เพลงไทยอัตรา 3 ชั้น 2 ชั้นและชั้นเดียวมีความแตกต่างกันอย่างไร

ลักษณะของบทเพลงไทยมีหลากหลายลักษณะคล้ายบทร้อง  โดยเริ่มจากวรรคหลายวรรคเป็ยบาท และหลายบาทเป็นบท  โดยลักษณะของบทเพลงไทยสามารถจำแนกได้ดังนี้
    1. วรรค ส่วนหนึ่งของทำนองเพลงที่กำหนดโดยความยาวของจังหวะหน้าทับ ทำนองเพลง 1วรรค มีความยาวเท่ากับ 1 จังหวะหน้าทับ
     2. ท่อน  ทำนองเพลงที่มีความยาวตั้งแต่ 2 วรรค ขึ้นไป ที่นำมาเรียบเรียงติดต่อกันเป็นส่วนหนึ่งของบทเพลง
      3. จับ  มีความหมายเดียวกันกับ  ท่อน แต่ใช้เรียกทำนองเพลงเชิดนอกที่ใช้ปี่นอกบรรเลงประกอบการแสดงหนังใหญ่  โดยการแสดงแต่ละครั้งคนเชิดจะเชิดหนังจับออกมา 3 คู่ ในแต่ละคู่ ผู้บรรเลงปี่นอกจะต้องบรรเลงเพลงเชิดนอก 1จับ  ดังนั้น ในการบรรเลงเพลงเชิดนอกที่ถูกต้อง จึงต้องบรรเลงให้ครบทั้ง 3 จับ
     4. ตัว  มีความหมายเดียวกับ ท่อน และ จับ ต่างกันเพียง   ตัว  ใช้สำหรับเรียกสัดส่วนของเพลงบางประเภท  ได้แก่ เพลงตระ และเพลงเชิดต่างๆ  ยกเว้นเพลงเชิดนอกที่เรียกเป็น  จับ อีกทั้งเพลงที่นับเป็นตัวจะมีลักษณะพิเศษ  คือ ทำนองตอนท้ายของทุกตัวนั้นจะลงท้ายเหมือนกัน
    5. เพลง   ทำนองที่ดุริยกวีได้ประพันธ์ขึ้นจากจินตนาการของตนหรือแรงบันดาลใจ  โดยจะมีจังหวะช้าหรือเร็ว หรือยาวไม่เท่ากัน แต่แบบแผนที่ถูกต้องของเพลงไทยโบราณ คือ ท่อนหนึ่งควรมีความยาวไม่น้อยกว่า 2 จังหวะหน้าทับ

           เพลงไทย สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้
      1. เพลงขับร้อง  คือเพลงที่ประพันธ์ขึ้นสำหรับดนตรีบรรเลงร่วมกับการขับร้อง ได้แก่
       - เพลงเถา  เพลงๆเดียวที่บรรเลงหรือขับร้องติดต่อกัน โดยมีอัตราขจังหวะลดหลั่นกัน  ตั้งแต่จังหวะ 3 ชั้น (ช้า) ท จังหวะ 2 ชั้น (ปานกลาง) และชั้นเดียว (เร็ว) เช่นเพลงราตรีประดับดาวเถา เป็นต้น
       - เพลงตับ  เพลงหลายๆเพลงที่นำมาบรรเลงหรือขับร้องต่อเนื่องกัน  แบ่งแบ่งย่อยออกเป็น 2 ประเภท  คือ ตับเพลง เป็นเพลงที่นำมาบรรเลงหรือขับร้องกัน โดยต้องเป็นเพลงที่มีอตัราจังหวะเดียวกัน เช่น เพลงตับต้นเพลงฉิ่ง 3 ชั้นประกอบด้วยเพลงต้นเพลงฉิ่ง 3ชั้น เพลงจระเข้หางยาว 3 ชั้น เพลงตวงพระธาตุ 3 ชั้น และเพลงนกขมิ้น 3 ชั้น เป็นต้น   และเพลงตับเรื่อง คือเพลงที่นำมาบรรเลงหรือขับร้องต่อเนื่องกัน  โยมีบทร้องเป็นเรื่องราวเดียวกัน เช่น ตับคาวี เป็นต้น
      - เพลงเกร็ด  เพลงที่นำมาบรรเลงหรือขับร้องอิสระ  ไม่จำเป็นต้องบรรเลงหรือขับร้องร่วมเพลงอื่นๆ ส่วนใหญ่จะเป็นเพลงที่มีบทร้องบรรยายเกี่ยวกับธรรมชาติ การชมความงาม  การอวยพรหรือคติสอนใจ  เช่น เพลงเขมรไทรโยค เพลงแขกสาหร่าย 2 ชั้น เป็นต้น

      2.เพลงบรรเลง คือเพลงที่ประพันธ์ขึ้นเฉพาะสำหรับเครื่องดนตรีบรรเลงได้แก่
      - เพลงโหมโรง  เป็นเพลงที่ใช้บรรเลงเป็นเพลงก่อนการบรรเลงหรือการแสดงจะเริ่ม เช่น เพลงโหมโรงคลื่นกระทบฝั่ง


     - เพลงหน้าพาทย์ เป็นเพลงชั้นสูงที่ใช้บรรเลงในพระราชพิธ  หรืองานที่ต้องการแสดงถึงความศักดิ์สิทธิ์หรือความขลังหรือบรรเลงประกอบกิริยาอาการต่างๆของผู้แสดงโขนหรือละคร  เช่น เพลงตระนิมิตร  เป็นต้น


    - เพลงเรื่อง  เป็นเพลงที่นำมาบรรเลงติดต่อกันโดยใช้บรรเลงประกอบพิธีต่างๆไม่มีการขับร้องมาเกี่ยวข้อง เช่น เพลงเรื่องทำขวัญ  เป็นต้น


   - เพลงหางเครื่อง เป็นเพลงที่บรรเลงต่อท้ายเพลงใหญ่อาจมีสำเนียงเดียวกับเพลงใหญ่ หรือเป็นเพลงหางเครื่องที่กำหนดไว้ประจำเฉพาะ  ซึ่งเพลงส่วนใหญ่มีทำนองสั้นๆและมีจังหวะสนุกสนาน

   - เพลงออกภาษา   เป็นเพลงที่มีสำเนียงเป็นภาษาต่างๆ ที่บรรเลงติดต่อกันหลังจากบรรเลงเพลงแม่บทจบ  โดยมีลักษณะคล้ายเพลงหางเครื่อง ต่างกันตรงที่มิได้บรรเลงเพียงสำเนียงเดียว เช่น เมื่อบรรเลงเพลงแม่บทจบ  นิยมบรรเลงออกด้วยเพลงภาษา  เริ่มด้วยสำเนียงจีน  เขมร ตะลุง และพม่า  จากนั้นจะะเลือกบรรเลงเพลงสำเนียงแขก ฝรั่ง  ญี่ปุ่น  ลาว ญวณ ข่า  เงี้ยว เพลงใดต่อก่อนก็ได้  ทั้งนี้เพลงออกภาษาอาจหมายถึงเพลงที่มีสำเนียงภาษาสอดแทรกอยู่ในทำเพลงก็ได้ เช่น  เพลงพม่าห้าท่อน  เป็นต้น


    - ลูกหมด เป็นเพลงที่มีทำนองสั้น  จังหวะเร็ว แสดงนัยว่า เพลงที่บรรเลงนั้นจะจบลงแล้ว






WINKWHITE

�ŧ�� ���¶֧ �ŧ����оѹ�� �����ѡ�ͧ������� ������͡�ѡɳ��ШӪҵ� ����Ż�����Ѳ������ͧ���ҵ��«��������������ҳ �ŧ����оѹ���������ҡ���¹����§������� �ѡ���ժ������¡��˹���ŧ�������§���� �� �ŧ��Ǵǧ��͹ ������¤ �ͭ����԰ ᢡ������� ������� �չ������ ���

�ŧ�� ���͡�� 2 �������˭� ����ŧ����ŧ ����ŧ�Ѻ��ͧ

�ŧ����ŧ

���¶֧ �ŧ���������ͧ����պ���ŧ��ǹ � �ѧ���

1. �ŧ����ç

���ŧ��������ŧ��͹����ʴ�⢹-�Ф� ��оԸա��� ��ҧ � ���դ����������

  • ���С�� ���ͻ������������ҡ��ѧ��������ʴ� ���� ������Ը�
  • �����ѭ�ԭ෾´��������ѡ����Է�������һ�Ъ��������ѹ㹺���dz�ҹ

�ŧ����ç�����ŧ�Ҹء�ú���ŧ�ӷء���� �� 3 ������ ���

  1. ����ç�Ըա��� ����ŧ��͹�Ըա�����ҧ � �� 3 �ش ���
    - �ŧ����ç���
    - �ŧ����ç���
    - �ŧ����ç�ȹ�
  2. �ŧ����ç����ʴ� ����ŧ��͹����ʴ���ҧ �
  3. �ŧ����ç���� ����ŧ��͹��âѺ����

2. �ŧ˹�Ҿҷ��

�����ŧ��Сͺ����º� ������ ��С������¹�ŧ�ͧ����Ф� �����ѭ�ԭ�����Ǵ���Ф���Ҩ�������������㹾Ը����������;Ը����ŵ�ҧ� �� 2 ��Դ

อัตราจังหวะ 3 ชั้นหมายถึงข้อใด

จังหวะของดนตรีไทยที่มีระดับช้า คือช้ากว่าสองชั้นเท่าตัว หรือช้ากว่าชั้นเดียว ๔ เท่า เรียกเต็มว่า อัตราสามชั้น, ชื่ออัตราจังหวะหน้าทับและทำนองเพลงประเภทหนึ่ง มีความยาวเป็น ๒ เท่า ของอัตราสองชั้น.

อัตราจังหวะของเพลงไทยมีกี่ระดับ อะไรบ้าง

และขับร้องโดยปกติจังหวะสามัญที่ใช้กันในวงดนตรีจะมี 3 ระดับ คือ จังหวะช้า ใช้กับเพลงที่มีอัตราจังหวะ สามชั้น จังหวะปานกลาง ใช้กับเพลงที่มีอัตราจังหวะ สองชั้น จังหวะเร็ว ใช้กับเพลงที่มีอัตราจังหวะ ชั้นเดียว

อัตราจังหวะ สองชั้น จัดอยู่ในเพลงประเภทใด

เพลงเถาเป็นเพลงไทยประเภทหนึ่ง โดยลักษณะการบรรเลงนั้นจะเริ่มจากอัตราจังหวะสามชั้น สองชั้น จนถึงชั้นเดียวตามลำดับ เพลงเถากำเนิดในยุครัตนโกสินทร์ตอนต้น โดยมีวิวัฒนาการจากการเล่นเสภาและการเล่นสักวา

เพลงไทยเดิมและเพลงไทยสากลมีความแตกต่างกันอย่างไร

เพลงสากล หมายถึง เพลงที่นิยมในต่างประเทศแล้วนำเข้ามาฟัง และแพร่หลายในประเทศไทย ทั้งเนื้อร้อง ทำนอง และอุปกรณ์เครื่องดนตรี Instruments เป็นของต่างประเทศ ตลอดจน นักร้อง นักแต่งเพลง ฯลฯ เพลงไทยสากล หมายถึง การที่นำเอาอุปกรณ์เครื่องดนตรี Instruments จากต่างประเทศนำเอามาบรรเลงเพลงไทย โดยเนื้อร้องจะเป็นเรื่องราวของสังคมไทย