หน่วยวัดความจุใดมีค่าน้อยที่สุด

ความจุของหน่วยความจำ

               คำว่า “ไบต์  Byte” หรือ “กิโลไบต์ Kilobyte” คงเป็นคำที่ได้ยินน้อยเมื่อเทียบกับคำว่า “เมกะไบต์ Megabyte” หรือ “กิกะไบต์ Gigabyte” และคงมีหลายท่านอาจจะไม่มั่นใจว่าคำเหล่านี้หมายถึงอะไร .. ทั้งหมดก็คือ ชื่อเรียกความจำของหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์นั่นเอง โดยเหตุที่หน่วยความจำแรม (RAM) เป็นส่วนสำคัญของคอมพิวเตอร์ เมื่อกล่าวถึงขนาดความจุของหน่วยความจำ จึงหมายความถึง ขนาดของหน่วยความจำแรม เช่น บอกว่าคอมพิวเตอร์เครื่องนี้ มีขนาดความจุของหน่วยความจำ 16 MB (เมกะไบต์  Megabyte) หมายความว่า คอมพิวเตอร์มีขนาดหน่วยความจำแรม เท่ากับ 16 MB นั่นเอง

การวัดขนาดหน่วยความจำ นิยมใช้หน่วยเป็นไบต์ (Byte) ซึ่งอาจเทียบได้เท่ากับตัวอักษร 1 ตัว โดยที่คอมพิวเตอร์ต้องใช้หน่วยความจำที่ใหญ่มาก เพื่อให้สะดวกจึงต้องคิดหน่วยที่ใหญ่ขึ้นไปอีกมาเรียก นั่นคือ หน่วย KB เท่ากับ 1024 ไบต์ (แต่อาจถือเอาคร่าวๆ ว่าเป็นพันไบต์ได้) และ MB ซึ่งเท่ากับค่าประมาณ หนึ่งล้านไบต์ ดังนี้

Data Measurement

1  Byte

1 Kilobyte (KB)

Bit

Byte

Kilobyte (KB)

Megabyte (MB)

Gigabyte (GB)

Terabyte (TB)

Petabyte (PB)

Exabyte (EB)

Size

1 ตัวอักษร

1024 ตัวอักษร

Single Binary Digit (1 or 0)

8 Bits

1,024 Bytes

1,024 Kilobytes

1,024 Megabytes

1,024 Gigabytes

1,024 Terabytes

1,024 Petabytes

สำหรับเหตุผลที่ 1 KB มีค่าเท่ากับ 1024 ไบต์ก็เนื่องจากระบบจำนวนที่ใช้ในคอมพิวเตอร์ เป็นระบบเลขฐานสอง ทำให้การคำนวณค่าใช้เลข 2 เป็นฐาน แล้วยกกำลัง 10 เท่ากับ 210 เท่ากับ 1024 และเนื่องจาก 1024 มีค่าใกล้เคียงกับ 1000 จึงเป็นที่ยอมรับกันให้เรียกว่า กิโล “Kilo” เช่นกัน

ปัจจุบันเราคงคุ้นกับคำว่า bit byte, Kb, Mb, Gb หรือ Tb กันอยู่บ้าง ซึ่งคำเหล่านี้ก็คือ หน่วยนับข้อมูลของคอมพิวเตอร์ หรือเรียกอีกอย่างว่าหน่วยวัดขนาดของข้อมูลในเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยแต่ละหน่วยนับนั้นมีความจุและการใช้งานที่แตกต่างกันออกไป ซึ่งหน่วยที่เล็กที่สุดของระบบคอมพิวเตอร์คือ บิต (bit) และหน่วยที่เล็กที่สุดของระบบข้อมูลคือ ไบต์ (Byte)


การวัดขนาดหน่วยความจำ นิยมใช้หน่วยเป็นไบต์ (Byte) ซึ่งอาจเทียบได้เท่ากับตัวอักษร 1 ตัว โดยที่คอมพิวเตอร์ต้องใช้หน่วยความจำที่ใหญ่มาก เพื่อให้สะดวกจึงต้องคิดหน่วยที่ใหญ่ขึ้นไปอีกมาเรียก นั่นคือ หน่วยกิโลไบต์ (KB) เท่ากับ 1024 ไบต์ และเมกะไบต์ (MB) ซึ่งเท่ากับค่าประมาณ หนึ่งล้านไบต์ ดังนี้


1 Byte (ไบต์) = 1 ตัวอักษร

1 KB (กิโลไบต์) = 1024 ตัวอักษร

1 MB (เมกะไบต์) = 1024 KB

1 GB (กิกะไบต์) = 1024 MB


สำหรับเหตุผลที่ 1 KB มีค่าเท่ากับ 1024 ไบต์ก็เนื่องจากระบบจำนวนที่ใช้ในคอมพิวเตอร์ เป็นระบบเลขฐานสอง ทำให้การคำนวณค่าใช้เลข 2 เป็นฐาน แล้วยกกำลัง 10 เท่ากับ 210 เท่ากับ 1024 และเนื่องจาก 1024 มีค่าใกล้เคียงกับ 1000 จึงเป็นที่ยอมรับกันให้เรียกว่า กิโล “Kilo” เช่นกัน


ในปัจจุบันเทคโนโลยีได้ก้าวหน้าไปอย่างมาก ส่งผลให้ข้อมูลทางคอมพิวเตอร์มีจำนวนมาก หน่วยกิกะไบต์แทบจะไม่เพียงพอ จึงได้มีเพิ่มความจุ ดังนี้


Data Measurement

Bit = Single Binary Digit (1 or 0)

Byte = 8 bits

Kilobyte (KB) = 1,024 Bytes

Megabyte (MB) = 1,024 Kilobytes

Gigabyte (GB) = 1,024 Megabytes

Terabyte (TB) = 1,024 Gigabytes

Petabyte (PB) = 1,024 Terabytes

Exabyte (EB) = 1,024 Petabytes


ดังนั้น หน่วยที่เล็กที่สุดของระบบคอมพิวเตอร์คือ บิต(bit) และหน่วยที่เล็กที่สุดของระบบข้อมูลคือ ไบต์(Byte) ในปัจจุบันอุปกรณ์บันทึกข้อมูลและหน่วยความจำต่าง ๆ จะใช้หน่วยความจุเป็น KB, MB, GB , และTB เท่านั้น สำหรับหน่วย PB, EB, ZB, และYB ยังไม่มีอุปกรณ์หรือหน่วยความจำใดสามารถทำความจุได้มากขนาดนั้นจึงยังไม่มีการใช้ในปัจจุบัน

ความจุ หรือหน่วยความจำในอุปกรณ์ต่างๆ ถือว่าเป็นส่วนที่สำคัญมาก เนื่องจากเป็นอุปกรณ์ที่สามารถเก็บ บันทึกข้อมูลต่างๆ เอาไว้ ไม่ว่าจะเป็น ไฟล์รูปภาพ (Picture File), ไฟล์เพลง หรือเสียง (Audio File), ไฟล์เอกสารงานต่าง ๆ (Document File) ที่ถูกบันทึกข้อมูลอย่างฮาร์ดดิสก์ หรือเอสเอสดี จะถูกจัดเก็บในลักษณะ หน่วยคอมพิวเตอร์ ที่เรียกว่า Byte

ในอุปกรณ์พกพาอย่าง USB Flash Drive, External Hard Drive, Smart Phone ต่างก็มีความจุภายในเพื่อใช้ในการบันทึกข้อมูล แล้วเคยสงสัยหรือไม่ ว่าทำไมความจุของ Storage หรือขนาดของไฟล์ต่าง ๆ นั้น จะมันมีอักษรต่อท้ายที่ต่างกันอย่าง KB, MB, GB, TB แต่ละตัวมีความหมายต่างกันอย่างไร

บทความนี้เราจะมาทำความรู้จักกับหน่วยวัดความจุของคอมพิวเตอร์กันครับ

สารบัญ

  • หน่วยคอมพิวเตอร์ คืออะไร
  • หน่วยความจุขนาดเล็ก
  • หน่วยความจุขนาดใหญ่
  • สรุป

หน่วยคอมพิวเตอร์ คืออะไร

ความจุในคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่างๆ แต่ละเครื่องนั้น จะมีขนาดความจุที่แตกต่างกันออกไป เช่น การ์ดความจุโทรศัพท์มือถือ Micro-SD Card, การ์ดสำหรับกล้อง SD-Card แม้แต่ฮาร์ดดิสก์ (HDD : Hard Disk Drive) หรือเอสเอสดี (SSD : Solid State Drive) อย่างที่เราเห็นและคุ้นเคยกันในปัจจุบันนั้นก็มีหน่วยนับเป็น MB, GB และ TB

ตัวอย่าง หน่วยคอมพิวเตอร์ ที่เราคุ้นเคย เช่น ไฟล์รูปภาพ ขนาด 3MB, SSD ความจุ 128GB, HDD ความจุ 1TB เป็นต้น

ด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่ ที่ทำให้สามารถสร้างความจุให้มากขึ้นได้ ในขณะที่ขนาดของอุปกรณ์นั้นเล็กลงตามไปด้วย เนื่องจากเป็นระบบเลขฐานสอง ดังนั้นหน่วยความจำ มักจะถูกนับแบบคูณ 2 เช่น 8GB x 2 = 16GB และ 16GB x 2 = 32GB จะเป็นการคูณแบบนี้ไปเรื่อยๆ ส่วนมากที่เราเห็นความจุของฮาร์ดดิสก์ หรือ SSD ก็จะเห็นเป็น 128GB, 256GB, 512GB หรือ 1 TB เป็นต้น

หน่วยวัดความจุใดมีค่าน้อยที่สุด

หน่วยความจุสมัยก่อน

หากย้อนไปสมัยก่อน ท่านใดที่เคยใช้แผ่นฟล๊อปปี้ดิสก์ หรือแผ่น Floppy A สีดำๆ สีเหลี่ยม ขนาด 3.5 นิ้ว ก็คงรู้ดีว่า ในแผ่นนั้นมีความจุแค่ 1.44MB เท่านั้น สามารถเก็บข้อมูลได้เพียงเล็กน้อยก็เต็มแล้ว

แต่ด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่ ก็ทำให้เริ่มมีหน่วยความจำแบบ Flash Memory เข้ามา ซึ่งจะรู้จักและคุ้นเคยกันดีในชื่อ USB Flash Drive แบบพกที่มีขนาดเล็ก แต่ความจุเพิ่มขึ้นหลายเท่าตัว 8MB, 16MB, 32MB, 64MB, 128MB ขยับขึ้นไปเรื่อย ๆ แบบคูณ 2 จาก 256MB ก็กลายเป็น 512MB เป็นต้น แต่ในสมัยนั้นก็มีราคาค่อนข้างสูงประมาณ 1000 บาท ต่อ 1GB เลยทีเดียว

หน่วยวัดความจุใดมีค่าน้อยที่สุด

ปัจจุบันนี้ USB Flash Drive ขนาด 1GB แทบจะไม่มีให้เห็นแล้ว ด้วยขนาดข้อไฟล์ข้อมูลที่ใหญ่ขึ้น ทำให้ความต้องการของผู้บริโภคมากขึ้นอีกด้วย ส่วนมากที่มีจำหน่ายต่ำสุดในตอนนี้ ก็จะมีขนาด 4GB, 8GB ขึ้นไป แต่ราคาก็จะถูกลงมาก USB Flash Drive 32GB ในปัจจุบันราคาประมาณ 100 – 200 กว่าบาทเท่านั้น

หน่วยวัดความจุ คืออะไร

หน่วยคอมพิวเตอร์ หรือหน่วยนับความจุในทุกอุปกรณ์ ก็จะมีชื่อในการเรียกที่เหมือนกัน ตามความจุของของไฟล์ และพื้นที่เก็บข้อมูล โดยแต่ละหน่วยนับจะมีชื่อเรียก และความหมายดังนี้

8 bit (บิต) = 1 Byte (ไบต์)

Byte เป็นหน่วยข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด หรือ 8bit มีค่าเท่ากับ 1 ตัวอักษร เช่น A, B, C, D, ก, ข เป็นต้น หรือจะเรียกง่าย ๆ คือ ตัวอักษร 1 ตัว หรือ 1 อักขระ จะมีค่าเท่ากับ 1 Byte (ไบต์) นั่นเองครับ

หน่วยความจุขนาดเล็ก

ปัจจุบัน เพียง หน่วยคอมพิวเตอร์ สำหรับเก็บข้อมูลแค่ 1 Byte แทบจะไม่มีประโยชน์อะไรในการใช้งานจริง อุปกรณ์ส่วนใหญ่ จึงจะจัดเก็บข้อมูลเป็นหน่วยใหญ่ขึ้นอีกระดับ โดยมากที่เราเห็นกันได้ทั่วไปดังนี้

KB (Kilobyte)

KB ย่อมาจาก Kilobyte (กิโลไบต์) มีค่าเท่ากับ 1,000 (หนึ่งพันไบต์) หรือเทียบเท่า 1024 Byte

Kilobyte เป็น หน่วยคอมพิวเตอร์ สำหรับนับข้อมูลที่มีขนาดใหญ่ขึ้นจากไบต์ (Byte) มักจะเห็นในรูปแบบของไฟล์เอกสารต่าง ๆ เช่น Microsoft Word หรือ PDF ส่วนใหญ่ในไฟล์ก็จะเก็บข้อมูลจำพวกตัวอักษร หากมีตัวอักษรมาก ขนาดของไฟล์ก็จะใหญ่ขึ้นตามไปด้วย

หน่วยวัดความจุใดมีค่าน้อยที่สุด

MB (Megabyte)

MB ย่อมาจาก Megabyte (เมกะไบต์) มีค่าเท่ากับ 1,000,000 (หนึ่งล้านไบต์) หรือเทียบเท่า 1024 Kilobyte

Megabyte เป็นหน่วยนับที่เห็นกันบ่อยมาก เช่นไฟล์รูปภาพ 1 ภาพ ปัจจุบันจะมีขนาด 1MB ขึ้นไป ไฟล์เสียงหรือเพลงใน 1 เพลง .MP3 ก็จะมีขนาด 3MB ขึ้นไป หรือไฟล์วิดีโอต่างๆ

ในส่วนไฟล์ Video หากกล้องมีความละเอียดมาก ก็จะมีขนาดไฟล์ที่ใหญ่ขึ้นตามไปด้วย นอกจากนี้ ยังขึ้นอยู่กับความยาวในแต่ละไฟล์วิดีโอด้วย เช่น MV เพลง 1 เพลงความยาวประมาณ 3 นาที ความละเอียดที่ Full HD 1080p ขนาดไฟล์ก็จะอยู่ที่ประมาณ 300MB ขึ้นไป

GB (Gigabyte)

GB ย่อมาจาก Gigabyte (กิกะไบต์, จิกะไบต์) มีค่าเท่ากับ 1,000,000,000 (หนึ่งพันล้านไบต์) หรือเทียบเท่า 1024 Megabyte

Gigabyte เป็น หน่วยคอมพิวเตอร์ ที่มักจะเห็นกันในรูปแบบของไฟล์ภาพยนตร์ และไฟล์ติดตั้งของ Software หรือเกมต่าง ๆ และในสื่อบันทึกข้อมูลอย่าง USB Flash Drive, SD-Card, SSD และ HDD เป็นต้น

TB (Terabyte)

TB ย่อมาจาก Terabyte (เทราไบต์, เทระไบต์) มีค่าเท่ากับ 1,000,000,000,000 ไบต์ (หนึ่งล้านล้านไบต์) หรือเทียบเท่า 1024 Gigabyte

Terabyte ส่วนมากจะคุ้นเคยกับในรูปแบบของความจุของอุปกรณ์บันทึกข้อมูลอย่าง SSD และ HDD เนื่องจากมีพื้นที่ในการจัดเก็บข้อมูลสูง เช่น SSD ขนาด 1TB และ HDD ขนาด 1TB, 2TB, 4TB, 6TB เป็นต้น

หน่วยคอมพิวเตอร์ ที่กล่าวมานั้นไม่ว่าจะเป็น Byte, KB, MB, GB, TB จะอยู่ในกลุ่มที่ทุกท่านเคยเห็นและคุ้นเคยกันดี

หน่วยความจุขนาดใหญ่

สำหรับ หน่วยคอมพิวเตอร์ ที่มีความจุขนาดใหญ่ ก็ยังมีเพิ่มเติมอีกแต่ก็จะไม่ค่อยเห็นใช้ หรือคุ้นหูสักเท่าไหร่ เช่น PB, EB, ZB และ YB ซึ่งเป็นหน่วยนับข้อมูลที่จะใช้ในระบบเก็บบันทึกข้อมูลแบบจำนวนมหาศาลแบบ Data Center เป็นต้น

PB (Petabyte)

PB ย่อมาจาก Petabyte (เพตาไบต์) มีค่าเท่ากับ 1,000,000,000,000,000 (หนึ่งพันล้านล้านไบต์) หรือเทียบเท่า 1024 Terabyte

EB (Exabyte)

EB ย่อมาจาก Exabyte (เอกซาไบต์) มีค่าเท่ากับ 1,000,000,000,000,000,000 ไบต์ (หนึ่งล้านล้านล้านไบต์) หรือเทียบเท่า 1024 Petabyte

ZB (Zettabyte)

ZB ย่อมาจาก Zettabyte (เซตตะไบต์) มีค่าเท่ากับ 1,000,000,000,000,000,000,000 ไบต์ (หนึ่งพันล้านล้านล้านไบต์) หรือเทียบเท่า 1024 Exabyte

YB (Yottabyte)

YB ย่อมาจาก Yottabyte (ยอตตะไบต์) มีค่าเท่ากับ 1,000,000,000,000,000,000,000,000 ไบต์ (หนึ่งล้านล้านล้านล้านไบต์) หรือเทียบเท่า 1024 Zettabyte

หน่วยวัดความจุใดมีค่าน้อยที่สุด

สรุปง่าย ๆ คือ

  • 8bit = 1 Byte
  • 1000 หรือ 1024 Byte = 1 KB (Kilobyte)
  • 1000 หรือ 1024 KB = 1 MB (Megabyte)
  • 1000 หรือ 1024 MB = 1 GB (Gigabyte)
  • 1000 หรือ 1024 GB = 1 TB (Terabyte)
  • 1000 หรือ 1024 TB = 1 PB (Petabyte)
  • 1000 หรือ 1024 PB = 1 EB (Exabyte)
  • 1000 หรือ 1024 EB = 1 ZB (Zettabyte)
  • 1000 หรือ 1024 ZB = 1 YB (Yottabyte)

เห็นแบบนี้แล้วก็น่าจะทำให้หลายท่านเข้าใจเกี่ยวกับความจุของ หน่วยคอมพิวเตอร์ มากขึ้น หากคุณจะมองหาอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลไปใช้เก็บไฟล์สำคัญต่างๆ ก็ควรคำนึงถึงขนาดไฟล์ และความต้องการที่จะเก็บข้อมูลด้วย ว่าต้องการนำไปเก็บไฟล์งานประเภทไหน เช่น ไฟล์ภาพถ่าย ความละเอียดจากมือถือ 12 ล้าน (12 Megapixel) ขนาดต่อ 1 ไฟล์ก็จะอยู่ที่ประมาณ 3 – 6MB หากมีจำนวน 1000 ไฟล์ภาพ ความจุรวมก็จะอยู่ประมาณ 3000MB – 6000MB หรือเทียบเท่า 3GB – 6GB  เลยครับ

การเลือกประเภทของอุปกรณ์บันทึกข้อมูลก็สำคัญเช่นกัน หากเป็นฮาร์ดดิสก์แบบจานหมุน ความจุ 1GB ราคาก็จะถูกหน่อย หรือเอสเอสดี (SSD) ความจุ 1GB ต่อราคา ก็จะสูงขึ้น แต่ก็แลกมาด้วยความเร็วในการอ่านเขียนข้อมูลที่สูงด้วยเช่นกัน ส่วนใหญ่ SSD มักจะถูกใช้เป็น Drive หลัก ในการติดตั้ง OS หรือ Software ต่าง ๆ เช่น Windows, Game, โปรแกรมที่ใช้งานบ่อย ๆ ที่ต้องการความเร็วในการอ่านสูง ๆ นั่นเอง

Add In Business

จำหน่ายอุปกรณ์ไอทีราคาถูก

ภายใต้บริษัท แอด อิน บิซิเนส จำกัด ตัวแทนจำหน่าย
ได้รับการแต่งตั้งโดยตรงจากแบรนด์ชั้นนำ
ราคา พิเศษ ส่งฟรี

ดูสินค้าทั้งหมด

สนใจสั่งซื้อหรือสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม สามารถติดต่อได้ที่หน้า Contact

หรือ

หน่วยวัดความจุใดมีค่าน้อยที่สุด
 
หน่วยวัดความจุใดมีค่าน้อยที่สุด
 
หน่วยวัดความจุใดมีค่าน้อยที่สุด
 
หน่วยวัดความจุใดมีค่าน้อยที่สุด
 
หน่วยวัดความจุใดมีค่าน้อยที่สุด

สรุป

หวังว่าท่านผู้อ่าน จะรู้จัก และเข้าใจใน หน่วยคอมพิวเตอร์ มากขึ้น ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญสำหรับวัดความจำ และความจุ ของไฟล์ และอุปกรณ์สำคัญต่างๆ มากมาย เว็บไซต์ Addin.co.th ของเรา นอกจากจะมีความรู้เกี่ยวกับเนื้อหาไอทีดีๆ ให้อ่านกันแล้ว ยังมีสินค้าไอทีครบวงจรจำหน่ายในราคาพิเศษอีกด้วย หากท่านผู้อ่านมีความสนใจเพิ่มเติมในการสั่งซื้อสินค้าอุปกรณ์ไอที สอบถามข้อมูล หรือขอใบเสนอราคา ไม่ว่าจะเป็นในส่วนของอุปกรณ์ใดๆก็ตาม สามารถติดต่อเข้ามาได้ที่

หน่วยวัดความจุใดมีค่าน้อยที่สุด คือ

หน่วยวัดความจุ คืออะไร Byte เป็นหน่วยข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด หรือ 8bit มีค่าเท่ากับ 1 ตัวอักษร เช่น A, B, C, D, ก, ข เป็นต้น หรือจะเรียกง่าย ๆ คือ ตัวอักษร 1 ตัว หรือ 1 อักขระ จะมีค่าเท่ากับ 1 Byte (ไบต์) นั่นเองครับ

หน่วยความจุข้อมูลในข้อใด มากที่สุด

มาดูตารางของความจุกันดีกว่า.

หน่วยวัดข้อมูลที่มีค่ามากที่สุดในตอนนี้ คืออะไร

1 MB (เมกกะไบต์) = 1024 KB. 1 GB (กิกะไบต์) = 1024 MB. ... ความจุของหน่วยความจำ.

หน่วยวัดใดมีขนาดใหญ่ที่สุด

เทระไบต์ (Terabyte) หรือ เทราไบต์ ใช้ตัวย่อว่า TB เป็นหน่วยวัดขนาดของข้อมูลในคอมพิวเตอร์ เช่น ใช้เป็นหน่วยวัดความจุของหน่วยความจำหรือฮาร์ดดิสก์ เทระไบต์ มีขนาดอ้างอิงคร่าวๆ คือ 1 TB = 1,000,000,000,000 ไบต์ (หนึ่งล้านล้านไบต์) ใช้ในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ และในวิศวกรรมสื่อสาร