การสกัดด้วยตัวทำละลายมีอะไรบ้าง

การสกัดด้วยตัวทำละลายมีอะไรบ้าง

บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด กรุณาช่วยปรับปรุงบทความนี้ โดยเพิ่มการอ้างอิงแหล่งที่มาที่น่าเชื่อถือ เนื้อความที่ไม่มีแหล่งที่มาอาจถูกคัดค้านหรือลบออก (เรียนรู้ว่าจะนำสารแม่แบบนี้ออกได้อย่างไรและเมื่อไร)

ตัวทำละลาย (อังกฤษ: solvent) เป็นสารที่สามารถละลาย ตัวถูกละลาย ที่เป็นของแข็ง ของเหลว หรือก๊าซได้เป็น สารละลาย ตัวทำละลายที่คุ้นเคยมากที่สุดและใช้ในชีวิตประจำวันคือน้ำ สำหรับคำจำกัดความที่อ้างถึง ตัวทำละลายอินทรีย์ (organic solvent) จะหมายถึงตัวทำละลายอีกชนิดที่เป็น สารประกอบอินทรีย์ (organic compound) และมี คาร์บอน อะตอมอยู่ด้วย โดยปกติตัวทำละลายจะมี จุดเดือด สูง และระเหยง่าย หรือสามารถกำจัดโดย การกลั่นได้ โดยทั่วไปแล้วตัวทำละลายไม่ควรทำปฏิกิริยากับตัวถูกละลาย คือ มันจะต้องมีคุณสมบัติ เฉื่อย ทางเคมี ตัวทำละลายสามารถใช้ สกัด (extract) สารประกอบที่ละลายในมันจากของผสมได้ตัวอย่างที่คุ้นเคยได้แก่ การต้ม กาแฟ หรือ ชา ด้วยน้ำร้อน ปกติตัวทำละลายจะเป็นของเหลวใสไม่มีสีและส่วนใหญ่จะมีกลิ่นเฉพาะตัว ความเข้มข้นของสารละลายคือจำนวนสารประกอบที่ละลายในตัวทำละลายในปริมาตรที่กำหนด การละลาย (solubility) คือจำนวนสูงสุดของสารประกอบที่ละลายได้ในตัวทำละลาย ตามปริมาตรที่กำหนดที่ อุณหภูมิ เฉพาะ

ตัวทำละลายอินทรีย์ใช้ประโยชน์ทั่วไปดังนี้

  • ซักแห้ง (dry cleaning) เช่น เตตราคลอโรเอทิลีน (Tetrachloroethylene)
  • ใช้เจือจางสี (paint thinner) เช่น โทลูอีน (toluene) น้ำมันสน(turpentine)
  • ยาล้างเล็บและตัวทำละลายกาว เช่น อะซิโตน เมทิลอาซีเทต เอทิลอาซีเทต )
  • สารกำจัดคราบที่เป็นจุด เช่น เฮกเซน(hexane) ปิทรอลอีเทอร์(petrol ether)
  • สารชำระล้างs เช่น ซิตรัส (citrus) เทอร์ปีน(terpene)
  • น้ำหอม เช่น เอทานอล
  • เคมีสังเคราะห์

ตารางแสดงคุณสมบัติของตัวทำละลายสามัญ[แก้]

ตัวทำละลายแบ่งออกเป็นกลุ่มต่างๆ เช่น นอน-โพลาร์ โพลาร์ อะโพรติก และโพลารโพรติก

ตัวทำละลาย สูตรเคมีจุดเดือดPolarityความหนาแน่น
Non-Polar Solvents
เฮกเซน CH3-CH2-CH2-CH2-CH2-CH3 69 °C 2.0 0.655 g/ml
เบนซีน C6H6 80 °C 2.3 0.879 g/ml
โทลูอีน C6H5-CH3 111 °C 2.4 0.867 g/ml
Diethyl ether CH3CH2-O-CH2-CH3 35 °C 4.3 0.713 g/ml
คลอโรฟอร์ม CHCl3 61 °C 4.8 1.498 g/ml
Ethyl acetate CH3-C(=O)-O-CH2-CH3 77 °C 6.0 0.894 g/ml
Tetrahydrofuran (THF) /-CH2-CH2-O-CH2-CH2-\ 66 °C 7.5 0.886 g/ml
Methylene chloride CH2Cl2 40 °C 9.1 1.326 g/ml
Polar Aprotic Solvents
Acetone CH3-C(=O)-CH3 56 °C 21 0.786 g/ml
Acetonitrile (MeCN) CH3-C≡N 82 °C 37 0.786 g/ml
Dimethylformamide (DMF) H-C(=O)N(CH3)2 153 °C 38 0.944 g/ml
Dimethyl sulfoxide (DMSO) CH3-S(=O)-CH3 189 °C 47 1.092 g/ml
Polar Protic Solvents
กรดน้ำส้ม CH3-C(=O)OH 118 °C 6.2 1.049 g/ml
n-Butanol CH3-CH2-CH2-CH2-OH 118 °C 18 0.810 g/ml
Isopropanol CH3-CH(-OH)-CH3 82 °C 18 0.785 g/ml
n-Propanol CH3-CH2-CH2-OH 97 °C 20 0.803 g/ml
เอทานอล CH3-CH2-OH 79 °C 24 0.789 g/ml
เมทานอล CH3-OH 65 °C 33 0.791 g/ml
กรดฟอร์มิก H-C(=O)OH 100 °C 58 1.21 g/ml
น้ำ H-O-H 100 °C 80 0.998 g/ml

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

  • Table Properties of common organic solvents
  • Table and text เก็บถาวร 2004-11-13 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน O-Chem Lecture
  • Tables เก็บถาวร 2004-12-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน Properties and toxicities of organic solvents
การสกัดด้วยตัวทำละลายมีอะไรบ้าง
บทความเกี่ยวกับเคมีนี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยการเพิ่มเติมข้อมูล
ดูเพิ่มที่ สถานีย่อย:เคมี

สารใดใช้ในการสกัดด้วยตัวทำละลาย

การสกัดด้วยตัวทำละลาย (solvent extraction) เป็นวิธีการสกัด (extraction) น้ำมัน ไขมัน น้ำมันหอมระเหยโดยใช้ ตัวทำละลาย เช่น เฮกเซน การสกัดด้วยวิธีการนี้เหมาะสำหรับการสกัดน้ำมันออกจากเมล็ดพืช ที่มีปริมาณไขมันต่ำ ใช้เพื่อการผลิตน้ำมันพืช ได้แก่

การสกัดด้วยตัวทำละลายมีกี่ประเภท อะไรบ้าง

การสกัดด้วยตัวทำละลายมีหลายวิธี เช่น วิธีการหมัก (Maceration) วิธีการหมักแบบต่อเนื่อง (Percolation) การสกัดแบบใช้คลื่นเสียง (Ultrasonic extraction) การสกัดด้วยคลื่นไมโครเวฟ (Microwave extraction) เป็นต้น การเลือกตัวทำละลายที่นำมาใช้ในการสกัดมีหลักทั่วไป ดังนี้

การสกัดด้วยตัวทำละลายมีหลักการอย่างไร

การสกัดด้วยตัวทำละลาย ( Solvent extraction ) เป็นวิธีการแยกสารที่เป็นของเหลว หรือของแข็งปนอยู่กับของแข็ง โดยอาศัยสมบัติของการละลายของสาร หลักการสำคัญของการสกัดด้วยตัวทำละลายคือ การเลือกตัวทำละลายที่เหมาะสมในการสกัดสารที่ต้องการออกมาให้ได้มากที่สุด โดยหลักการในการเลือกตัวทำละลายที่เหมาะสม มีข้อควรคำนึงดังต่อไปนี้

การสกัดด้วยตัวทำละลายนำมาใช้ประโยชน์ได้อย่างไร

การแยกสารโดยวิธีการสกัดด้วยตัวทำละลายเหมาะกับการแยกสารที่สามารถละลายได้ดีในตัวทำละลายที่เลือกใช้ การเลือกตัวทำละลายที่เหมาะสมจะช่วยให้สามารถสกัดสาร ที่ต้องการได้มากและไม่ทำให้สมบัติเปลี่ยนไป สารที่สกัดได้ผสมอยู่กับตัวทำละลาย จึงต้องแยกตัวทำละลายออกไป จึงจะได้สารที่ต้องการ