารณาตดั สินคุณคา่ โดย การค้นคว้า เก็บรวบรวมข้อมูลต่างๆ จากชุดของกิจกรรมที่จัดข้ึนอยา่ ง
มีระบบมาประกอบการตัดสินใจตีค่าผลการดำเนินการนั้นว่าบรรลุวัตถุประสงค์หรือไม่ ใช้เป็นส่วนหนึ่งของ
กระบวนการ จัดการ (เชาว์ อินใย, 2553 : น. 4)

14

ความสำคญั ของการประเมนิ โครงการ
เชาว์ อินใย ได้อธิบายความสำคัญของการประเมินโครงการไว้ว่า การประเมินโครงการเป็น ส่วนหน่ึง
ของการวิจัย เป็นกระบวนการที่มีระบบเพ่ือค้นหาข้อเท็จจริงหรือกฎเกณฑ์ต่างๆ ทั้งยังเป็นกระบวนการท่ีมี
ระบบเพ่ือตัดสินความสำเร็จของโครงการอีกด้วย การประเมินโครงการเป็นการดำเนินงานที่ไม่ใช้ความ
พยายามในการสร้างทฤษฎีหรือพัฒนาองค์ความรู้ทางสังคมศาสตร์การ ประเมินโครงการที่นำมาใช้ในทาง
สังคมศาสตร์นั้น เป็นการเตรียมสารสนเทศเพ่ือใช้ในการปรับปรุงโครงการทางสังคม เหตุผลประการสำคัญท่ี
จำเป็นต้องประเมินโครงการก็คือ มีทางเลือกในการดำเนินโครงการได้มากมายท่ีจะทำให้การดำเนินงาน
โครงการมีประสิทธิภาพ ดังน้ันจึงจำเป็นต้องประเมินโครงการว่า ประสบความสำเร็จหรือไม่ (เชาว์ อินใย,
2553 : น. 12)

แนวคดิ ทฤษฎีเก่ียวกับการประเมนิ ผลโครงการ
แนวคิด หลักการและโมเดลการประเมินของไทเลอร (Tyler’s Rationale and Model of Evaluation)

แนวคิดทางการประเมินของไทเลอร จัดเป็นแนวคิดของการประเมินในระดับช้ันเรียน โดยไทเลอรมี
ความเห็นว่าการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน จะมีส่วนช่วยอย่างมากในการพัฒนา
กระบวนการเรยี นการสอน

Ralph W.Tyler : 1943 (90-93) ไทเลอรไดเ้ ริ่มต้นการนาํ เสนอแนวความคิดทางการ ประเมินโดยยึด
กระบวนการเรียนการสอนเป็นหลักกล่าว คือ ไทเลอรได้นิยามว่า กระบวนการจัดการเรียนการสอนเป็น
กระบวนการท่ีมุ่งจัดข้ึนเพื่อก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมท่ีพึงปรารถนาในตัวของผู้เรียน ด้วยเหตุน้ี
จดุ เน้นของการเรียนการสอน จึงข้ึนอยู่กบั การทผี่ ู้เรียนจะต้องมกี ารเปล่ียนแปลงพฤติกรรมหลงั การสอน ดังน้ัน
เพื่อให้การสอนเกิดการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมในตัวผู้เรียนตามที่มุ่งหวังกระบวนการ ดังกล่าวจึงมีข้ันตอนใน
การดำเนินการ ดังน้ี

ขั้นท่ี 1 ตอ้ งมีการระบุหรือกำหนดวตั ถุประสงค์ให้ชัดเจนลงไปว่าเมื่อส้ินสุดการจัดการเรยี น การสอน
แลวผู้เรียนควรเกิดพฤติกรรมใด หรอื สามารถกระทำส่ิงใดได้บ้างหรือท่ีเรยี กว่า วตั ถุประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม

ขั้นที่ 2 ต้องระบุต่อไปว่าจากวัตถุประสงค์ท่ีกำหนดไว้ดังกล่าวนั้นมีเน้ือหาใดบ้างที่ผู้เรียน จะต้อง
เรียนรู้หรอื มสี าระใดบา้ งทเี่ มื่อผ้เู รยี นเกิดการเรียนรแู ลวจะก่อให้เกดิ การเปลยี่ นแปลงพฤติกรรม

ขน้ั ที่ 3 หารูปแบบและวิธกี ารจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับเน้อื หาและจดุ ประสงค์ที่กำหนดไว้
ข้ันที่ 4 ประเมินผลโครงการโดยการตัดสนิ ด้วยการวดั ผลทางการศึกษา หรือการทดสอบผลสัมฤทธิใ์ น
การเรยี น

แนวคิด หลกั การและโมเดลการประเมินของ ครอนบาค (Cronbach’s Concepts and Model)
ตามทัศนะของครอนบาค เชื่อว่าการประเมินเป็นการรวบรวมข้อมูลการใช้สารสนเทศเพ่ือการ

ตัดสินใจเก่ียวกับการจัดโปรแกรมทางการศึกษาในส่วนของการตัดสินใจท่ีเก่ียวข้องกับการจัดการศึกษาน้ัน
ครอนบาคได้แบง่ ออกเปน็ 3 ประเภท คือ

1.การตัดสินใจเพื่อปรบั ปรงุ รายวิชา
2.การตัดสนิ ใจทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั ตัวนักเรียนเปน็ รายบคุ คล
3.การจัดการบริหารโรงเรียน
ซึง่ ครอนบาคได้มีความเห็นว่า การประเมินนั้นไม่ควรกระทำโดยใชแ้ บบทดสอบอยา่ งเดยี ว จึงได้เสนอ
แนวทางการประเมินเพ่ิมเติมไวอ้ ีก 4 แนวทาง คือ
1.การศกึ ษากระบวนการ (Process Studies) คอื การศกึ ษาภาวะต่างๆ ท่เี กดิ ขึ้นในช้ันเรียน

15

2.การวัดศักยภาพของผู้เรียน (Proficiency Measurement) ครอนบาคได้ให้ความสำคัญต่อ
คะแนนรายข้อมากกว่าคะแนนจากแบบทดสอบทัง้ ฉบบั และให้ความสำคญั ต่อการสอนเพื่อวดั สมรรถภาพของ
ผ้เู รียนระหว่างการเรียนการสอนว่ามีความสำคัญมากกว่าการสอบประจำปลายภาคเรยี นหรอื การสอบปลายปี

3.การวดั ทศั นคติ (Attitude Measurement) ครอนบาคใหทัศนะว่า การวัดทัศนคติเปน็ ผลท่ีเกิดจาก
การจัดการเรยี นการสอนส่วนหน่งึ ซง่ึ มคี วามสำคัญเชน่ กนั

4.การติดตาม (Follow - Up Studies) เป็นการติดตามผลการทำงาน หรือภาวะการเลือกศึกษาต่อ
ในสาขาต่างๆ รวมทั้งการให้บคุ คลท่ีเรียนในระดับขนั้ พน้ื ฐานที่ผา่ นมาแล้วได้ประเมินถงึ ข้อดี และขอ้ จำกดั ของ
วชิ าตา่ งๆ ว่าควรมีการปรับปรงุ เพิม่ เตมิ อยา่ งไรเพื่อช่วยในการพัฒนาหรือปรบั ปรุงรายวิชาเหลา่ นั้นต่อไป

สรุปแนวคิดของครอนบาคข้างต้นแลวจะเห็นว่าครอนบาคมีความเช่ือว่าการประเมินที่เหมาะสมนั้น
ต้องพิจารณาหลายๆ ดา้ น ดังท่ีกล่าวมาแลวทั้ง 4 ประการ โดยเน้นว่าการประเมินโครงการด้านการเรียนการ
สอนน้ันไม่ควรประเมินเฉพาะแต่จุดมุ่งหมายที่ต้ังไว้เท่าน้ัน แต่ควรประเมินหรือตรวจสอบผลข้างเคียงของ
โครงการด้วย ครอนบาคยังมีความเห็นเพ่ิมเติมอีกว่า หน้าท่ีสำคัญประการหน่ึงของการประเมินโครงการด้าน
การเรียนการสอนก็คือการค้นหาข้อบกพร่องของโครงการ เพื่อจะได้หาทางปรับปรุงแก้ไขกระบวนการเรียน
การสอนใหม้ ปี ระสิทธิภาพต่อไป

แนวคิด หลกั การและโมเดลการประเมินของ สครฟี เวน
(Scriven’s Evaluation Ideologies and Model) Scriven, 1967 สครีฟเวน ได้ให้นิยามการ

ประเมินไว้ว่า “การประเมิน” เปน็ กิจกรรมที่เกย่ี วของกับการรวบรวมข้อมลู การตัดสินใจเลอื กใช้เครื่องมือเพื่อ
เก็บข้อมูลและการกำหนดเกณฑ์ประกอบในการประเมิน เป้าหมายสำคัญของการประเมินก็คือ การตัดสิน
คุณค่าใหกับกิจกรรมใดๆ ที่ต้องการจะประเมิน สครีฟเวน ได้จําแนกประเภทและบทบาทของการประเมิน
ออกเป็น 2 ลักษณะคือ 1. การ ประเมินระหว่างดำเนินการ (Formative Evaluation) เป็นบทบาทของการ
ประเมินงานกิจกรรม หรือโครงการใดๆ ท่ีบ่งช้ีถึงข้อดีและข้อจำกัดที่เกิดขึ้นในระหว่างการดําเนินงานน้ันๆ
อาจเรียกการประเมินประเภทนี้ว่า เป็นการประเมินเพื่อการป รับปรุง 2. การประเมินผลรวม
(SummativeEvaluation) เป็นบทบาทของการประเมินเม่ือกิจกรรมหรือโครงการใดๆ ส้ินสุดลงเพื่อเป็นตัว
บง่ ช้ถี ึงคณุ คาความสำเร็จของโครงการนั้นๆ จงึ อาจเรยี กการประเมนิ ประเภทนีว้ ่าเปน็ การประเมนิ สรปุ รวม

นอกจากนี้สครีฟเวน ยังได้เสนอสิ่งท่ีต้องประเมินออกเป็นส่วนสำคัญอีก 2 ส่วน คือ 1. การประเมิน
เกณฑ์ภายใน (Intrinsic Evaluation) เป็นการประเมินในส่วนที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพของเครื่องมือท่ีใช้ในการ
เกบ็ ข้อมลู รวมท้ังคุณภาพของคณุ ลกั ษณะต่างๆ ที่เกีย่ วข้องกับการดำเนินโครงการ 2. การประเมนิ ความคุ้มค่า
(Payoff Evaluation) เป็นการประเมินในส่วนท่ีเกี่ยวข้องกับคุณภาพของโครงการ ทฤษฎีหรือสิ่งอ่ืนๆ ของ
โครงการเป็นการประเมนิ ในสว่ นซง่ึ เปน็ ผลที่มตี ่อผ้รู ับบรกิ ารจากการดำเนินโครงการ

สามารถสรุปได้ว่า สครีฟเวนให้ความสำคัญต่อการประเมินเกณฑ์ภายในมากแตข่ ณะเดียวกัน จะต้อง
ตรวจสอบผลผลิตในเชิงสัมพันธ์ของตัวแปรระหวา่ งกระบวนการกับผลผลิตอืน่ ๆ ท่เี กิดขึน้ ดว้ ย แนวคดิ ทางการ
ประเมินของสครีฟเวนได้พัฒนาไปจากแนวคิดเดิมของการประเมินท่ียึดตามวัตถุประสงค์แต่เพียงอย่างเดียว
มาเปน็ การประเมนิ ที่มุ่งเน้นถึงผลผลิตต่างๆ ท่ีเกิดขนึ้ จากการทำกจิ กรรม หรือโครงการใดๆ ในทุกด้านโดยให้
ความสนใจต่อผลผลติ ต่างๆ ทเ่ี กดิ ขน้ึ ทั้งท่ีเปน็ ผลโดยตรง

16

หลักวงจรคุณภาพเดมมิง่ “PDCA”
วงจรการควบคุมคุณภาพ (PDCA Cycle) หรือ วงจรเดมมิ่ง (Deming Cycle) คือ แนวคิดการ

พัฒนาการทำงานเพ่ือควบคุมคุณภาพงานให้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง พัฒนามาจากแนวคิดของวอล์ทเตอร์
ซิวฮาร์ท (Walter Shewhart) นักสถิติในงานอุตสาหกรรม ต่อมาแนวคิดน้ีเริ่มเป็นท่ีรู้จักกันมากขึ้นเม่ือ เอด
วาร์ด เดมม่ิง (W.Edwards Deming) นักจัดการบริหารคุณภาพ ได้นำเสนอและเผยแพร่ใช้เป็นเคร่ืองมือ
สำหรับการปรับปรุงกระบวนการทำงานของพนักงานภายในโรงงานให้ดีข้ึนซ่ึงจะใช้ในการค้นหาปัญหา
อปุ สรรคในขนั้ ตอนการทำงานโดยพนักงาน จนเปน็ ท่รี ู้จกั กันในชื่อวา่ วงจรเดมมง่ิ หรอื วงจร PDCA

แนวคิดวงจร PDCA เป็นแนวคิดท่ีง่ายไม่ซับซ้อน สามารถนำไปใช้ได้ในเกือบจะทุกกิจกรรมจึงทำให้
เปน็ ท่ีรู้จกั กันอย่างแพร่หลายมากขน้ึ ทว่ั โลก PDCA เป็นอักษรนำของภาษาองั กฤษ 4 คำคือ
1. การวางแผน (Plan) คือ การวางแผนการดำเนินงาน เพื่อให้เกิดการทำงานที่ได้ผลงาน การปรับปรุง
เปลี่ยนแปลง การพัฒนาสิ่งใหม่การแก้ปัญหาท่ีเกิดขึ้นจากการปฏิบัติงาน มีส่วนท่ีสำคัญเช่นการกำหนด
เป้าหมาย วัตถุประสงค์การจัดอันดับความสำคัญของเป้าหมาย กำหนดการดำเนินงานกำหนดระยะเวลาการ
ดำเนินงาน กำหนดผู้รับผิดชอบดำเนินการ และกำหนดงบประมาณท่ีจะใช้การวางแผนที่ดีควรต้องเกิดจาก
การศกึ ษาท่ดี ีมีการวางแผนไว้รัดกมุ รอบคอบปรับเปล่ยี นได้ตามความเหมาะสมของงานและเหตุการณแ์ ผนท่ีได้
ต้องช่วยในการคาดการณ์สิ่งที่เกิดข้ึนและสามารถช่วยลดความสูญเสียที่อาจเกิดข้ึนได้การวางแผนควรมีการ
กำหนด

- การกำหนดเปา้ หมาย
- วตั ถุประสงค์
- กำหนดผ้รู ับผดิ ชอบ
- ระยะเวลาดำเนินการ
- งบประมาณที่กำหนด
- มีการเสนอเพอ่ื ขออนมุ ัติก่อนดำเนนิ การ เปน็ ตน้
2. ปฏิบัติตามแผน (Do) คือ การดำเนินการเพ่ือให้ได้ตามแผนที่มีการกำหนดไว้อาจมีการกำหนดโครงสร้าง
คณะทำงานรองรับการดำเนินการเช่น คณะกรรมการ ฯลฯ กำหนดวิธีในการดำเนินงานข้ันตอน ผู้ดูแล
รับผดิ ชอบ ผตู้ รวจสอบและทำการประเมนิ ผล การปฏิบัตกิ ารควรมี
- มีคณะทำงานคอยควบคมุ กำหนดนโยบาย ตดิ ตามตรวจสอบการทำงาน
- มีการกำหนดขน้ั ตอนที่ชัดเจน
- มีวิธกี ารดำเนินการทส่ี ามารถดำเนินการไดจ้ ริง ไมย่ ากจนเกนิ ความสามารถของผู้ท่จี ะทำ
- มผี รู้ บั ผดิ ชอบดำเนนิ การท่ชี ัดเจน เพยี งพอ
- มีระยะเวลาทีก่ ำหนดทีเ่ หมาะสม
- มงี บประมาณในการทำงาน เป็นตน้
3. ตรวจสอบการปฏิบัติตามแผน (Check) คือ ขั้นตอนท่ีเริ่มเม่ือมีการดำเนินโครงการตามข้อ 2 ควรจะต้องทำ
การประเมินผลการดำเนินงานว่าเป็นไปตามแผนงานที่กำหนดไว้หรือไม่ อาจประเมินในส่วนการประเมินผล
งานการดำเนินการ การประเมนิ ผลการดำเนนิ ตามขั้นตอน และการประเมินผลงานตามเป้าหมายของแผนงาน
ที่ได้มีการกำหนดไว้ในการประเมินน้ีเราอาจสามารถทำได้เองโดยใช้คณะกรรมการที่รับผิดชอบในแผนการ
ดำเนนิ งานภายในเป็นการประเมินตนเอง แต่การใช้คนภายในอาจทำให้ขาดความน่าเชอ่ื ถอื หรือประเมินผลได้
ไม่เต็มที่ จะดีหากมีการตั้งคณะประเมินจากภายนอกมาช่วย เพราะน่าจะได้ผลการประเมินที่ดีกว่าทีมงาน
ภายใน เพราะอาจมปี ญั หาช่วยกนั ประเมนิ ผลให้ดีเกินจรงิ แนวทางท่ีจะใช้ในการประเมนิ เช่น
- กำหนดวิธกี ารประเมนิ แยกให้ชดั เจนสามารถทำไดง้ ่าย
- มรี ปู แบบการประเมนิ ตรงกับเป้าหมายในงานที่ทำ

17
- มีคณะผูจ้ ะเขา้ ทำการประเมนิ ท่ีมีความร้เู พยี งพอ
- แนวคำตอบผลของการประเมนิ ตอ้ งสามารถตอบโจทย์และตรงกับวตั ถุประสงคท์ ีว่ างไว้
- เน้นการประเมนิ ปญั หา / จุดออ่ น / ข้อดี/ จุดแขง็ ทีม่ ใี นการดำเนินการ เป็นตน้
4. ปรับปรุงแก้ไขพัฒนาต่อเน่ือง (Act) คือ การนำผลประเมินที่ได้มาทำการวิเคราะห์เพื่อพัฒนาแผนในการ
ปรับปรุงต่อไป ในส่วนนี้ควรจะเสนอแนะปัญหาแนวทางการปรับปรงุ แก้ไขปัญหา หรือการพฒั นาระบบท่ีมอี ยู่
แลว้ ให้ดยี ิ่งขน้ึ ไปอกี ไม่มที ่สี นิ้ สุด
- ทำการระดมสมอง เพือ่ หาทางแก้ไข ปัญหา / จุดออ่ น / ขอ้ ดี/ จดุ แขง็ ท่ีพบ ปรับปรงุ ใหด้ ีย่ิงขึ้น
- นำผลทไ่ี ด้จากการระดมสมองเสนอผู้เกีย่ วขอ้ งเพอ่ื พิจารณาใชว้ างแผนตอ่ ไป
- กำหนดกลยุทธใ์ นการจัดทำแผนครงั้ ต่อไป
- กำหนดผรู้ ับผดิ ชอบดำเนนิ งานคร้งั ต่อไป
การพัฒนาระบบ PDCA เป็นการปรับปรุงพัฒนาระบบงานท่ีมีอยู่แล้วให้ดีย่ิงข้ึนไปอีก โดยควรจะมี
การดำเนินการตอ่ เนอ่ื งไม่มีท่ีสิ้นสดุ จงึ เป็นท่ีมาขอแนวคิดการควบคุมคุณภาพและการพัฒนาอย่างต่อเน่ือง ใน
การปรบั ปรงุ พฒั นาตอ่ เนื่องควรมีการดำเนนิ การ
วงจรคุณภาพ คือ กระบวนการทำงานที่เปรียบกับวงล้อ ที่เต็มไปด้วยขั้นตอน 4 ขั้นตอน คือ การ
วางแผน การดำเนินตามแผน การตรวจสอบ การปรับปรุง แก้ไข เมื่อวงล้อหมุนไป 1 รอบ จะทำให้งาน
บรรลุผลตามเป้าหมายที่กำหนดไว้และหากการดำเนินงานนั้นเกิดสะดุด แสดงว่ามีบางข้ันตอนหายไป (โทชา
วะ 2544 : 117-122)

หลักการประเมินโครงการรูปแบบ PDCA ดังน้ี

ภาพท่ี 1 หลักการ PDCA

18

หลกั การประเมนิ ผลโครงการรูปแบบ CIPP MODEL
“การประเมิน คือ กระบวนการของการระบุหรือ กำหนดข้อมูลท่ีต้องการ รวมถึงการดำเนินการเก็บ

ข้อมูล และนำข้อมูลท่ีเก็บมาแล้วนั้นมาจัดทำให้เกิดสารสนเทศท่ีมีประโยชน์เพื่อนำเสนอสำหรับใช้เป็น
ทางเลือกในการประกอบการตัดสินใจ” (Danial . L. Stufflebeam) แบบจำลอง(Model) หมายถึง วิธีการ
ส่ือสารทางความคิด ความเข้าใจ ตลอดจนจินตนาการที่มีต่อปรากฎการณ์หรือเร่ืองราวใดๆ ให้ปรากฏโดยใช้
การสื่อในลักษณะต่างๆ เช่น แผนภูมิแผนผังระบบสมการ และรูปแบบอ่ืน เป็นต้น เพ่ือให้เข้าใจได้ง่าย และ
สามารถนำเสนอเรื่องราวได้อย่างมีระบบ การประเมินผลโครงการน้ัน มีแนวคิดและโมเดลหลายอย่าง ณ ที่นี้
ขอเสนอแนวคิดและโมเดล การประเมินแบบซิปป์หรือ CIPP Model ของสตัฟเฟิลบีม (Danial . L.
Stufflebeam) เพราะเป็นโมเดลท่ีได้รบั การยอมรบั กันทวั่ ไปในปัจจุบัน

แนวคิด การประเมินของสตัฟเฟิลบีม (Stufflebeam’s CIPP Model) ในปี ค.ศ. 1971สตัฟเฟิลบีม
และคณะ ได้เขียนหนังสือทางการประเมินออกมาหนึ่งเล่ม ชื่อ “Educational Evaluation and decision
Making” หนังสือเล่มนี้ได้เป็นที่ยอมรับกันอย่างกว้างขวาง เพราะให้แนวคิดและวิธีการทางการวัดและ
ประเมินผล ได้อย่างน่าสนใจและทันสมัยด้วย นอกจากนั้นสตัฟเฟิลบีมก็ได้เขียนหนังสือเก่ียวกับการประเมิน
และรูปแบบของการประเมินอีกหลายเล่มอย่างต่อเนื่อง จึงกล่าวได้ว่า ท่านผู้นี้เป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการ
พัฒนาทฤษฎีการประเมิน จนเป็นที่ยอมรับกันทั่วไปในปัจจุบัน เรียกว่า “CIPP Model”“CIPP MODEL”
เป็นการประเมินที่เป็นกระบวนการต่อเนื่อง มีจุดเน้นท่ีสำคัญ คือ ใช้ควบคู่กับการบริหารโครงการ เพื่อหา
ขอ้ มลู ประกอบการตัดสนิ ใจ อย่างต่อเนื่องตลอดเวลา วตั ถุประสงค์การประเมิน คอื การให้สารสนเทศเพื่อการ
ตดั สนิ ใจ เน้นการแบ่งแยกบทบาทของการทำงานระหว่างฝา่ ยประเมินกับ ฝ่ายบรหิ ารออกจากกนั อยา่ งเดน่ ชัด
กล่าวคือฝ่ายประเมินมีหน้าที่ระบุจัดหา และนำเสนอสารสนเทศให้กับฝ่ายบริหาร ส่วนฝ่ายบริหารมีหน้าท่ี
เรียกหาข้อมูล และนำผลการประเมินที่ได้ไปใช้ประกอบการตัดสินใจ เพ่ือดำเนินกิจกรรมใดๆ ท่ีเก่ียวข้อง
แล้วแต่กรณีทั้งนี้เพื่อป้องกันการมีอคติในการประเมิน และ เขาได้แบ่งประเด็นการประเมินผลออกเป็น 4
ประเภท คอื

1. การประเมินด้านบริบทหรือสภาวะแวดล้อม (Context Evaluation : C) เป็นการประเมินให้ได้
ขอ้ มลู สำคัญ เพือ่ ช่วยในการกำหนดวัตถุประสงค์ของโครงการ ความเป็นไปได้ของโครงการ เป็นการตรวจสอบ
ว่าโครงการท่ีจะทำสนองปัญหาหรือความต้องการจำเป็นที่แท้จริงหรือไม่วัตถุประสงค์ของโครงการชัดเจน
เหมาะสม สอดคล้องกับนโยบายขององค์การ หรือ นโยบายหน่วยเหนือหรือไม่ เป็นโครงการท่ีมีความเป็นไป
ไดใ้ นแงข่ องโอกาสทจี่ ะไดร้ บั การสนับสนุนจากองคก์ รตา่ งๆ หรือไม่ เปน็ ต้น

การประเมินสภาวะแวดล้อมจะช่วยในการตัดสินเกี่ยวกับเร่ือง โครงการควรจะทำในสภาพแวดล้อม
ใด ตอ้ งการจะบรรลเุ ป้าหมายอะไร หรอื ต้องการบรรลวุ ัตถุประสงคเ์ ฉพาะอะไร เป็นตน้

2. การประเมินปัจจัยเบอ้ื งต้นหรือปัจจัยปอ้ น (Input Evaluation : I) เป็นการประเมินเพอ่ื พจิ ารณา
ถึง ความเป็นไปได้ของโครงการ ความเหมาะสม และความพอเพียงของทรัพยากรท่ีจะใช้ในการดำเนิน
โครงการ เชน่ งบประมาณ บคุ ลากร วัสดุอุปกรณเ์ วลา รวมทงั้ เทคโนโลยีและแผนการดำเนนิ งาน เป็นต้น

การประเมินผลแบบน้ีจะทำโดยใช้เอกสารหรืองานวิจัยท่ีมีผู้ทำไว้แล้ว หรือใช้วิธีการวิจัยนำร่องเชิง
ทดลอง (Pilot Experimental Project) ตลอดจนอาจให้ผู้เช่ียวชาญ มาทำงานให้อย่างไรก็ตาม การ
ประเมินผลน้ีจะต้องสำรวจสิ่งที่มีอยู่เดิมก่อนว่ามีอะไรบ้าง และตัดสินใจว่าจะใช้วิธีการใดใช้แผนการ
ดำเนินงานแบบไหน และต้องใชท้ รัพยากรจากภายนอกหรอื ไม่

3. การประเมินกระบวนการ (Process Evaluation : P) เป็นการประเมินระหว่างการดำเนินงาน
โครงการ เพื่อหาข้อบกพร่องของการดำเนินโครงการ ท่ีจะใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนา แก้ไขปรับปรุง ให้การ
ดำเนินการช่วงต่อไปมีประสิทธิภาพมากขึ้น และเป็นการตรวจสอบกิจกรรม เวลาทรัพยากรท่ีใช้ในโครงการ
ภาวะผู้นำ การมีส่วนร่วมของประชาชนในโครงการ โดยมีการบันทึกไว้เป็นหลักฐานทุกข้ันตอน การประเมิน

19

กระบวนการนี้จะเป็นประโยชน์อย่างมากต่อการค้นหาจุดเด่น หรือจุดแข็ง (Strengths) และจุดด้อย
(Weakness) ของนโยบาย/แผนงาน/โครงการ มกั จะไมส่ ามารถศึกษาไดภ้ ายหลงั จากสน้ิ สุดโครงการแล้ว

การประเมินกระบวนการจะมีบทบาทสำคัญในเรื่องการให้ข้อมูลย้อนกลับเป็นระยะๆ เพ่ือการ
ตรวจสอบการดำเนินของโครงการโดยท่วั ไป การประเมินกระบวนการมจี ุดม่งุ หมาย คอื

3.1 เพือ่ การหาข้อบกพร่องของโครงการ ในระหวา่ งทม่ี กี ารปฏบิ ัติการ หรือการดำเนนิ งานตามแผนน้ัน
3.2 เพอื่ หาข้อมูลต่างๆ ทีจ่ ะนำมาใช้ในการตัดสนิ ใจเกย่ี วกบั การดำเนนิ งาน ของโครงการ
3.3 เพ่อื การเกบ็ ข้อมลู ต่างๆ ทไ่ี ด้จากการดำเนินงานของโครงการ

4. การประเมินผลผลิต (Product Evaluation : P) เป็นการประเมินเพื่อเปรียบเทียบผลผลิตท่ีเกิด
ขี้นกับวัตถุประสงค์ของโครงการ หรอื ความตอ้ งการ/ เปา้ หมายที่กำหนดไว้รวมท้ังการพิจารณาในประเด็นของ
การยุบ เลิก ขยาย หรือปรับเปลี่ยนโครงการและการประเมินผล เรื่องผลกระทบ (Impact) และผลลัพธ์
(Outcomes ) ของนโยบาย / แผนงาน / โครงการ โดยอาศัยข้อมูลจากการประเมินสภาวะแวดล้อม ปัจจัย
เบ้ืองต้นและกระบวนการร่วมด้วย จะเห็นได้ว่า การประเมินแบบ CIPP เป็นการประเมินที่ครอบคลุม
องค์ประกอบของระบบท้ังหมด ซ่ึงผู้ประเมินจะต้องกำหนดวัตถุประสงค์ของการประเมินที่ครอบคลุมท้ัง 4
ด้าน กำหนดประเด็นของตัวแปรหรือตัวชี้วัดกำหนดแหล่งข้อมูลผู้ให้ข้อมูล กำหนดเคร่ืองมือการประเมิน
วิธีการท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลกำหนดแนวทางการวิเคราะห์ข้อมูล และเกณฑ์การประเมินที่ชัดเจนเม่ือ
พิจารณาถึงช่วงเวลาของการประเมินผลโครงการ เพื่อจำแนกประเภทของการประเมินผลโครงการโดย
ละเอยี ดแล้ว เราสามารถจำแนกไดว้ า่ การประเมินผลโครงการมี 4 ระยะดงั ต่อไปน้ี

1) การประเมินผลโครงการก่อนการดำเนินงาน (Pre-evaluation) เป็นการประเมนิ วา่ มีความจำเป็น
และความเป็นไปได้ในการกำหนดให้มีโครงการหรือแผนงานนั้นๆหรือไม่ บางคร้ังเรียกการประเมินผล
ประเภทน้ีว่า การศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) หรือการประเมินความต้องการที่จำเป็น (Need
Assessment)

2) การประเมินผลโครงการขณะดำเนินงาน (On-going Evaluation) เป็นการประเมินผลโครงการ
เพอื่ ติดตามความกา้ วหนา้ ของการดำเนินงาน (Monitoring) และการใช้ทรพั ยากรตา่ งๆ

3) การประเมินผลโครงการเมอ่ื ส้ินสุดการดำเนนิ งาน (Post-evaluation) เปน็ การประเมนิ ว่าผลของ
การดำเนนิ งานน้ัน เป็นไปตามวัตถปุ ระสงคข์ องโครงการทีว่ างไวห้ รือไม่

4) การประเมินผลกระทบจากการดำเนินโครงการ (Impact Evaluation) เป็นการประเมินผล
โครงการ ภายหลังจากการสิ้นสุดการดำเนินโครงการหรือแผนงาน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบผลการ
ดำเนนิ งานที่เกิดข้นึ ซึง่ อาจจะไดร้ ับอทิ ธพิ ลจากการมีโครงการหรือปจั จยั อืน่ ๆ

20

หลกั การ CIPP MODEL มรี ูปแบบดังนี้

ภาพท่ี 2 หลกั การประเมนิ ผลรูปแบบ CIPP MODEL

ตวั แปรตน้ กรอบแนวคดิ การประเมินผลโครงการ

ขอ้ มูลท่ัวไป ตัวแปรตาม
1.เพศ
2.อายุ ประเมนิ ผลโครงการตามวงจรเดมมิ่ง
3.อาชพี PDCA ตามแนวคิด CIPP MODEL
4.รายได้ ของสตัฟเฟลบีม ( D.L. Stufflebeam,
5.การศกึ ษา 1997 , P. 261-265 )

1.ประเมินสภาวะแวดลอ้ ม
2.ประเมินการปัจจัยเบื้องต้น
3.ประเมินกระบวนการ
4.กระประเมินผลผลติ

ภาพที่ 3 กรอบแนวคดิ การประเมินผลโครงการ

บทท่ี 3

วธิ กี ารประเมินโครงการ

วธิ กี ารประเมนิ ของโครงการน้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอญั ชันและมะกรูด มีกระบวนการข้ันตอนใน
การวเิ คราะห์ข้อมูล ดงั น้ี

1. รูปแบบการประเมินโครงการ
2. วิธีการประเมินโครงการ
3. ประชากรกลุม่ ตวั อยา่ ง
4. เครอื่ งมือที่ใช้ในการประเมินโครงการ
5. การเก็บรวบรวมขอ้ มูล
6. การวเิ คราะห์ผลการประเมินงาน

รปู แบบการประเมินโครงการ

การประเมินโครงการนำ้ ยาเชด็ กระจกจากดอกอัญชันและมะกรูด ใชร้ ปู แบบการประเมนิ โครงการ
แบบ CIPP MODEL ของสตัฟเฟลบมี ( D.L. Stufflebeam, 1997 , P. 261-265 ) ดังน้ี

ประเมินสภาวะแวดลอ้ ม • หลกั การ
( Context Evaluation ) • วตั ถุประสงคข์ องโครงการ
• เป้าหมายของโครงการ
• การเตรียมการภายในโครงการ

ประเมินการปัจจยั เบ้ืองตน้ • บคุ ลากร
( Input Evaluation ) • วสั ดุอุปกรณ์
• เครื่องมือเครื่องใช้
• งบประมาณ

ประเมินกระบวนการ • การดาเนินโครงการ
( Process Evaluation ) • กิจกรรมการดาเนินงานตาม

โครงการ
• การนิเทศติตามกากบั
• การประเมินผล

22

การประเมินผลผลิต • ผลการดาเนินโครงการ
( Product Evaluation ) • คุณภาพผเู้ รียน

ภาพท่ี 4 รปู แบบการประเมินโครงการแบบ CIPP MODEL

วิธีการประเมนิ โครงการ

โครงการน้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรูด มีวิธีการประเมินโครงการแบบ การประเมิน
โครงการคณุ ภาพ โดยใช้หลักการวงจรเดมม่งิ “PDCA” ตามแนวคดิ “CIPP” ของสตัฟเฟลบมี ในการติดตาม
และประเมนิ ผลโครงการ

ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง
ประชากรและกลุ่มตวั อย่างที่ใช้ในการตดิ ตามและประเมินผลโครงการน้ำยาเช็ดกระจกจากดอก

อญั ชันและมะกรูด มีดังน้ี

ประชากร จำนวน
10 คน
1. ประชากรในพื้นทผี่ ทู้ ี่เก่ียวข้อง
กบั การดำเนนิ โครงการนำ้ ยาเช็ด
กระจกจากดอกอญั ชนั และมะกรดู

กลุ่มตวั อย่าง จำนวน
10 คน
1. ประชากรในพนื้ ที่ผู้ท่ีสนใจใน
โครงการนำ้ ยาเช็ดกระจกจากดอก
อัญชันและมะกรดู

ประชากร คือ ประชาชนในพ้ืนท่ี ผู้ทีเ่ ก่ยี วข้องกับการดำเนินโครงการน้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอญั ชัน
และมะกรดู ในหมู่ท่ี 7 ตำบลขนุ ทะเล อำเภอเมอื งสรุ าษฎรธ์ านี จังหวดั สรุ าษฎรธ์ านี จำนวน 10 คน

กลมุ่ ตัวอยา่ ง คือ ประชาชนในพน้ื ท่ี ผู้ที่สนใจในโครงการน้ำยาเชด็ กระจกจากดอกอัญชันและมะกรดู
ในหมูท่ ่ี 7 ตำบลขนุ ทะเล อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี จงั หวัดสุราษฎร์ธานี จำนวน 10 คน

โดยใช้วิธีสมุ่ ตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง

เครอื่ งมือทใ่ี ช้ในการประเมินโครงการ
การประเมินโครงการใช้กระบวนการศึกษาคุณภาพ จึงมีเครื่องมือที่ใช้ในการประเมินโครงการน้ำยา

เช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรูด ประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์ การสังเกต การมีส่วนร่วมและการ
บันทึกภาพ

23

โดยเครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการประเมินโครงการน้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชนั และมะกรดู มจี ำนวน 10 ฉบบั ดังน้ี
ส่วนท่ี 1 เป็นแบบสอบถามข้อมูลท่ัวไปของผู้ตอบแบบสัมภาษณ์ได้แก่ เพศ อายุอาชีพ การศึกษา

รายได้ โดยเป็นแบบปลายเปดิ ให้เลอื กตอบในชอ่ งที่กำหนด
ส่วนที่ 2 เป็นแบบสัมภาษณ์ประเมินโครงการน้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรูด โดยใช้

แบบประเมิน CIPP MODEL มี 4 ดา้ น จำนวน 12 ข้อ ดังน้ี
1.1 สภาวะดา้ นสิ่งแวดล้อม ( Context ) จำนวน 3 ขอ้ โดยผู้ตอบสามารถเขียนรายละเอียดการตอบ

ไดอ้ ยา่ งอิสระ
1.2 ด้านปจั จยั ( Input ) จำนวน 3 ข้อ โดยผู้ตอบสามารถเขยี นรายละเอยี ดการตอบได้อยา่ งอิสระ
1.3 ดา้ นกระบวนการ ( Process ) จำนวน 3 ข้อ โดยผตู้ อบสามารถเขยี นรายละเอยี ดการตอบได้
อย่างอิสระ
1.4 ด้านผลผลติ ( Product ) จำนวน 3 ข้อ โดยผู้ตอบสามารถเขียนรายละเอียดการตอบได้อยา่ ง
อิสระ
ส่วนท่ี 3 ปัญหาหรือข้อเสนอแนะเก่ียวกับการดำเนินงานในการจัดทำโครงการ โดยเป็นแบบ

ปลายเปดิ ให้ตอบแบบบรรยาย

การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล
การเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้จัดทำได้ทำหน้าที่ในการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง โดยมีรายละเอียดใน

การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ดังน้ี
1. แจง้ ใหท้ ราบลว่ งหน้าวา่ จะทำการติดต่อสัมภาษณ์เพ่ือในการประเมนิ ผลโครงการ
2. ใช้เวลาสมั ภาษณ์ 5-10 นาทตี อ่ คนโดยประมาณ
3. ผูส้ มั ภาษณ์ทำการตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์เพือ่ นำไปใช้ในการเคราะหข์ ้อมลู ของโครงการ
ต่อไป

การวเิ คราะหผ์ ลการประเมินโครงการ
วิเคราะหผ์ ลการประเมินโครงการ โดยใช้การวิเคราะห์เชิงคุณภาพ

การวิเคราะหข์ อ้ มลู เชิงคุณภาพ
ขน้ั ตอนท่ี 1 การทำให้ข้อมลู ทีเ่ กบ็ รวบรวมได้มาอยู่ในสภาพทสี่ ะดวกและงา่ ยต่อการนำไปวิเคราะห์
ขั้นตอนท่ี 2 ทำดัชนีหรือกำหนดรหัสของข้อมูล ซึ่งเป็นการจัดระเบียบของเนื้อหา คือ การจัดข้อมูล

โดยการใชค้ ำหลกั ซง่ึ อาจมีลักษณะเปน็ วลีหรือข้อความหนง่ึ มาแทนขอ้ มลู ทีบ่ ันทกึ ไว้ในบันทึกภาคสนาม ส่วนท่ี
เป็นการบันทึกพรรณนา หรือบันทึกละเอียดส่วนใดส่วนหนึ่ง เพ่ือแสดงให้เห็นข้อมูลในการบันทึกพรรณนา
ส่วนนั้นเป็นเร่ืองเกี่ยวกับอะไร คำหลัก (วลีหรือข้อความ) ที่กำหนดข้ึนนั้นจะมีลักษณะเป็นมโนทัศน์
(concep) ซ่ึงมีความหมายแทนข้อมูลบันทึกละเอียดส่วนนั้น การจัดทำดัชนีหรือกำหนดรหัสของข้อมูลน้ัน
สามารถทำได้สองลักษณะคือ จัดทำไว้ล่วงหน้าก่อนเช้า สนามวิจัยและจัดทำตามข้อมูลท่ีปรากฎในบันทึก
ภาคสนาม หรือบางคร้ังเรียกว่า การจัดทำดัชนีข้อมูลแบบนิรนัย (deductive coding) และแบบอุปนัย
(inductive coding)

ขนั้ ตอนท่ี 3 การกำจัดขอ้ มูลหรือสรา้ งข้อสรุปชั่วคราว น้คี ือการสรุปเชือ่ มโยงดัชนีคำหลักเข้าด้วยกัน
ภายหลังจากผา่ นกระบวนการทำดัชนหี รอื กำหนดรหสั ขอ้ มูลแล้ว การเชื่อมโยงคำหลักเขา้ ด้วยกนั จะเขียนเป็น
ประโยคข้อความที่แสดงความสัมพันธร์ ะหว่างคำหลัก และจากการเช่ือมโยงดชั นคี ำหลักในตัวอย่างเข้าด้วยกัน
จะเห็นว่าทำให้ขอ้ มูลในส่วนที่เป็นบันทึกละเอียดท่ีมีอยู่มากน้ันถูกลดทอนหรือตัดทิ้งไปจนกระท่ังเหลือเฉพาะ
ประเด็นหลกั ๆ ท่นี ำมาผกู โยงกันเท่าน้นั

24

ขั้นตอนท่ี 4 สร้างบทสรุป คือ การเขียนเช่ือมโยงข้อสรุปช่ัวคราวที่ผ่านการตรวจสอบยืนยันแล้วเข้า
ดว้ ยกัน การเชื่อมขอ้ สรุปช่ัวคราวนั้นจะเช่ือมโยงตามลำดับข้อสรุปแต่ละข้อสรุปเป็นบทสรุปยอ่ ยและเช่ือมโยง
บทสรุปย่อยแตล่ ะบทสรปุ เขา้ ดว้ ยกันเปน็ บทสรุปสดุ ทา้ ย

ขั้นตอนท่ี 5 พิสูจน์ความนา่ เช่ือถือของผลการวิเคราะหเ์ พือ่ พิสูจน์ว่าบทสรุป น้ันสอดคล้องกันหรอื ไม่
ซง่ึ โดยท่ัวไปแล้วการพิสูจน์นับทสรปุ ก็มักจะเป็นการพิจารณาวธิ ีการเกบ็ ข้อมูลน้ันว่าดำเนินการอย่างรอบคอบ
หรือไม่เพียงไร และข้อมลู ที่เก็บรวบรวมไดม้ านนั้ เปน็ ข้อมลู ท่ีมคี ุณภาพน่าเชอ่ื ถอื หรือไม่

บทท่ี 4

ผลการประเมินโครงการ

การนำเสนอผลการประเมินโครงการ ผู้รับผดิ ชอบโครงการได้นำเสนอผลการประเมินโครงการ
จำนวน 4 ตอน ดงั นี้

ตอนท่ี 1 ผลการประเมนิ โครงการน้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชนั และมะกรดู หลงั การดำเนนิ
โครงการแสดงดงั ตารางต่างๆ คือ
ตารางที่ 1 ผลการประเมินโครงการด้านสภาวะแวดลอ้ ม
ตารางท่ี 2 ผลการประเมินโครงการด้านปจั จัย
ตารางที่ 3 ผลการประเมนิ โครงการดา้ นกระบวนการ
ตารางที่ 4 ผลการประเมนิ โครงการด้านผลผลติ

ตอนที่ 1 ผลการประเมนิ โครงการนำ้ ยาเชด็ กระจกจากดอกอญั ชันและมะกรูด
ตารางท่ี 1 ผลการประเมนิ โครงการดา้ นสภาวะแวดล้อม

ผู้ประเมินด้านสภาวะแวดล้อม สรุปจากข้อคำถามที่ 1. ดอกอัญชันและมะกรูดใน

คนท่ี 1 ทอ้ งถ่นิ มเี พียงพอตอ่ การทำน้ำยาเช็ดกระจก
ดอกอญั ชันและมะกรูดในท้องถ่ินมีเพียงพอต่อการทำ
คนที่ 2 น้ำยาเชด็ กระจก
คนท่ี 3 ดอกอัญชันและมะกรดู ในท้องถน่ิ มเี ปน็ จำนวนมาก
คนที่ 4 ดอกอัญชนั ในท้องถิ่นมแี ทบจะทุกบ้าน
ดอกอัญชนั และมะกรูดมเี พียงพอต่อการทำนำ้ ยาเชด็
คนที่ 5 กระจก
คนท่ี 6 ดอกอัญชนั ในท้องถิน่ มเี ยอะมาก
มดี อกอัญชันเพยี งพอต่อการทำน้ำยาเชด็ กระจกจาก
คนที่ 7 ดอกอญั ชนั และมะกรดู
ดอกอญั ชันมีเป็นจำนวนมากเพยี งพอต่อการทำน้ำยา
คนที่ 8 เชด็ กระจก
คนที่ 9 ดอกอัญชนั มีเยอะมากดอกอัญชนั สามารถเก็บมาใชไ้ ด้
ดอกอญั ชันมีเพียงพอต่อการทำน้ำยาเช็ดกระจกเยอะ
คนที่ 10 พอสมควร
ดอกอัญชันมีเยอะมากท่จี ะทำน้ำยาเช็ดกระจก

สรุปผลจากขอ้ คำถามที่ 1 ผู้ตอบแบบสอบถามตอบวา่ ผลการประเมนิ โครงการน้ำยาเช็ดกระจกจาก
ดอกอัญชันและมะกรูด ในท้องถิ่นมีเพียงพอต่อการทำน้ำยาเช็ดกระจก จากการสอบถามน้ัน สรุปได้ว่า ดอก
อัญชันและมะกรูดมีเพียงพอมีเป็นจำนวนมาก ในหมู่บ้านมีแทบทุกหลังคาเรือนหาได้ง่ายไม่ต้องซ้ือ แถมยัง
ประหยัดคา่ ใช้จ่าย

26

ผปู้ ระเมนิ ด้านสภาวะแวดล้อม สรุปจากข้อคำถามท่ี 2. ดอกอัญชันและมะกรูด
คนท่ี 1 เป็นประโยชน์ต่อการนำมาทำน้ำยาเช็ดกระจก
คนท่ี 2
คนที่ 3 ดอกอญั ชันและมะกรดู เป็นประโยชนต์ ่อการทำนำ้ ยา
คนที่ 4 เช็ดกระจก
คนที่ 5
คนท่ี 6 ดอกอญั ชนั และมะกรดู เป็นส่วนผสมทส่ี ำคญั ต่อการ
คนที่ 7 ทำนำ้ ยาเช็ดกระจก
คนท่ี 8
คนท่ี 9 ดอกอญั ชันและมะกรูดเป็นส่งิ ที่สามารถนำมาทำ
คนที่ 10 น้ำยาเช็ดกระจก

ดอกอัญชันและมะกรูดมปี ระโยชน์เพราะเป็น
ผลิตภณั ฑ์ทที่ ำให้กระจกสะอาดขึน้

ดอกอญั ชันและมะกรูดเป็นสง่ิ สำคญั ตอ่ การใชท้ ำ
นำ้ ยาเช็ดกระจก

ดอกอัญชันและมะกรดู เป็นประโยชนต์ อ่ การนำมาทำ
นำ้ ยาเชด็ กระจกเปน็ ส่วนประกอบสำคัญ

ดอกอัญชันและมะกรูดเปน็ สว่ นผสมท่ีสำคญั ทจี่ ะ
นำมาทำนำ้ ยาเช็ดกระจก

ดอกอญั ชนั และมะกรดู เป็นส่ิงที่สามารถนำมาทำ
น้ำยาเชด็ กระจกได้

ดอกอัญชนั และมะกรดู มปี ระโยชนใ์ นการทำนำ้ ยา
เชด็ กระจก

ดอกอญั ชันและมะกรูดเปน็ สง่ิ สำคัญตอ่ การใชท้ ำ
น้ำยาเชด็ กระจก

สรุปผลจากข้อคำถามที่ 2 ผู้ตอบแบบสอบถามตอบว่าผลการประเมินโครงการน้ำยาเช็ดกระจกจาก
ดอกอัญชันและมะกรดู จากการสอบถามน้ัน สรุปได้ว่า ดอกอัญชันและมะกรูดเป็นประโยชน์ต่อการนำมาทำ
น้ำยาเช็ดกระจก และเป็นส่วนผสมสำคัญต่อการใช้นำมาทำน้ำยาได้ดีและเป็นประโยชน์ในการนำวัตถุดิบมา
ทำน้ำยาเช็ดกระจก

ผ้ปู ระเมินดา้ นสภาวะแวดล้อม 27

คนท่ี 1 สรุปจากข้อคำถามท่ี 3. ดอกอัญชันและมะกรูดท่ี
มีอยู่ในท้องถิ่นสร้างเสริมการอนุรกั ษ์ส่งิ แวดล้อม
คนที่ 2 ดอกอัญชนั และมะกรดู ท่ีมอี ย่ใู นท้องถ่ินเปน็ การปลูก
เพอื่ ทำอาหารและขนม
คนที่ 3 ดอกอัญชันและมะกรดู ที่มีอยู่ในทอ้ งถน่ิ สง่ เสริมการ
เพ่อื ใชใ้ นการนำไปทำงานและทำอาหาร
คนที่ 4 ดอกอัญชันและมะกรดู ที่มอี ย่ใู นทอ้ งถิ่นปลกู ข้ีนเพ่ือ
เกบ็ มาทำน้ำด่มื
คนที่ 5 ดอกอัญชันและมะกรูดที่มอี ยู่ในทอ้ งถ่นิ ปลูกเพือ่
สง่ เสรมิ การอนรุ ักษ์สิ่งแวดล้อม
คนท่ี 6 ดอกอัญชันและมะกรูดท่ีมอี ยู่ในทอ้ งถ่ินทป่ี ลกู ไว้เป็น
จำนวนมาก
คนที่ 7 เปน็ การปลกู ดอกอัญชนั และมะกรูดเพอื่ ทำอาหาร
คนที่ 8 และขนม
คนท่ี 9 ส่งเสริมการปลูกเพ่อื ใช้ในการนำไปทำอาหาร
คนที่ 10 ดอกอญั ชนั ปลูกข้นี เพ่ือเกบ็ มาทำน้ำด่ืมดอกอญั ชัน
ปลกู เพื่อสง่ เสริมการอนุรักษส์ ิ่งแวดลอ้ ม
ปลกู เพื่อสง่ เสรมิ การอนรุ ักษ์สิ่งแวดลอ้ ม

สรุปผลจากข้อคำถามท่ี 3 ผูต้ อบแบบสอบถามตอบว่าผลการประเมินโครงการน้ำยาเช็ดกระจกจาก
ดอกอัญชันและมะกรูด จากการสอบถามนั้น สรุปได้วา่ ในท้องถ่นิ มีการสร้างเสริมการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมโดย
ดอกอัญชันและมะกรูด เป็นการปลูกไว้ตามธรรมชาติและปลูกไว้ทำอาหารเครื่องดื่มและปลูกไว้ เพ่ืออนุรักษ์
สิ่งแวดล้อมอกี ดว้ ย

28

ตารางท่ี 2 ผลการประเมนิ โครงการด้านปจั จยั

ผปู้ ระเมนิ ดา้ นปจั จยั สรุปจากข้อคำถามท่ี 1. น้ำยาเช็ดกระจกจากดอก
อัญชันและมะกรูดลดค่าใช้จ่ายจากการซื้อน้ำยา
คนท่ี 1 เช็ดกระจกท่วั ไป
คนท่ี 2
คนท่ี 3 ประหยัดค่าใช้จา่ ยภายในบ้านได้
คนที่ 4
ลดคา่ ใชจ้ า่ ยภายในบา้ นได้
คนท่ี 5
ไม่ต้องนำเงนิ ไปซ้ือน้ำยาเชด็ กระจกแบบทว่ั ไป
คนที่ 6 นำ้ ยาเช็ดกระจกจากดอกอญั ชันและมะกรดู แบบ
ผลิตเอง ลดคา่ ใช้จ่ายภายในบ้าน
คนที่ 7
คนท่ี 8 นำ้ ยาเชด็ กระจกจากดอกอญั ชันและมะกรูด
คนท่ี 9 ประหยัด และไมต่ ้องซื้อนำ้ ยาเช็ดกระจกที่แพง
คนที่ 10 ประหยัดค่าใช้จ่ายได้เยอะในการซือ้ น้ำยาเช็ดกระจก
แบบท่วั ไป

ลดคา่ ใช้จา่ ยภายในบา้ นได้

ไม่ต้องนำเงนิ ไปซื้อนำ้ ยาเช็ดกระจกท่ีมีราคาแพง

ลดคา่ ใช้จ่ายในการซอ้ื น้ำยาเช็ดกระจก
ไมต่ ้องซ้ือน้ำยาเชด็ กระจกท่แี พง

สรุปผลจากข้อคำถามที่ 1 ผู้ตอบแบบสอบถามตอบว่าผลการประเมินโครงการน้ำยาเช็ดกระจกจาก
ดอกอัญชันและมะกรูด จากการสอบถามน้ัน สรุปได้ว่า ลดค่าใช้จ่ายจากการซื้อน้ำยาเช็ดกระจกแบบทั่วไป
น้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรูด ทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายไม่ต้องไปซ้ือน้ำยาเช็ดกระจกที่มีราคา
แพง

29

ผูป้ ระเมนิ ดา้ นปจั จยั สรุปจากข้อคำถามที่ 2. บรรจุภัณฑ์ของผลิตภัณฑ์

คนท่ี 1 มีความเหมาะสมกะทดั รัด
คนที่ 2 บรรจภุ ณั ฑ์ของผลิตภณั ฑ์เล็กใช้งานงา่ ย เก็บวางงา่ ย
คนที่ 3 บรรจภุ ณั ฑ์ของผลิตภณั ฑ์มีความเหมาะสม
คนท่ี 4 บรรจภุ ัณฑข์ องผลติ ภัณฑ์มีความสวยงาม
บรรจุภัณฑข์ องผลิตภณั ฑ์มีความเหมาะสมดกี ับการ
คนท่ี 5 ใชง้ าน
คนที่ 6 บรรจุภณั ฑข์ องผลติ ภัณฑ์มีความเล็ก กะทัดรัด
คนท่ี 7 ขวดเล็กใชง้ านงา่ ย พกพาสะดวก
คนท่ี 8 เหมาะสมกับขวดใส่น้ำยาเชด็ กระจก
คนที่ 9 มคี วามเหมาะสมดเี ปน็ ขวดสเปรย์ใช้ฉดี ง่าย
คนท่ี 10 เหมาะสมดีกับการใชง้ านฉดี ไดส้ ะดวก
ขวดเหมาะสมไม่ใหญเ่ กินไป

สรปุ ผลจากข้อคำถามที่ 2 ผ้ตู อบแบบสอบถามตอบวา่ ผลการประเมนิ โครงการนำ้ ยาเชด็ กระจกจาก
ดอกอัญชนั และมะกรูด จากการสอบถามนั้น สรุปได้ว่า บรรจุภัณฑ์ของผลิตภัณฑ์มีความเหมาะสมกะทดั รัด มี
ความเหมาะสมและกะทัดรัดเหมาะกับการใช้งานและเกบ็ ไดง้ า่ ย

30

ผู้ประเมินด้านปจั จัย สรุปจากข้อคำถามที่ 3. ในการทำนำ้ ยาเช็ดกระจก

คนท่ี 1 จากดอกอัญชันและมะกรูดเป็นประโยชน์ต่อชุมชน
หรอื ไม่
คนท่ี 2 นำ้ ยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชนั และมะกรดู เป็น
คนที่ 3 ประโยชน์แก่ชุมชนสำหรับคนที่แพ้น้ำนำ้ ยาเช็ด
คนท่ี 4 กระจกแบบท่ัวไป
คนท่ี 5 นำ้ ยาเชด็ กระจกจากดอกอญั ชันและมะกรูดเป็น
คนที่ 6 ประโยชน์ตอ่ ชมุ ชน

คนท่ี 7 นำ้ ยาเชด็ กระจกจากดอกอัญชันและมะกรดู ทำใหค้ น
คนที่ 8 ชุมชนประหยดั คา่ ใชจ้ า่ ยและเปน็ ประโยชน์
คนที่ 9 นำ้ ยาเชด็ กระจกจากดอกอญั ชนั และมะกรูดทำให้คน
คนท่ี 10 ในชมุ ชนไม่ต้องซ้ือนำ้ ยาเชด็ กระจกราคาแพง
น้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชนั และมะกรดู เป็น
ประโยชน์มาก
นำ้ ยาเช็ดกระจกจากดอกอญั ชันและมะกรูดเป็น
ประโยชนแ์ ก่ชุมชนคนท่แี พน้ ำ้ ยาเชด็ กระจกแบบมี
สารเคมี
นำ้ ยาเชด็ กระจกจากดอกอญั ชันและมะกรูดเป็น
ประโยชน์ สามารถใช้ได้แบบปลอดสารเคมี
เปน็ ประโยชน์ทีท่ ำให้คนในชมุ ชนไม่ต้องซ้อื น้ำยาเชด็
กระจกราคาแพง
ทำใหค้ นชมุ ชนประหยดั คา่ ใช้จ่ายในการซ้ือนำ้ ยาที่
แพงเปน็ ประโยชน์
น้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอญั ชนั และมะกรดู เป็น
ประโยชน์มาก

สรุปผลจากข้อคำถามท่ี 3 ผ้ตู อบแบบสอบถามตอบว่าผลการประเมินโครงการน้ำยาเช็ดกระจกจาก
ดอกอัญชันและมะกรูด จากการสอบถามนั้น สรุปได้ว่าเป็นประโยชน์ต่อคนในชุมชนช่วยให้คนในชุมชน
ประหยัดค่าใชจ้ า่ ยทำให้คนในชมุ ชนไม่ต้องเสียเงนิ ซอ้ื นำ้ ยาเช็ดกระจกทม่ี ีราคาแพง

31

ตารางท่ี 3 ผลการประเมินโครงการดา้ นกระบวนการ

ผ้ปู ระเมนิ ด้านกระบวนการ สรุปจากข้อคำถามท่ี 1. ดอกอัญชันและมะกรดู เป็น
วตั ถุดิบทห่ี าไดใ้ นท้องถิน่
คนที่ 1 ดอกอญั ชันและมะกรูดหาไดง้ ่าย
คนท่ี 2 ดอกอญั ชนั และมะกรูดหาไดง้ ่ายมมี ากในชุมชน
คนที่ 3 ดอกอัญชนั และมะกรดู หาไดเ้ กอื บทุกบ้าน
คนท่ี 4 ดอกอัญชนั และมะกรูดบ้านส่วนใหญ่ปลกู ไว้
คนที่ 5 ดอกอัญชันและมะกรดู หาง่ายเปน็ พชื ท่ีไมต่ ้องซ้ือ
คนที่ 6 ดอกอญั ชันและมะกรดู หาได้ง่ายในท้องถ่นิ
คนที่ 7 ดอกอญั ชนั และมะกรูดหาได้ง่ายในทอ้ งถนิ่
คนท่ี 8 ดอกอัญชันและมะกรูดหาได้เกอื บทุกบ้านในทอ้ งถิ่น
คนท่ี 9 ดอกอญั ชันและมะกรูด คนในทอ้ งถ่นิ ปลกู ไว้
คนท่ี 10 ดอกอัญชันและมะกรดู หาง่ายเป็นส่ิงทไี่ ม่ต้องหาซ้อื

สรุปผลจากข้อคำถามท่ี 1 ผู้ตอบแบบสอบถามตอบว่าผลการประเมินโครงการน้ำยาเช็ดกระจกจาก
ดอกอัญชันและมะกรูด จากการสอบถามนั้น สรุปได้วา่ เป็นวัตถุดิบที่หาได้ในท้องถ่ิน และเป็นพืชที่ไม่ต้องซ้ือ
หาไดแ้ ทบทกุ หลังคาเรือน และหาได้ง่ายในชมุ ชน ในทอ้ งถ่ิน

32

ผ้ปู ระเมนิ ด้านกระบวนการ สรุปจากข้อคำถามท่ี 2. น้ำยาเช็ดกระจกจากดอก
อัญชนั และมะกรดู ผลิตแบบธรรมชาติ
คนท่ี 1 นำ้ ยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชนั และมะกรดู ผลติ แบบ
ธรรมชาติ
คนที่ 2
นำ้ ยาเชด็ กระจกจากดอกอัญชันและมะกรูดไม่ใช้
คนท่ี 3 สารเคมผี สม
น้ำยาเชด็ กระจกจากดอกอัญชันและมะกรูดผลติ งา่ ย
คนท่ี 4 ไมต่ ้องใชส้ ารเคมี

คนท่ี 5 น้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรูดผลิตที่
บ้านเองไดง้ า่ ยและมีความเป็นธรรมชาติ
คนที่ 6 นำ้ ยาเช็ดกระจกทำจากดอกอัญชันและมะกรดู ที่เปน็
คนท่ี 7 ธรรมชาติ

คนที่ 8 นำ้ ยาเช็ดกระจกเป็นการผลิตแบบธรรมชาติ
คนที่ 9
คนที่ 10 น้ำยาเชด็ กระจกไม่ใชส้ ารเคมีผสมในการทำน้ำยาเช็ด
กระจก

น้ำยาเชด็ กระจกผลิตงา่ ยใชว้ ตั ถุดบิ แบบธรรมชาติ

น้ำยาเช็ดกระจกเป็นการผลติ ทงี่ า่ ยทำได้เองทบ่ี ้าน

น้ำยาเชด็ กระจกทำจากวัตถดุ ิบทม่ี อี ยูต่ ามธรรมชาติ
จากดอกอัญชันและมะกรดู

สรุปผลจากข้อคำถามท่ี 2 ผ้ตู อบแบบสอบถามตอบว่าผลการประเมินโครงการน้ำยาเช็ดกระจกจาก
ดอกอัญชันและมะกรูด จากการสอบถามน้ัน สรปุ ไดว้ ่า นำ้ ยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรูด ผลิตแบบ
ธรรมชาติไมใ่ ชส้ ารเคมี ผลติ เองไดง้ า่ ยจากวตั ถุดิบธรรมชาติ

ผปู้ ระเมินดา้ นกระบวนการ 33

คนที่ 1 สรุปจากข้อคำถามท่ี 3. น้ำยาเช็ดกระจกจากดอก
คนที่ 2 อัญชันและมะกรูดไม่มีสารเคมีที่เป็นอันตรายและ
คนที่ 3 ใช้งานได้สะดวก
คนที่ 4 น้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอญั ชนั และมะกรูดไมม่ ีสาร
คนที่ 5 ท่ีเปน็ อันตราย
คนที่ 6 น้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอญั ชันและมะกรดู ไม่มี
คนที่ 7 สารเคมี
คนที่ 8 น้ำยาเชด็ กระจกจากดอกอัญชันและมะกรูด
คนท่ี 9 สัมผสั เเล้วไม่แพ้ไมค่ ัน
คนที่ 10 นำ้ ยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรูดไม่มี
สารเคมผี สม
น้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอญั ชนั และมะกรูดไมม่ ี
อาการแพเ้ มือ่ สมั ผัส
นำ้ ยาเช็ดกระจกจากดอกอญั ชันและมะกรดู ไมม่ ี
สารเคมี
นำ้ ยาเชด็ กระจกจากดอกอญั ชนั และมะกรดู ไมม่ ี
สารเคมี
น้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอญั ชันและมะกรูดไมม่ ีสาร
ทีเ่ ป็นอนั ตราย
นำ้ ยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรูด
สมั ผสั เเลว้ ไมแ่ พ้ไม่คนั
นำ้ ยาเชด็ กระจกจากดอกอญั ชนั และมะกรูดไมม่ ีสาร
ท่เี ป็นอันตราย

สรุปผลจากข้อคำถามท่ี 3 ผ้ตู อบแบบสอบถามตอบว่าผลการประเมนิ โครงการน้ำยาเช็ดกระจกจาก
ดอกอัญชันและมะกรูด จากการสอบถามน้ัน สรปุ ได้ว่า ไม่มีสารเคมีที่เป็นอันตรายและใช้งานได้สะดวก ไม่ใช้
สารเคมีในการทำน้ำยาเช็ดกระจก เหมาะสมกับการใช้งานสำหรับคนท่ีแพ้สารเคมี เพราะไม่มีสารอันตรายทำ
ใหแ้ พแ้ ละระคายเคือง

34

ตารางที่ 4 ผลการประเมินโครงการดา้ นผลผลติ

ผู้ประเมนิ ดา้ นผลผลติ สรุปจากข้อคำถามที่ 1. น้ำยาเช็ดกระจกจากดอก
อัญชันและมะกรูดใช้เช็ดกระจกได้สะอาดและนำ
คนท่ี 1 ใช้ในชีวิตประจำวนั ได้
คนท่ี 2
คนที่ 3 น้ำยาเชด็ กระจกจากดอกอญั ชนั และมะกรูดเช็ดแล้ว
คนที่ 4 สะอาด
คนท่ี 5
คนที่ 6 นำ้ ยาเช็ดกระจกจากดอกอญั ชนั และมะกรดู เชด็ แล้ว
คนท่ี 7 กระจกแวว
คนที่ 8
คนที่ 9 น้ำยาเชด็ กระจกจากดอกอัญชนั และมะกรูดเช็ดฝุ่น
คนที่ 10 ออกไดด้ ี

นำ้ ยาเชด็ กระจกจากดอกอญั ชนั และมะกรดู เชด็ ทำ
ความสะอาดกระจกได้

น้ำยาเชด็ กระจกจากดอกอัญชนั และมะกรดู เชด็ ฝนุ่
ออกไดส้ ะอาด

นำ้ ยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรูดเช็ดฝุ่น
ออกไดส้ ะอาด

น้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรดู เช็ดทำ
ความสะอาดกระจกได้

น้ำยาเชด็ กระจกจากดอกอญั ชันและมะกรูดเช็ดฝุ่น
ออกไดด้ ี

นำ้ ยาเช็ดกระจกจากดอกอญั ชนั และมะกรูดเช็ดแล้ว
กระจกแวว

นำ้ ยาเชด็ กระจกจากดอกอญั ชันและมะกรูดเชด็ แล้ว
สะอาด

สรุปผลจากข้อคำถามท่ี 1 ผู้ตอบแบบสอบถามตอบว่าผลการประเมินโครงการน้ำยาเช็ดกระจกจาก
ดอกอัญชันและมะกรูด จากการสอบถามน้ัน สรุปได้ว่า ใช้เช็ดกระจกได้สะอาดและนำใช้ในชีวิตประจำวันได้
ใช้เชด็ กระจกได้สะอาดฝนุ่ ท่ีเกาะบนกระจกออกไดด้ ีทำให้กระจกหายหมอง

35

ผปู้ ระเมนิ ด้านผลผลิต สรุปจากข้อคำถามที่ 2. น้ำยาเช็ดกระจกจากดอก

คนที่ 1 อัญชนั และมะกรูดมกี ลนิ่ หอม
นำ้ ยาเชด็ กระจกจากดอกอญั ชันและมะกรดู มีกลน่ิ
คนท่ี 2 หอม
น้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอญั ชันและมะกรูดมีกลิ่น
คนท่ี 3 หอมจากมะกรดู
น้ำยาเชด็ กระจกจากดอกอัญชนั และมะกรดู มีกลนิ่
คนท่ี 4 หอมจากมะกรูด
คนท่ี 5 มะกรูดกับอนั ชนั มกี ลิน่ ที่หอมตามธรรมชาติ
คนที่ 6 มะกรดู กบั อันชันมกี ลิ่นหอมอ่อนๆ
นำ้ ยาเชด็ กระจกจากดอกอญั ชันและมะกรดู มีกลน่ิ
คนที่ 7 หอมจากมะกรดู
คนท่ี 8 มะกรดู กบั อันชันมีกล่นิ ท่หี อมตามธรรมชาติ
คนท่ี 9 มะกรูดกบั อนั ชนั มีกลิ่นหอมอ่อนๆ
น้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชนั และมะกรดู มีกลิ่น
คนที่ 10 หอมจากมะกรดู
นำ้ ยาเชด็ กระจกจากดอกอัญชันและมะกรดู มีกลน่ิ
หอม

สรุปผลจากข้อคำถามที่ 2 ผตู้ อบแบบสอบถามตอบว่าผลการประเมินโครงการน้ำยาเช็ดกระจกจาก
ดอกอัญชันและมะกรูด จากการสอบถามนั้น สรุปได้ว่า น้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรูดมีกล่ิน
หอมออ่ นๆ จากมะกรดู เปน็ กลิ่นธรรมชาติ ไมแ่ ตง่ กล่นิ เป็นกล่นิ หอมจากธรรมชาติ

36

ผู้ประเมินด้านผลผลติ สรุปจากข้อคำถามท่ี 3. น้ำยาเช็ดกระจกจากดอก
คนที่ 1
คนที่ 2 อัญชนั และมะกรดู ไรส้ ารเคมีทท่ี ำให้เกิดอันตราย
คนท่ี 3 น้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรูดไมม่ ีการ
คนที่ 4 แพ้
คนท่ี 5 น้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรดู ใช้แลว้ ไม่
คนที่ 6 คัน
คนท่ี 7 นำ้ ยาเช็ดกระจกจากดอกอญั ชันและมะกรดู ไม่มี
คนที่ 8 สารเคมี
คนที่ 9 นำ้ ยาเชด็ กระจกจากดอกอญั ชันและมะกรูดใชแ้ ลว้ ไม่
คนท่ี 10 ระคาย
นำ้ ยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชนั และมะกรดู ไม่มี
สารเคมีปนเปื้อน
น้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอญั ชนั และมะกรดู ไม่มี
สารเคมีปนเปื้อน
นำ้ ยาเชด็ กระจกจากดอกอัญชนั และมะกรูดใช้แลว้ ไม่
ระคาย
น้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชนั และมะกรูดไมม่ ี
สารเคมี
นำ้ ยาเช็ดกระจกจากดอกอญั ชันและมะกรดู ใช้แลว้ ไม่
คนั
นำ้ ยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชนั และมะกรดู ไมม่ ีการ
แพ้

สรุปผลจากข้อคำถามที่ 3 ผู้ตอบแบบสอบถามตอบว่าผลการประเมินโครงการน้ำยาเช็ดกระจกจาก
ดอกอัญชันและมะกรูด จากการสอบถามนั้น สรุปได้ว่าน้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรูดไม่มี
สารเคมีท่ีเกดิ อนั ตราย ไมม่ แี พ้ระคายเคอื ง ไมม่ สี ารเคมีปนเปื้อนผลิตแบบธรรมชาตไิ มม่ ีสารเคมี

บทที่ 5

สรุปผล อภปิ ราย และขอ้ เสนอแนะ

รูปแบบการประเมิน

การประเมินโครงการน้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรดู ในรูปแบบการประเมนิ แบบ CIPP
MODEL โดยประเมนิ ในดา้ นสภาวะแวดล้อม (Context) ด้านปจั จยั (Input) ดา้ นกระบวนการ (Process)
และดา้ นผลผลิต (Product)

1. ด้านสภาวะแวดล้อม
ผลการประเมินโครงการด้านสภาวะแวดล้อม ดอกอัญชันและมะกรูดมีเพียงพอ เพราะในชุมชน

นิยมปลูกกันไว้เป็นจำนวนมาก และยังหาใช้งานได้ง่าย ประหยัดค่าใช้จ่าย ดอกอัญชันและมะกรูดเป็น
ประโยชน์และเป็นสว่ นผสมสำคัญต่อการใช้นำมาทำน้ำยาเช็ดกระจกได้ดี และเป็นประโยชน์ในการนำวัตถุดิบ
มาทำน้ำหมักดอกอัญชันและมะกรูด ซึ่งดอกอัญชันและมะกรูดเป็นการปลูกไว้ตามธรรมชาติและปลูกไว้
ทำอาหารเคร่ืองดม่ื อกี ท้ังยังปลกู ไว้เพ่ืออนุรักษ์วิ่งแวดล้อมอีกด้วย

2. ดา้ นปจั จยั
ผลการประเมินโครงการด้านปัจจัย น้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรูด ทำให้ประหยัด

ค่าใช้จ่ายไม่ต้องไปซ้ือน้ำยาเช็ดกระจกท่ีมีราคาแพง น้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรูดมีราคาที่ถูก
กว่าน้ำยาเช็ดกระจกทั่วไป มีความเหมาะสมและกะทัดรัดเหมาะกับการใช้งานและเก็บได้ง่าย เป็นประโยชน์
ต่อคนในชุมชนช่วยให้คนในชุมชนประหยัดค่าใช้จ่าย ทำให้คนในชุมชนไม่ต้องเสียเงินซื้อน้ำยาเช็ดกระจกที่มี
ราคาแพง

3. ดา้ นกระบวนการ
ผลการประเมนิ โครงการดา้ นกระบวนการ ดอกอัญชันและมะกรูด เป็นวัตถุดิบที่หาได้ง่ายและเป็น

พืชท่ีไม่ต้องซ้ือ หาได้ง่าย เพราะในชุมชน ในท้องถิ่นนิยมปลูก น้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรูด
ผลิตแบบธรรมชาติไม่ใช้สารเคมี ผลิตเองได้ง่ายเพราะผลิตจากวัตถุดิบธรรมชาติ ใช้งานแล้วไม่แพ้สารเคมี
เหมาะสมกบั การใชง้ านและทกุ วยั ทจ่ี ะใชไ้ ม่มสี ารอนั ตรายทำใหแ้ พแ้ ละระคายเคือง

4. ดา้ นผลผลติ
ผลการประเมินโครงการด้านผลผลิต น้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรูด เช็ดกระจกได้

สะอาดทั้งทำความสะอาดฝุ่นท่ีเกาะออกได้ดี น้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรูด มีกล่ินหอมอ่อนๆ
จากมะกรูดไมม่ ีแต่งกล่ินเป็นกล่ินหอมจากธรรมชาติ ไมม่ ีสารเคมีท่ีเกิดอันตรายไม่แพ้ระคายเคือง ไม่มีสารเคมี
ปนเปือ้ น จากการผลิตแบบธรรมชาติ

38

สรปุ ผลการประเมินโครงการ

ผลการประเมินโครงการหลังการดำเนินงานสรุปได้ว่า น้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรูด
เม่ือนำน้ำหมักชวี ภาพจากดอกอญั ชนั ไปใช้ทำความสะอาดกระจกเงา ผลปรากฏว่า กระจกเงา มีความเงาวาว
ไม่มีคราบสกปรกเหลืออยู่นอกจากนั้นน้ำมันหอมจากผิวมะกรูดยังมีสรรพคุณในการไล่แมลงต่างๆ รวมท้ังยุง
อกี ด้วย

ข้อเสนอแนะสำหรบั นำผลการประเมินไปใช้ มดี ังนค้ี ือ

1. นำน้ำยาเชด็ กระจกจากดอกอัญชันและมะกรูดใชเ้ ชด็ กระจกใหส้ ะอาดขึ้นได้จริง
2. นำ้ ยาเชด็ กระจกจากดอกอัญชนั และมะกรูดประหยัดค่าใช้จา่ ยภายในครัวเรือนไดเ้ พราะใชว้ ตั ถุดิบธรรมชาติ
ในการทำนำ้ ยาเชด็ กระจก
3. น้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชนั และมะกรูดผลติ แบบธรรมชาติไรส้ ารเคมี
4. นำน้ำหมักชีวภาพจากดอกอัญชันไปใช้ประโยชน์อย่างอื่นได้ เช่น ทำปุ๋ย บำบัดน้ำเสียแก้ไขท่อตัน กำจัด
กล่นิ ล้างหอ้ งน้ำ เปน็ ตน้

ขอ้ เสนอแนะสำหรับหัวข้อการประเมินตอ่ ไป คือ

1. นำพชื ผัก ผลไม้ ดอกไมช้ นิดอนื่ ทมี่ ีอยใู่ นท้องถิ่นมาทำเป็นนำ้ หมกั ชีวภาพ
2. ดอกอัญชนั และมะกรูดเปน็ การปลูกไว้ตามธรรมชาติสามารถนำไปทำอาหารและเคร่ืองดื่มได้
3. ผิวมะกรูดมสี รรพคุณในการไล่แมลงตา่ งๆ รวมท้ังยงุ อกี ด้วย

บรรณานกุ รม

แนวคิดและทฤษฎดี า้ นการบริหารจัดการ. (2562). [ออนไลน์]. เข้าถงึ ได้จาก : https://bit.ly/3nWHcmq
(วันทค่ี ้นข้อมูล : 20 ตลุ าคม 2564).

แนวคดิ ทฤษฎกี ารเรียนรู้. (2556). [ออนไลน์]. เข้าถึงไดจ้ าก : https://bit.ly/2ZRZFYO
(วันทีค่ น้ ข้อมูล : 20 ตุลาคม 2564).

แนวคดิ ทฤษฎี และงานวจิ ัยท่ีเกี่ยวขอ้ ง. (ม.ป.ป.). [ออนไลน]์ . เข้าถงึ ได้จาก : https://bit.ly/3bDuYt8
(วันทค่ี น้ ข้อมูล : 20 ตลุ าคม 2564).

นำ้ ยาเช็ดกระจกจากอัญชนั และมะกรูด. (2561). [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : https://sites.google.com/
site/kailuet09/prawati-phu-cad-tha (วนั ทคี่ ้นข้อมูล : 17 ตลุ าคม 2564).

สรรพคุณและประโยชน์ของดอกอัญชัน. (ม.ป.ป.). [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ได้จาก : https://bit.ly/3k5lDPv
(วันทค่ี น้ ข้อมลู : 19 ตุลาคม 2564).

สรรพคณุ และประโยชน์ของมะกรูด. (ม.ป.ป.). [ออนไลน]์ . เข้าถึงไดจ้ าก : https://bit.ly/3bIjaFP
(วันทีค่ ้นข้อมลู : 19 ตุลาคม 2564).

Unknown. (2557). โครงานวิทยาศาสตร์ [ออนไลน์]. เข้าถงึ ได้จาก : https://bit.ly/3bIhBHX
(วนั ท่ีคน้ ข้อมูล : 18 ตุลาคม 2564).

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก

แบบประเมนิ โครงการน้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอญั ชันและมะกรูด

42

คำชแ้ี จง แบบประเมิน
โครงการนำ้ ยาเชด็ กระจกจากดอกอญั ชันและมะกรูด
*******************************************************************

แบบประเมนิ โครงการผมสวยด้วยแชมพูมะกรดู มจี ำนวน 3 ตอน ดงั น้ี
ตอนที่ 1 เป็นแบบสอบถามข้อมลู ทว่ั ไปของผู้ตอบแบบสมั ภาษณ์ได้แก่ เพศ อายุ อาชีพ

การศึกษา รายไดโ้ ดยเปน็ แบบปลายเปิดให้เลือกตอบในช่องที่กำหนด
ตอนที่ 2 เป็นแบบสัมภาษณ์ประเมินโครงการ โดยใช้แบบประเมิน CIPP MODEL มี 4 ดา้ น

จำนวน 12 ข้อ ดงั น้ี
1. สภาวะดา้ นแวดล้อม ( Context ) จำนวน 3 ข้อ
2. ดา้ นปัจจยั ( Input ) จำนวน 3 ขอ้
3. ดา้ นกระบวนการ ( Process ) จำนวน 3 ขอ้
4. ด้านผลผลิต ( Product ) จำนวน 3 ขอ้
โดยในท้งั 4 ดา้ น ผู้ตอบสามารถเขียนได้อย่างอิสระ
ตอนท่ี 3 ปัญหาหรือข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการดำเนนิ งานในการจดั ทำโครงการ โดยเป็นแบบ
ปลายเปิดให้เลือกเขียนบรรยายในการตอบ

ตอนที่ 1 ข้อมูลท่วั ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
เพศ ( ) ชาย ( ) หญงิ
อายุ .................. ปี
อาชีพ .................................................................................................
ระดับการศึกษา ..................................................................................
รายได้ .................................................................................................

ตอนที่ 2 แบบสัมภาษณป์ ระเมนิ โครงการน้ำยาเช็ดกระจกจากดอกอัญชันและมะกรูด โดยใช้แบบประเมิน
CIPP MODEL มี 4 ด้าน จำนวน 12 ขอ้

ด้านท่ี1 การประเมินบริบทหรอื สภาวะแวดล้อม
1.ดอกอญั ชันและมะกรดู ในท้องถิน่ มเี พียงพอตอ่ การทำน้ำยาเช็ดกระจก
................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................