ข้อ ใด แสดง ให้เห็น ถึง ภูมิปัญญา และ วัฒนธรรม ไทย ด้าน ศิลปกรรม ในสมัยอยุธยา

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ภูมิปัญญาและศิลปวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยาและธนบุรี

คำชี้แจง เลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว

ข้อ ใด แสดง ให้เห็น ถึง ภูมิปัญญา และ วัฒนธรรม ไทย ด้าน ศิลปกรรม ในสมัยอยุธยา

ข้อ ใด แสดง ให้เห็น ถึง ภูมิปัญญา และ วัฒนธรรม ไทย ด้าน ศิลปกรรม ในสมัยอยุธยา

1. ปัจจัยพื้นฐานที่ทำให้เกิดการสร้างสรรค์ภูมิปัญญาไทยสมัยอยุธยาและธนบุรีคืออะไร

2. การนำปลามาทำปลาเค็มเกี่ยวข้องกับปัจจัยที่ทำให้เกิดการสร้างสรรค์ภูมิปัญญาไทยด้านใดมากที่สุด

3. งานศิลปกรรมส่วนใหญ่ในสมัยอยุธยาเกี่ยวข้องกับเรื่องอะไร

ค ความศรัทธาต่อพระพุทธศาสนา

ง ความเป็นอยู่ของเจ้านายและขุนนาง

4. ศิลปกรรมสมัยธนบุรีรับแบบอย่างมาจากไหน

5. พระพุทธรูปปางมารวิชัยได้รับอิทธิพลมาจากศิลปะแบบใด

6. ผลงานชิ้นใดจัดเป็นงานประณีตศิลป์ในสมัยอยุธยา

ข พระพุทธรูปสลักด้วยศิลาทรายสีแดง

ค พระเจดีย์ทรงลังกาวัดพระศรีสรรเพชญ์

ง ประตูโบสถ์ประดับมุกที่วัดพระศรีมหาธาตุ

7. ละครประเภทใดมีการดำเนินเรื่องรวดเร็ว ตลกขบขัน      และโลดโผน

8. ลิลิตโองการแช่งน้ำแต่งขึ้นมาเพื่ออะไร

ค ใช้อ่านในพิธีถือน้ำพระพิพัฒน์สัตยา

ง ให้ขุนนางชั้นผู้ใหญ่นำไปเป็นแนวปฏิบัติ

9. วรรณกรรมต่อไปนี้เรื่องใดให้ข้อมูลทางประวัติศาสตร์มากที่สุด

10. พระราชพิธีเห่เรือจัดขึ้นในเดือนใด

ค ความศรัทธาต่อพระพุทธศาสนา

ง ประตูโบสถ์ประดับมุกที่วัดพระศรีมหาธาตุ

ค ใช้อ่านในพิธีถือน้ำพระพิพัฒน์สัตยา

ห้ามส่งรหัสผ่านใน Google ฟอร์ม

โจทย์ปัญหา

ข้อ ใด แสดง ให้เห็น ถึง ภูมิปัญญา และ วัฒนธรรม ไทย ด้าน ศิลปกรรม ในสมัยอยุธยา

  • ประถม
  • ประวัติศาสตร์

รบกวนด้วยครับ

อยุธยารับศิลปวัฒนธรรมไทยจากสุโขทัยเข้ามาผสมเข้ากับวัฒนธรรมของอยุธยา จนกลายเป็นศิลปวัฒนธรรมของอยุธยาในที่สุด และในระยะต่อมาได้กลายเป็นรากฐานของศิลปวัฒนธรรมไทยในสมัยต่างๆจนถึงปัจจุบัน อยุธยาได้รับวัฒนธรรมจากสุโขทัยมาผสมผสานเข้าด้วยกันจนกลายเป็นศิลปวัฒนธรรมของอยุธยา ซึ่งมีทั้งทางด้านศิลปกรรม อันประกอบด้วย สถาปัตยกรรม ประติมากรรมจิตรกรรม ประณีตศิลป์ และ ศิลปการแสดง นอกจากนี้มีด้านวรรณกรรม ด้านประเพณี และ ด้านพระพุทธศาสนา ศิลปวัฒนธรรมสมัยอยุธยาทั้งในตอนต้นและตอนปลาย ล้วนแต่เป็นวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับสถาบันพระมหากษัตริย์และสถาบันพระพุทธศาสนาแทบทั้งสิ้น หรือที่กล่าวอย่าสั้นๆคือ จาก “วัง” กับ “วัด”ศิลปกรรมต่างๆ จะมีส่วนเกี่ยวข้องทั้งวังและวัดเป็นส่วนใหญ่ ศิลปะการแสดงมาจากวังเป็นส่วนใหญ่และส่วนหนึ่งเป็นของชาวบ้าน วรรณกรรมส่วนใหญ่ได้สะท้อนเรื่องราวในราชสํ านัก และสะท้อนให้เห็นถึงหลักคํ าสอนของพระพุทธศาสนา ศิลปวัฒนธรรมเหล่านี้ได้รับการสืบทอดเป็นมรดกทางวัฒนธรรมมาจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์

    1. ข้อใดคือภูมิปัญญาไทย ?   ก. ผลงานของไทยที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินชีวิต
    ข. เอกลักษณ์เฉพาะและพื้นฐานการใช้ชีวิตของคนไทย
    ค. เอกลักษณ์ที่ถ่ายทอดจากคนรุ่นหนึ่งสู่คนอีกรุ่นหนึ่ง
    ง. วิธีการและผลงานของคนไทยที่เป็นประโยชน์ต่อการดำรงชีวิต
      2. เหตุใดประชาชนทุกภาคส่วนจึงมีความสำคัญของการมีส่วนร่วมอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย ?   ก. ทำให้สังคมน่าอยู่ มีคุณภาพชีวิตที่ดี
    ข. เกิดการพัฒนาทางสังคมและเศรษฐกิจ
    ค. เป็นการสืบสานและรักษาเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม
    ง. ทำให้ประเทศไทยเป็นที่รู้จัก และได้รับการยอมรับจากทั่วโลก
      3. วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทยเกิดขึ้นเพราะมีจุดประสงค์หลายประการ ยกเว้นด้านใด ?   ก. ทำให้สังคมสงบสุข       
    ข. ทำให้ผู้คนมีความสุข
    ค. ทำให้การประกอบอาชีพคล่องตัว 
    ง. ทำให้ความสัมพันธ์กับต่างประเทศดีขึ้น
      4. "สังคมไทยส่วนใหญ่เป็นสังคมชนบท สังคมเกษตร มีส่วนสำคัญในการสร้างสรรค์ภูมิปัญญาที่เป็นนามธรรมในสังคมไทย" ข้อใดมีความสัมพันธ์กับข้อความข้างต้นมากที่สุด ?   ก. โลกทัศน์ด้านพระพุทธศาสนา เรื่องของบาปบุญคุณโทษ
    ข. คติความเชื่อที่เกี่ยวกับธรรมชาติ เช่น เชื่อในพระแม่โพสพ
    ค. การกำหนดข้อห้ามและข้อปฏิบัติทำให้เกิดผลดีต่อการประกอบอาชีพ   
    ง. อิทธิพลแนวคิดความจากศาสนาพราหมณ์-ฮินดู เกี่ยวกับพระพรหมเป็นผู้สร้างทุกสิ่งในโลก
      5. ข้อใด ไม่ใช่ ปัจจัยพื้นฐานที่มีผลต่อการสร้างสรรค์ภูมิปัญญา ?   ก. สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ   
    ข. การลอกเลียนแบบธรรมชาติ 
    ค. ความพยายามที่จะเอาชนะธรรมชาติ      
    ง. ความพยายามที่จะปรับตัวให้เข้ากับธรรมชาติิ        
      6. ข้อใดเป็นภูมิปัญญาที่เกี่ยวข้องกับการประกอบอาชีพ ?
      ก. การทอผ้า              
    ข. การสร้างโบสถ์
    ค. การใช้คันไถไถนา
    ง. การปลูกบ้าน
      7. การแต่งกายของหญิงชาวอยุธยาที่นุ่งโจงกระเบนและห่มผ้าแถบ จัดเป็นภูมิปัญญาด้านใด ?   ก. การดำรงชีวิต
    ข. การประกอบอาชีพ
    ค. การจัดระเบียบสังคม        
    ง. การแสดงออกทางศิลปะ 8. การจัดระบบไพร่โดยให้มีการเข้าเดือน - ออกเดือน และให้มีศักดินา จัดเป็นภูมิปัญญาด้านใด ?   ก. การดำรงชีวิต  
    ข. การประกอบอาชีพ
    ค. การจัดระเบียบสังคม       
    ง. การแสดงออกทางศิลปะ 9. การปลูกฝังให้คนเคารพเทิดทูนในองค์พระมหากษัตริย์ จัดเป็นภูมิปัญญาด้านใด ?
      ก. การดำรงชีวิต        
    ข. การประกอบอาชีพ
    ค. การจัดระเบียบสังคม
    ง. การแสดงออกทางศิลปะ 
      10. ภูมิปัญญาในอดีตที่ไม่มีแล้วในปัจจุบัน คืออะไร ?
      ก. การสร้างที่อยู่อาศัย      
    ข. การประกอบอาชีพ   
    ค. การแต่งกายและกินอาหาร        
    ง. การปกครองและระบบไพร่              
      11. ข้อใด ไม่ใช่ ภูมิปัญญาไทยสมัยอยุธยา ?   ก. หนังสือจินดามณี
    ข. พระมาลัยคำหลวง
    ค. ไตรภูมิพระร่วง
    ง. ระบบไพร่ 12. การนับถือพระพุทธศาสนา จัดเป็นภูมิปัญญาหรือไม่ ?   ก. เป็น  เพราะเป็นการจัดระเบียบสังคม        
    ข. เป็น  เพราะได้รับอิทธิพลจากภายนอก
    ค. ไม่เป็น เพราะไม่เกี่ยวกับธรรมชาติ 
    ง. ไม่เป็น เพราะไม่ใช่การประดิษฐ์ขึ้นมาใหม่
      13. ข้อใดเป็นการแสดงออกที่แสดงให้เห็นถึงความเชื่อด้านจิตวิญญาณ ?   ก. การปลูกบ้านอยู่ริมน้ำ
    ข. การทำบุญในวันออกพรรษา
    ค. การสร้างเจดีย์เพื่อบูชาผู้ล่วงลับ
    ง. การประกอบพิธีถือน้ำพิพัฒน์สัตยา
      14. ข้อใดแสดงให้เห็นการใช้ภูมิปัญญาเพื่อแก้ไขปัญหาและพัฒนาคุณภาพชีวิต ?
      ก. การชลประทาน
    ข. เครื่องถ้วยชามสังคโลก
    ค. ประเพณีชักพระ
    ง. การควบคุมคนในระบบไพร่
      15. ข้อใดคือประเพณี/พิธีกรรม แสดงถึงร่วมมือร่วมใจกันทำงานเพื่อสังคมได้ชัดเจนที่สุด ?   ก. พิธีบูชาแม่ย่านางเรือ
    ข. ประเพณีบุญบั้งไฟ
    ค. พิธีลอยกระทง เผาเทียนเล่นไฟ
    ง. ประเพณีตักบาตรเทโว
      16. การปลูกเรือนของไทยในแต่ละภูมิภาค มีการพัฒนาและปรับปรุงให้สอดคล้องกับเรื่องใดมากที่สุด ?   ก. วิถีการดำรงชีวิต
    ข. ความเชื่อของท้องถิ่น
    ค. ขนบธรรมเนียบประเพณี
    ง. ลักษณะภูมิประเทศ ภูมิอากาศ
      17. เพราะเหตุใดบ้านเรือนไทยในอดีตจึงมีการยกพื้นสูง ?   ก. เป็นที่สำหรับพักผ่อนในยามว่างจากการทำการเกษตร
    ข. ทำให้บ้านเรือนมีความมั่นคงแข็งแรง
    ค. ป้องกันน้ำท่วม ป้องกันสัตว์ร้าย
    ง. ทำให้อากาศปลอดโปร่งเย็นสบาย
      18. จากรูปคือเรือนประเภทใดของไทย ?

    ข้อ ใด แสดง ให้เห็น ถึง ภูมิปัญญา และ วัฒนธรรม ไทย ด้าน ศิลปกรรม ในสมัยอยุธยา

      ก. เรือนเครื่องต้น
    ข. เรือนเครื่องผูก
    ค. เรือนเครื่องสับ
    ง. เรือนคหบดี
      19. จากรูปภาพสามารถพบเรือนนี้ได้ส่วนใหญ่ในภาคใดของไทย ?
    ข้อ ใด แสดง ให้เห็น ถึง ภูมิปัญญา และ วัฒนธรรม ไทย ด้าน ศิลปกรรม ในสมัยอยุธยา

     

    ก. ภาคใต้
    ข. ภาคอีสาน
    ค. ภาคเหนือ
    ง. ภาคกลาง
     

    20. ข้อใดกล่าวถูกต้องที่สุด เกี่ยวกับปัจจัยทางภูมิศาสตร์มีผลต่อการสร้างบ้านเรือนไทยในแต่ละภาค ?   ก. ภาคเหนือ - มีหน้าต่างน้อย การวางตัวเรือน หันข้างเรือนไปทางทิศตะวันออก-ตะวันตก
    ข. ภาคกลาง - เป็นเรือนหมู่ มีชานโล่ง ไม่มุงหลังคา กลางชานมีช่องสำหรับปลูกต้นไม้ให้ร่มเงา
    ค. ภาคอีสาน - มักสร้างเป็นที่พักชั่วคราว รูปทรงเรียบง่าย มีหน้าต่างบานเล็ก ๆ รับลม
    ง. ภาคใต้ - ยกพื้นสูง นิยมเอาท่อนไม้ หิน หรือปูนหล่อเป็นฐานรองรับเสาไม้
      21. "การแห่ปลา" เป็นประเพณีหนึ่งทางภาคเหนือ สอดคล้องกับประเพณีใด และภาคใดของไทย ?   ก. ภาคอีสาน - ประเพณีบุญบั้งไฟ
    ข. ภาคกลาง - การแห่พระเจ้าฝนแสนห่า
    ค. ภาคกลาง - ประเพณีพิธีทำขวัญ
    ง. ภาคอีสาน  - ประเพณีผีตาโขน
      22. พิธีทำขวัญข้าว จะกระทำเมื่อใด ?   ก. ก่อนเริ่มหว่านกล้า
    ข. เมื่อข้าวตั้งท้อง
    ค. เมื่อต้องการเสี่ยงทาย
    ง. เมื่อต้องการเก็บเกี่ยว
      23. ข้อใดเป็นขนมหวานที่มีในงานตรุษสงกรานต์ ?  
      24. "หวด"   เป็นวัสดุอุปกรณ์ในการทำสิ่งใด ?   ก. นึ่งอาหาร
    ข. อบร่ำน้ำปรุง
    ค. อยู่ไฟ
    ง. หุงข้าว
      25. "คนไทยทุกท้องถิ่น บริโภคอาหารที่บำรุงสุขภาพ มีสรรพคุณเป็นยา และมักจะรับประทานเคียงกันกับผักท้องถิ่น..." จากข้อความข้างต้นนั้น คนไทยรับประทานอาหารหลักในข้อใด ?   ก. แกงฮังเล
    ข. แกงกะทิ
    ค. น้ำพริก
    ง. ตำส้ม
      26. อาหารภาคใดมีรสชาติครบทั้งเปรี้ยว หวาน มัน เค็ม เผ็ด ?   ก. ภาคเหนือ
    ข. ภาคใต้
    ค. ภาคกลาง
    ง. ภาคอีสาน
      27. "ขนมฝอยทอง ทองหยิบ และทองหยอด" แสดงให้เห็นถึงสิ่งที่เกิดขึ้นในสังคมไทยในอดีตมากที่สุด ?   ก. มีการใช้ไข่ในส่วนประกอบหลักของขนมไทย
    ข. การได้รับอิทธิพลจากการเข้ามาชาติตะวันตก คือ โปรตุเกส
    ค. การเผยแผ่ความเชื่อเกี่ยวกับขนมมงคลของคนไทย
    ง. แสดงให้เห็นถึงความเป็นเอกลักษณ์ของการขนมไทย
      28. การสวมเสื้อราชปะแตน ริเริ่มในสมัยใด ?  

    ก. อยุธยาตอนปลาย        
    ข. รัชกาลที่ 3
    ค. รัชกาลที่ 4
    ง. รัชกาลที่ 5
     

    29. "ผ้าที่เกิดจากการทอ โดยใช้เทคนิคการทอขัด เป็นผ้าที่คนไทยในท้องถิ่นนิยมใช้กัน ถือเป็นผ้าสารพัดประโยชน์....." จากข้อความดังกล่าว คือผ้าในข้อใด ?   ก. ผ้าไหมมัดหมี่
    ข. ผ้าขาวม้า
    ค. ผ้าลายน้ำไหล
    ง. ผ้าห่ม (สไบ)
      30. ถ้านักเรียนต้องการย้อมสีจากพืชที่ใช้ในการย้อม จะใช้พืชใดที่สามารถนำมาย้อมเป็นสีของธงชาติไทยได้อย่างน้อย 1 สี ?   ก. แก่นขนุน
    ข. ผลมะเกลือ
    ค. รากยอ
    ง. เปลือกต้นฝาง
      31. สมุนไพรในข้อใดที่ช่วยรักษาอาการแก้ไข้ ขับเสมหะ ?  
      32. "สมุนไพรไทย นำไปใช้เป็นส่วนผสมในเครื่องสำอาง นำไปใช้ทำเป็นยารักษาโรคแทนยาแผนปัจจุบันเกิดประสิทธิภาพในการรักษาได้ดี" เหตุใดจึงกล่าวเช่นนั้น ?   ก. สมุนไพรไทยมีหลายขนาน รักษาได้แทบทุกโรค
    ข. สมุนไพรไทยมีการขึ้นทะเบียนตำรับยาที่ทั่วโลกยอมรับ
    ค. สมุนไพร มีผลข้างเคียงหรืออาการแพ้ต่ำกว่ายาแผนปัจจุบัน
    ง. นักวิทยาศาสตร์ชาวไทยและต่างชาติให้ความสนใจในการศึกษาสมุนไพรไทย
      33. ข้อใดคือลักษณะของภูมิปัญญาไทย ที่เป็นการสร้างความสัมพันธ์ในสังคมเรื่องของการช่วยเหลือแบ่งปันซึ่งกันและกัน ?   ก. พิธีครอบครู
    ข. การลงแขกเกี่ยวข้าว
    ค. พิธีลอยกระทง
    ง. พิธีตรุษสงกรานต์
      34. ภูมิปัญญาด้านที่อยู่อาศัย ในการเลือกทำเลที่อยู่อาศัยมีปัจจัยที่สำคัญคือข้อใด ?   ก. มีอาหารเพียงพอ
    ข. ต้องอยู่ใกล้แหล่งน้ำ
    ค. บ้านเรือนตั้งอยู่ในเขตที่รับลม
    ง. มีผู้คนอาศัยกันอย่างหนาแน่น
      35. การปลูกต้นไม้ใดในบริเวณบ้านของไทยตามคติความเชื่อ ที่เชื่อว่า จะทำให้มีเกียรติมีศักดิ์ศรี ?   ก. ต้นขนุน
    ข. ต้นมะยม
    ค. ต้นยอ
    ง. ต้นมะขาม
      36. กรรมวิธีในการหุงข้าว ที่นำเมล็ดข้าว พร้อมน้ำใส่ลงในกระบอกไม้ไผ่แล้วนำไปเผาเรียกว่าอะไร ?   ก. บ้องข้าว
    ข. หลามข้าว
    ค. เผาข้าว
    ง. เม่าข้าว
      37. "ตุ๊กตาเสียกบาล" เป็นภูมิปัญญาด้านใดของไทยในสมัยสุโขทัย ?   ก. ด้านยารักษาโรค
    ข. ด้านที่อยู่อาศัย
    ค. ด้านไสยศาสตร์
    ง. ด้านเครื่องนุ่งห่ม
      38. วิธีการที่ดีที่สุดในการอนุรักษ์ภูมิปัญญาไทย คือข้อใด ?   ก. จัดแสดงนิทรรศการเกี่ยวกับภูมิปัญญาไทย
    ข. จดสิทธิบัตรหรือทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญา
    ค. ศึกษาหาความรู้ต่อยอดทางภูมิปัญญาไทย
    ง. นำความรู้ทางภูมิปัญญาไทยไปเผยแพร่ให้ผู้อื่นทราบ
      39. การมีส่วนร่วมอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมของภาคประชาชนส่งผลดีต่อประเทศทางด้านใด ?   ก. เป็นการพัฒนาเศรษฐกิจสังคมให้ดีขึ้น
    ข. เป็นการยกระดับคุณภาพชีวิตของสังคมให้ดีขึ้น
    ค. เป็นการทำให้เกิดแหล่งท่องเที่ยวใหม่ ๆ เกิดขึ้น
    ง. เป็นการรักษาและสืบทอดเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม
      40. บุคคลใดกระทำที่มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ภูมิปัญญาไทยที่ถูกต้อง ?   ก. น้อยรับประทานอาหารไทยทุกวัน
    ข. นิดชอบไปเดินดูสินค้าโอท็อปกับคุณแม่
    ค. น้ำชอบซื้อสินค้าอกใหม่จากศูนย์ศิลปาชีพ
    ง. นพเรียนการนวดแผนไทยจากวัดโพธิ์หารายได้เสริม
      41. ปัจจัยใดที่มีความสำคัญที่สุดในการอนุรักษ์สมบัติวัฒนธรรมให้ประสบผลสำเร็จ ?   ก. ให้ความรู้ที่ถูกต้องกับเยาวชน
    ข. ภาครัฐให้การสนับสนุนงบประมาณอย่างเต็มที่
    ค. จัดตั้งหน่วยงานเฉพาะกิจขึ้นมาดูแล
    ง. ระดมผู้มีความรู้ความสามารถมาช่วย
      42. ถ้านักเรียนมีเพื่อนเป็นชาวต่างชาติ และต้องการพาเพื่อนคนนั้นไปท่องเที่ยวในกรุงเทพมหานคร นักเรียนจะเลือกไปย่านประวัติศาสตร์ใดตามการจำแนกประเภทของโบราณสถานของกรมศิลปากร ?   ก. พระที่นั่งอนันตสมาคม
    ข. เกาะรัตนโกสินทร์
    ค. อุทยานแห่งชาติศรีสัชนาลัย
    ง. พระบรมมหาราชวัง
      43. ข้อใดคือแนวทางการดำเนินงานของสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติเพื่อเป็นการสร้างขวัญและกำลังใจแก่ผู้ที่สร้างสรรค์ผลงานศิลปกรรมอันทรงคุณค่า ?   ก. โครงการงานมหกรรมวัฒนธรรมพื้นบ้าน
    ข. การจัดวันอนุรักษ์มรดกไทย
    ค. การจัดตั้งศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย
    ง. การคัดเลือกศิลปินแห่งชาติ
      44. ข้อใดคือแนวทางการดำเนินงานของสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติในการเป็นศูนย์กลางในการให้บริการการศึกษา และส่งเสริมการเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมไทยสาขาต่าง ๆ ?   ก. โครงการงานมหกรรมวัฒนธรรมพื้นบ้าน   
    ข. การจัดวันอนุรักษ์มรดกไทย
    ค. การจัดตั้งศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย
    ง. การคัดเลือกศิลปินแห่งชาติ
      45. ข้อใดคือแนวทางการดำเนินงานของสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติโดยมีการจัดนำเสนอในรูปแบบของนิทรรศการวัฒนธรรม และการแสดงนาฏศิลป์ ?   ก. โครงการงานมหกรรมวัฒนธรรมพื้นบ้าน
    ข. การจัดวันอนุรักษ์มรดกไทย
    ค. การคัดเลือกศิลปินแห่งชาติ
    ง. การจัดตั้งศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย
     

    ภูมิปัญญาไทยด้านศิลปกรรมในสมัยอยุธยา มีอะไรบ้าง

    ได้แก่ ตู้พระธรรม ธรรมาสน์ พระพุทธรูป บานประตู หน้าต่าง หน้าบันพระอุโบสถ ตู้เก็บหนังสือ - ลายรดน้ำ คือการนำทองมาปิดลงบนรักสีดำบนพื้นที่เขียนภาพหรือลวดลายแล้วรดน้ำล้างออก นิยมใช้ในบานประตูโบสถ์วิหาร ตู้พระธรรม ตู้ใส่หนังสือ เป็นต้น - การประดับมุก

    ภูมิปัญญาด้านศิลปกรรมในสมัยธนบุรีคืออะไร

    จิตรกรรม ภาพจิตรกรรมสมัยธนบุรีอาจดูได้จาก ตำราภาพไตรภูมิ (ฉบับหลวง) มีการวาดภาพเกี่ยวกับไตรภูมิหรือโลกทั้งสาม เพื่อปลูกฝังให้คนไทยเกิดความเชื่อในเรื่องบาปบุญคุณโทษ ประพฤติกรรมดี ละเว้นความชั่ว ซึ่งเก็บรักษาอยู่ ณ หอสมุดแห่งชาติ และลวดลายรดน้ำที่ปรากฏบนตู้พระไตรปิฎกและภาพจิตรกรรมสมัยรัชกาลที่ 1 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์

    ภูมิปัญญาไทยในสมัยอยุธยามีคุณค่าอย่างไร

    ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมสมัยอยุธยา เป็นสิ่งที่สะท้อนให้เห็นถึงทักษะ ในการแก้ไขปัญหาการดารงชีวิตของชาวอยุธยาโดยภูมิปัญญามีคุณค่า และความสาคัญต่อสังคมสมัยอยุธยาและสมัยปัจจุบันหลายด้าน เช่น ภูมิปัญญาช่วยสร้างชาติให้มีความมั่นคง เป็นบ่อเกิดความรัก ความสามัคคีของคนในชาติสร้างความภูมิใจ และศักดิ์ศรีเกียรติภูมิให้แก่ คนไทย

    การควบคุมกำลังคนในสมัยอยุธยาได้อาศัยภูมิปัญญาใด

    1. ภูมิปัญญาสมัยอยุธยาและธนบุรี 1. การควบคุมกำลังคน คือ “ระบบไพร่” จะต้องขึ้นสังกัดมูลนาย นอกจากนี้ยังอาศัยความเชื่อเรื่องกษัตริย์เป็นสมมติเทพมาสร้างบารมีให้ผู้ปกครองอีกด้วย