แนวทางในการป้องกันการประสบอันตราย

รู้หรือไม่? คำว่า ‘ความปลอดภัย’ หมายถึง การที่ร่างกายปราศจากอุบัติภัยหรือทรัพย์สินปราศจากความเสียหาย แล้วทั้งมนุษย์หรือสัตว์ต่างต้องการความปลอดภัยทั้งสิ้น ดังนั้น ความปลอดภัยจะมีประโยชน์มากหรือน้อยเพียงใดล้วนขึ้นอยู่กับการปฏิบัติหรือการกระทำของบุคคลนั้นๆ 

ทีนี้ รู้อีกหรือไม่? อะไรบ้างที่เป็นสาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุ แน่นอนล่ะ สาเหตุที่เกิดมันย่อมมาจากการกระทำหรือพฤติกรรมที่ไม่ใส่ใจในความปลอดภัย เช่น การกระทำที่ไม่ถูกวิธีหรือขั้นตอน, ความประมาท, พลั้งเผลอ, เหม่อลอย, การมีนิสัยส่วนตัวที่ชอบความเสี่ยง, การไม่ปฏิบัติตามกฏระเบียบความปลอดภัยในการทำงาน, การทำงานโดยไม่มีอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล, การแต่งกายที่ไม่เหมาะสม, และการทำงานโดยสภาพร่างกายและจิตใจไม่ปกติ อันได้แก่ เมาค้าง หรือ ป่วย เป็นต้น อีกประการที่เป็นสาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุ นั่นก็คือ สภาพการณ์ที่ไม่ปลอดภัย เป็นต้นว่า การวางผังของสถานที่ไม่ถูกต้อง, การวางสิ่งของไม่เป็นระเบียบ, สถานที่ทำงานไม่เหมาะสม, สภาพการทำงานไม่ปลอดภัย เช่น เสียงดัง อากาศร้อน มีฝุ่นละอองมาก และอุปกรณ์เครื่องมือหรือเครื่องจักรเกิดความชำรุดเสียหาย 

ที่กล่าวข้างต้นเป็นสิ่งที่พนักงานใหม่จำเป็นจะต้องรู้ เพราะมันข้องเกี่ยวกับความปลอดภัยขณะที่ทำงานทั้งนั้น แล้วเมื่อพนักงานใหม่เข้ารับการอบรมเรื่องความปลอดภัยในการทำงานก็จะได้รับข้อมูลความรู้เบื้องต้นที่สำคัญ เพื่อจะได้นำไปใช้ในการป้องกันการเกิดอุบัติเหตุอันเป็นการเตรียมการล่วงหน้า เพื่อไม่ให้เกิดเหตุนั้นๆ ซึ่งจะใช้หลักการ 5 ส. ได้แก่

1.งดใช้มือถือขณะขับรถ หนึ่งสาเหตุสำคัญของอุบัติเหตุบนท้องถนน หากมีความจำเป็นต้องทำการติดต่อ แนะนำให้ใช้หูฟังหรืออุปกรณ์อื่นๆช่วย

2.คาดเข็มขัดนิรภัย การใช้เข็มขัดนิรภัยก็ไม่มีการตรวจจับเข้มงวดเช่นกัน แถมแท็กซี่หลายคันไม่มีแม้กระทั่งเข็มขัดนิรภัยในเบาะหลัง ถ้าคุณเดินทางไกลและไม่รีบนัก ก็ควรจะรอคันใหม่ที่มีเข็มขัดนิรภัย ควรคาดเข็มขัดนิรภัยเสมอและใช้ที่นั่งเด็กหากมีเด็กเล็ก

3.ไม่ขับรถเร็วเกินกำหนด อย่าเห็นแก่ธุระสำคัญ หรือแม้แต่ความสนุก  จนลืมนึกถึงความปลอดภัย  ของตนเองและเพื่อนร่วมทาง

4.นำรถเข้าศูนย์ รถยนต์บนท้องถนนในประเทศไทยส่วนมากใช้งานกันมานานแล้ว ควรนำรถเข้าศูนย์เพื่อเช็คระยะและความปลอดภัยก่อนขับระยะทางไกล เช็คลมยางให้ดีก่อนออกเดินทาง

5.เปิดไฟให้สัญญาณ การส่งสัญญาณไฟขณะที่เบรก หรือเลี้ยว   เพื่อสื่อสารกับผู้ขับขี่คนอื่นๆ เป็นสิ่งที่ควรทำ เพื่อความปลอดภัยบนท้องถนน 

6.ง่วงไม่ขับ  พักผ่อนให้เพียงพอ เมื่อรู้ว่าต้องเดินทางไกล  ควรนอนอย่างน้อย7 ชั่วโมงและแวะพักตามจุดพักรถ เพื่อไม่ให้ร่างกายเหนื่อยล้าจากการเดินทางที่ยาวนาน

7.เมาไม่ขับ เพื่อสวัสดิภาพของคุณเอง ห้ามดื่มแล้วขับรถเด็ดขาด  ยังมีอีกหลายวิธีที่ดีกว่า ที่คุณสามารถทำได้ เช่น ให้เพื่อนช่วยขับรถ หรือใช้บริการแท็กซี่

8.ปฏิบัติตามกฎจราจร การปฏิบัติตามกฎจราจร ช่วยลดอุบัติเหตุ  และช่วยลดความสูญต่อเสียชีวิตและร่างกาย เคารพกฎจราจรสักนิดชีวิตคุณจะปลอดภัย

9. ขับรถเวลาที่เหมาะสม ถ้าเป็นไปได้ คุณควรหลีกเลี่ยงการขับขี่ในตอนกลางคืนหรือตอนฝนตก แม้จะไม่ได้เกิดอุบัติเหตุเสมอไป แต่จากสถิติการเกิดอุบัติเหตุในประเทศไทย ก็มักจะเกิดในช่วงเวลานี้ หากจำเป็นต้องออกข้างนอก ก็ควรขับรถอย่างระมัดระวัง

ความปลอดภัยในการทำงาน หมายถึง ความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยที่ดีในการทำงานของผู้ประกอบอาชีพ

ความปลอดภัย เป็นสิ่งที่เราควรจะเกิดขึ้นภายในชีวิตประจำวันของเรา เพราะการใช้ชีวิตประจำวันของเรา ย่อมต้องพบกับความเสี่ยงมากมายจากหลาย ๆ ปัจจัย ซึ่งถ้าหากเราประมาทเพียงนิดเดียว ก็ทำให้เราต้องพบกับความอันตรายถึงแก่ชีวิตได้เลยนั่นเอง เพราะฉะนั้นเพื่อทำให้เรื่องแบบนั้นเกิดขึ้นได้น้อย จึงทำให้ความปลอดภัยกลายเป็นสิ่งที่เราควรจะตระหนักเอาไว้ในทุก ๆ วันที่เรายังใช้ชีวิตอยู่ ซึ่งความปลอดภัยนี้ก็ได้ถูกบัญญัติอยู่กฎหมาย เพื่อให้การคุ้มครองแก่ทุก ๆ คนอย่างเท่าเทียม และยังช่วยเหลือในกรณีที่เกิดอุบัติเหตุอีกด้วย และหนึ่งในความปลอดภัยที่เป็นที่พูดถึงนั้น นั่นก็คือ ความปลอดภัยในการทำงาน

ไม่ว่าจะเป็นข้าราชการหรือเอกชน ล้วนแล้วแต่จะต้องได้รับความปลอดภัยทั้งสิ้น และควรจะเป็นสิ่งที่จำเป็นที่จะต้องตระหนักและพึงระลึกถึงตลอดเวลาที่ปฏิบัติงาน เพราะเมื่อใดที่เกิดอุบัติเหตุขึ้นก็ย่อมทำให้เกิดความสูญเสียทั้งทรัพย์สินและชีวิตเลยทีเดียว

ก่อนที่เราจะมาทำความรู้จักกับความปลอดภัยในการทำงานนั้นเราควรที่จะมารู้ถึงสาเหตุของอุบัติเหตุก่อนเพื่อที่จะได้เข้าใจถึงวิธีการป้องกันอุบัติเหตุในภายหลังโดยสาเหตุของอุบัติเหตุสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภทนั่นก็คือ

สาเหตุจากการกระทําที่ไม่ปลอดภัย ได้แก่

  • การกระทําไม่ถูกวิธีหรือไม่ถูกขั้นตอน
  • ความประมาท 
  • การมีนิสัยชอบเสี่ยง
  • การไม่ปฏิบัติตามกฎระเบียบความปลอดภัยในการทํางาน
  • การทํางานโดยไม่มีอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
  • การแต่งกายไม่เหมาะสม
  • การทํางานโดยสภาพร่างกายและจิตใจไม่ปกติ 

สาเหตุจากสภาพการณ์ที่ไม่ปลอดภัย ได้แก่

      • ส่วนที่มีความเสี่ยงไม่มีอุปกรณ์ป้องกันอันตราย
      • การวางผังไม่ถูกต้อง รวมถึงการวางสิ่งของไม่เป็นระเบียบ
      • พื้นของโรงงานขรุขระ และยังมีเศษวัสดุ น้ำมัน น้ำบนพื้น
      • สภาพการทํางานไม่ปลอดภัย เช่น เสียงดัง อากาศร้อน ฝุ่นละออง
      • เครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์ชํารุด
      • ระบบไฟฟ้า อุปกรณ์ไฟฟ้าชํารุด

ดังนั้นแล้ว เพื่อที่จะป้องกันอุบัติเหตุเหล่านี้ เราจึงควรที่จะรู้วิธีการป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ เพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ โดยแบ่งออกเป็น 3 สถานการณ์ ดังนี้

1. การป้องกันก่อนเกิดอุบัติเหตุ

หลักการ 5 ส.  ได้แก่

      • สะสาง หมายถึงการแยกแยะงานดี-งานเสีย
      • สะดวก หมายถึงการจัดการให้เป็นระเบียบเป็นหมวดหมู่
      • สะอาด หมายถึงการทำความสะอาดเครื่องมือ สถานที่ ทั้งก่อนและหลังการใช้งาน
      • สุขลักษณะ หมายถึง การที่จะต้องรักษาสุขอนามัยของตัวเอง เครื่องมือ และสถานที่
      • สร้างนิสัย หมายถึง การสร้างนิสัยที่ดีเพื่อสร้างความปลอดภัยในสถานที่

กฎ 5 รู้

      • รู้ ว่างานที่ปฏิบัติว่ามีอันตรายอย่างไร และมีขั้นตอนการทำงานอย่างไรบ้าง
      • รู้ ว่าควรเลือกใช้เครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์ อย่างไร
      • รู้ เรื่องเกี่ยวกับวิธีการใช้เครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์
      • รู้ ถึงข้อจำกัดการใช้เครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์
      • รู้ วิธีการบำรุงรักษาเครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์

2. การป้องกันขณะเกิดอุบัติเหตุ ซึ่งจะมีสิ่งที่ควรรู้หรือหลักการ ดังนี้

การรู้จักการใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลเพื่อป้องกันอวัยวะของร่างกาย ดังนี้

        • หมวกนิรภัย
        • อุปกรณ์ป้องกันใบหน้า ดวงตา
        • อุปกรณ์ลดเสียง ป้องกันหู
        • อุปกรณ์ป้องกันระบบหายใจ
        • อุปกรณ์ป้องกันร่างกาย แขนขา
        • อุปกรณ์ป้องกันมือ
        • อุปกรณ์ป้องกันเท้า

การปฏิบัติงานโดยใช้การ์ดเครื่องจักร ซึ่งจะมีดังนี้

  • การ์ดเครื่องกลึง
  • การ์ดเครื่องเจียระไน
  • การ์ดปิดส่วนที่หมุนของเครื่องจักร เช่น ฟันเฟือง

3. ป้องกันหลังการเกิดอุบัติเหตุ เพื่อไม่ให้เกิดอุบัติเหตุเกิดขึ้นอีก ซึ่งมีวิธีการดังนี้

  • การอพยพ หลังการเกิดอุบัติเหตุ ซึ่งควรมีการวางแผนการอพยพเอาไว้ก่อน หรือควรรู้จักวิธีการขนย้ายผู้ป่วยอย่างถูกวิธี
  • การปฐมพยาบาลเบื้องต้น เพื่อลดอันตรายให้น้อยลง
  • การสำรวจความเสียหายภายหลังจากเกิดอุบัติเหตุ

นอกจากนี้ สิ่งที่เราควรจะรู้ก็คือ ปัจจัยที่ต้องพิจารณาในการรักษาความปลอดภัยในการทำงาน อันประกอบไปด้วย

1. เครื่องแต่งกาย และแบบฟอร์มที่เหมาะสมของผู้ปฏิบัติงาน โดยจะมีการตรวจสอบว่ามีความถูกต้องเหมาะสมเพียงใด

2. อาคารโรงงาน พิจารณาในด้านวัสดุที่ใช้ก่อสร้างอาคารมีความทนไฟหรือการผุกร่อนและมีอายุงานเท่าใด เป็นต้น

3. เครื่องมือเครื่องจักรกล มีการป้องกันอันตรายไว้เพียงใด 

4. การทำความสะอาดให้เรียบร้อย รวมถึงตรวจสอบสภาพความพร้อมอีกด้วย 

5. แสงสว่างภายในโรงงาน ที่จำเป็นจะต้องพิจารณาในด้านตำแหน่งที่ตั้งที่เหมาะสมของระบบโครมไฟฟ้า 

6. การระบายอากาศ โดยการพิจารณาการหมุนเวียนของอากาศที่เข้าออกจากบริเวณทำงาน รวมทั้งคุณภาพของอากาศด้วย 

7. ระบบการจัดเก็บและการดูแลควบคุมวัสดุ ซึ่งจะพิจารณาว่ามีแยกประเภทของวัสดุออกตามประเภทหรือไม่ 

8. ระบบฉุกเฉิน อาทิ การปฐมพยาบาล การดับเพลิง ทางหนีไฟ ทางออกฉุกเฉิน เครื่องช่วยชีวิต เป็นต้น

ดังนั้นแล้ว ความปลอดภัยในการทำงาน จึงเป็นหนึ่งในสิ่งที่เราควรจะตระหนักเอาไว้อย่างยิ่ง เพราะถือว่าเป็นสิ่งที่จะช่วยทำให้ผู้ปฏิบัติงานปลอดภัยจากอุบัติเหตุที่ร้ายแรงถึงชีวิต รวมไปถึงสิ่งของมากมายที่อยู่ในสถานที่แห่งนั้น ซึ่งจะช่วยทำให้ความเสียหายเกิดขึ้นน้อยลง โดยจะสามารถแบ่งความปลอดภัยในการทำงานได้เป็น 3 สถานการณ์ โดยเริ่มจาก ก่อน ระหว่าง และหลังการเกิดอุบัติเหตุแล้ว ซึ่งทั้งสามสถานการณ์นี้ ล้วนแล้วแต่มีวิธีการที่จะช่วยหยุดการเกิดอุบัติเหตุขึ้นมาได้ทั้งนั้น และที่ขาดไม่ได้ก็คืออุปกรณ์ในการป้องกันหรือช่วยชีวิต โดยในอุปกรณ์ช่วยชีวิตจะสามารถช่วยเหลือผู้คนที่ได้รับผลกระทบในยามที่เกิดอุบัติเหตุนั้นได้ทันท่วงที หรือจะเป็นอุปกรณ์นิรภัยที่จะช่วยทำให้เราสามารถทำงานได้อย่างปลอดภัย แม้ว่าเราจะต้องทำงานอยู่ในที่สูง หรือมีระดับความเสี่ยงอย่างมากเพียงใดก็ตาม ดังนั้นแล้ว ความปลอดภัยในการทำงาน จึงเป็นสิ่งที่มีคุณค่าอย่างยิ่งในการประกอบอาชีพทุก ๆ อาชีพนั่นเอง

แนวทางในการป้องกันการประสบอันตรายมี อะไรบ้าง

8 ขั้นตอน วีธีป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ.
1.งดใช้มือถือขณะขับรถ หนึ่งสาเหตุสำคัญของอุบัติเหตุบนท้องถนน ... .
2.คาดเข็มขัดนิรภัย ช่วยกระจายแรงกระแทกที่เกิดจากอุบัติเหตุ เช่น ... .
3.ไม่ขับรถเร็วเกินกำหนด อย่าเห็นแก่ธุระสำคัญ หรือแม้แต่ความสนุก ... .
4.นำรถเข้าศูนย์ ควรนำรถเข้าศูนย์เพื่อเช็คระยะ ... .
6.ง่วงไม่ขับ ... .
7.เมาไม่ขับ ... .
8.ปฏิบัติตามกฎจราจร.

กฎความปลอดภัย 5 ข้อ มีอะไรบ้าง

หลักการเกี่ยวกับความปลอดภัย ... .
1. สะสาง ... .
ผลจากการดำเนินงาน ... .
2. สะดวก.
หลักการ ... .
3. สะอาด ... .
4. สุขลักษณะ ... .
5. สร้างนิสัย.

วิธีการใดบ้างที่สามารถป้องกันอันตรายจากไฟฟ้า

แนวทางป้องกันความเสี่ยงที่มีต่อคน ใช้ฉนวนป้องกัน อุปกรณ์ไฟฟ้ามีฉนวนป้องกันการสัมผัสจากผู้ใช้งาน ใช้เครื่องตัดไฟรั่ว อุปกรณ์ที่ใช้กันไฟดูด-ไฟช็อตจะเรียกรวมๆว่า Residual-Current Device (RCD) ติดตั้งสายดิน ให้แก่เครื่องใช้ไฟฟ้าทุกชิ้นที่มีโครงสร้างโลหะ

การทํางานที่ปลอดภัย มีอะไรบ้าง

การปฏิบัติตามกฎระเบียบข้อบังคับในสถานประกอบการอย่างเคร่งครัด ใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล PPE ตลอดระยะเวลาที่ปฏิบัติงาน ติดตั้งการ์ดเครื่องจักร สวมใส่เครื่องแต่งกาย และแบบฟอร์มที่เหมาะสมกับลักษณะงาน ไม่ใส่เครื่องประดับ หรือ ปล่อยผมยาวขณะทำงานกับเครื่องจักร