ความรู้ด้านสารสนเทศมี 2 ด้านคืออะไรบ้าง

บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ from Srion Janeprapapong

ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี (Information, Media and Technology Skills) ได้แก่ องค์ประกอบสำคัญดังต่อไปนี้

1) การรู้เท่าทันสารสนเทศ (Information Literacy) ประกอบด้วย

1.1) การเข้าถึงและการประเมินสารสนเทศ (Access and Evaluate Information) โดย (1) เข้าถึงสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ (ด้านเวลา) และเกิดประสิทธิผล (แหล่งข้อมูลสารสนเทศ) และ (2) ประเมินสารสนเทศได้อย่างมีวิจารณญาณตามสมรรถนะที่เกิดขึ้น

1.2) การใช้และการจัดการสารสนเทศ (Use and Manage Information) โดย (1) เพิ่มประสิทธิภาพการใช้สารสนเทศอย่างสร้างสรรค์และตรงกับประเด็นปัญหาที่เกิดขึ้น (2) จัดการกับสารเทศได้อย่างต่อเนื่อง จากแหล่งข้อมูลที่มีอยู่มากมายหลากหลาย และ (3) มีความรู้พื้นฐานที่จะประยุกต์ใช้สารสนเทศตามกรอบแห่งคุณธรรมจริยธรรมที่มีปัจจัยเสริมอยู่รอบด้าน

2) การรู้เท่าทันสื่อ (Media Literacy) ประกอบด้วย

2.1) ความสามารถในการวิเคราะห์สื่อ (Analyze Media) โดย (1) เข้าใจวิธีการใช้และการผลิตสื่อเพื่อให้ตรงกับเป้าประสงค์ที่กำหนด (2) สามารถใช้สื่อเพื่อตอบสนองต่อความแตกต่างของปัจเจกชน รู้คุณค่าและสร้างจุดเน้น รู้ถึงอิทธิพลของสื่อที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้บริโภคสื่อ และ (3) มีความรู้พื้นฐานที่จะประยุกต์ใช้สื่อได้ตามกรอบแห่งคุณธรรมจริยธรรมที่มีปัจจัยเสริมอยู่รอบด้าน

2.2) ความสามารถในการผลิตสื่อสร้างสรรค์ (Create Media Products) โดย (1) มีความรู้ความเข้าใจต่อการใช้สื่ออย่างสร้างสรรค์และเหมาะสมตามคุณลักษณะเฉพาะของตัวสื่อประเภทนั้นๆ และ (2) มีความรู้ความเข้าใจต่อการใช้สื่อได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสนองต่อความแตกต่างในเชิงวัฒนธรรมอย่างรอบด้าน

3) การรู้ทันไอซีที (ICT: Information, Communication and Technology Literacy) ประกอบด้วย

3.1) ประสิทธิผลของการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี (Apply Technology Efficiency) โดย (1) ใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือเพื่อการวิจัย การจัดการองค์กร การประเมินและการสื่อสารทางสารสนเทศ (2) ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล (คอมพิวเตอร์, PDAs, Media Players etc.) ในการสื่อสารและการสร้างเครือข่าย รวมทั้งการเข้าถึงสื่อทางสังคม (Social Media) ได้อย่างเหมาะสม (3) มีความรู้พื้นฐานในการประยุกต์ใช้ ICT ได้ตามกรอบแห่งคุณธรรมจริยธรรมที่มีข้อมูลหลากหลายรอบด้าน

ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี (Information, Media and Technology Skills) ได้แก่ องค์ประกอบสำคัญดังต่อไปนี้

1) การรู้เท่าทันสารสนเทศ (Information Literacy) ประกอบด้วย

1.1) การเข้าถึงและการประเมินสารสนเทศ (Access and Evaluate Information) โดย (1) เข้าถึงสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ (ด้านเวลา) และเกิดประสิทธิผล (แหล่งข้อมูลสารสนเทศ) และ (2) ประเมินสารสนเทศได้อย่างมีวิจารณญาณตามสมรรถนะที่เกิดขึ้น

1.2) การใช้และการจัดการสารสนเทศ (Use and Manage Information) โดย (1) เพิ่มประสิทธิภาพการใช้สารสนเทศอย่างสร้างสรรค์และตรงกับประเด็นปัญหาที่เกิดขึ้น (2) จัดการกับสารเทศได้อย่างต่อเนื่อง จากแหล่งข้อมูลที่มีอยู่มากมายหลากหลาย และ (3) มีความรู้พื้นฐานที่จะประยุกต์ใช้สารสนเทศตามกรอบแห่งคุณธรรมจริยธรรมที่มีปัจจัยเสริมอยู่รอบด้าน

2) การรู้เท่าทันสื่อ (Media Literacy) ประกอบด้วย

2.1) ความสามารถในการวิเคราะห์สื่อ (Analyze Media) โดย (1) เข้าใจวิธีการใช้และการผลิตสื่อเพื่อให้ตรงกับเป้าประสงค์ที่กำหนด (2) สามารถใช้สื่อเพื่อตอบสนองต่อความแตกต่างของปัจเจกชน รู้คุณค่าและสร้างจุดเน้น รู้ถึงอิทธิพลของสื่อที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้บริโภคสื่อ และ (3) มีความรู้พื้นฐานที่จะประยุกต์ใช้สื่อได้ตามกรอบแห่งคุณธรรมจริยธรรมที่มีปัจจัยเสริมอยู่รอบด้าน

2.2) ความสามารถในการผลิตสื่อสร้างสรรค์ (Create Media Products) โดย (1) มีความรู้ความเข้าใจต่อการใช้สื่ออย่างสร้างสรรค์และเหมาะสมตามคุณลักษณะเฉพาะของตัวสื่อประเภทนั้นๆ และ (2) มีความรู้ความเข้าใจต่อการใช้สื่อได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสนองต่อความแตกต่างในเชิงวัฒนธรรมอย่างรอบด้าน

3) การรู้ทันไอซีที (ICT: Information, Communication and Technology Literacy) ประกอบด้วย

3.1) ประสิทธิผลของการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี (Apply Technology Efficiency) โดย (1) ใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือเพื่อการวิจัย การจัดการองค์กร การประเมินและการสื่อสารทางสารสนเทศ (2) ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล (คอมพิวเตอร์, PDAs, Media Players etc.) ในการสื่อสารและการสร้างเครือข่าย รวมทั้งการเข้าถึงสื่อทางสังคม (Social Media) ได้อย่างเหมาะสม (3) มีความรู้พื้นฐานในการประยุกต์ใช้ ICT ได้ตามกรอบแห่งคุณธรรมจริยธรรมที่มีข้อมูลหลากหลายรอบด้าน

ปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ดจากทะลายเปล่าปาล์มน้ำมันผสมขนไก่ ในปัจจุบันภาคเกษตรกรรมทั้งการปลูกพืชและการเลี้ยงสัตว์จะมีวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรที่เป็นผลพลอยได้ต่างๆ..... website ? http://www.arda.or.th Facebook ?https://www.facebook.com/ardathai Line ✅https://line.me/R/ti/p/%40yhv6070r ARDA ? https://www.facebook.com/kasetkaoklai... ....เกิดขึ้นจำนวนมาก ทั้งเศษพืชและเศษมูลสัตว์ ที่สามารถนำมาผลิตปุ๋ยอินทรีย์ได้ เพื่อเป็นการเพิ่มมูลค่าการใช้วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรในท้องถิ่น ลดต้นทุนและค่าใช้จ่ายในการซื้อปุ๋ย สำหรับกรณีตัวอย่างที่นำวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรมาผลิตเป็นปุ๋ยอินทรีย์อย่างเห็นได้ชัด คือชุมชนบ้านกูเล็ง อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส โดยที่ผ่านมาเกษตรกรในพื้นที่นี้การใช้ปุ๋ยเคมีและยาฆ่าแมลง ในการทำการเกษตรจำนวนมาก ส่งผลกระทบในสภาพดินเสื่อมโทรม จากปัญหาการสะสมและตกค้างของสารเคมีในดินเป็นเวลานาน และการปนเปื้อนของสารเคมีสู่แหล่งน้ำ อีกทั้งเกษตรกรมีสุขภาพทรุดโทรม ประกอบกับในชุมชนของเกษตรกรมีอาชีพเลี้ยงไก่ ซึ่งมักประสบปัญหามลภาวะต่างๆที่เกิดขึ้นจากการทำฟาร์ม นอกจากนี้ยังพบการเน่าเสียและส่งกลิ่นเหม็นของวัสดุขนไก่ จากโรงเชือดไก่ในชุมชน ดังนั้นจำเป็นอย่างยิ่งที่ชุมชนในพื้นที่ควรมีเทคโนโลยีการนำวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรในท้องถิ่น มาใช้อย่างมีประสิทธิภาพและช่วยลดต้นทุนการผลิต การผลิตปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ดจากทะลายเปล่าปาล์มน้ำมันผสมขนไก่ จึงเป็นอีกหนึ่งเทคโนโลยีทางเลือกที่ดี เพราะช่วยลดการใช้สารเคมีทางการเกษตรและใช้วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ขั้นตอนการผลิตปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ด จากทะลายเปล่าปาล์มน้ำมันผสมขนไก่ โดยอัตราส่วนที่เหมาะสมที่สุดมีดังนี้ - ทะลายปาล์ม 5 ส่วน - ขนไก่ 5 ส่วน - มูลวัว 1 ส่วน - แกลบดำ 1 ส่วน - กากน้ำตาล 0.025 ส่วน - สารเร่งซุปเปอร์ พด. 1 0.005 ส่วน - น้ำ 0.5 ส่วน วิธีทำมีดังนี้ 1.สับทะลายเปล่าปาล์มน้ำมันเล็กด้วยเครื่องสับทะลายเปล่าปาล์มน้ำมันและบดขนไก่ให้มีขนาดเล็กด้วยเครื่องบด ซึ่งขนไก่ควรตากให้แห้งก่อนนำไปบด จะช่วยให้วัสดุแตกหักง่ายไม่เหนียวติดในเครื่องบด 2. นำทะลายเปล่าปาล์มน้ำมันผสมกับขนไก่มูลวัวและแกลบดำ จากนั้นบีบกองปุ๋ยหมักเพื่อดูความชื้น 3. ทำกองปุ๋ยหมักในพลาสติกทรงกลมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 80 เซนติเมตร และสูง 30 เซนติเมตร ราดด้วยสารละลายซุปเปอร์ พด. 1 ให้ชุ่ม ขั้นตอนการเตรียมน้ำจุลินทรีย์เพื่อผสมกับปุ๋ย คือน้ำจุลินทรีย์โดยละลายกับน้ำตาลสารเร่งพด. 1 ต่อน้ำในอัตราส่วน 1 ต่อ 0.25 : 20 โดยน้ำหนัก คนให้ละลายทิ้งไว้ 15 นาทีก่อนนำมาราดกองปุ๋ย 4.นำผ้าพลาสติกหรือผ้าใบมาคลุมเพื่อป้องกันไม่ให้ความชื้นระเหยออกจากกองปุ๋ย 5.กลับกองปุ๋ยหมักทุกๆ 7 วัน โดยหมักเป็นเวลา 2 เดือน จากนั้นนำมาตากแห้งแล้วใส่เครื่องบดเป็นผงละเอียด 6. เป็นขั้นตอนการเตรียมปุ๋ยอัดเม็ด คือผสมปุ๋ยกับดินเหนียวดินเนื้อละเอียด ซึ่งผ่านการร่อนก่อนในอัตราส่วน 1 ต่อ 0.5 โดยน้ำหนัก พร้อมกับเติมน้ำจุลินทรีย์ โดยมีอัตราส่วนของน้ำต่อสารเร่งพด. 1 เท่ากับ 10 : 0.05 โดยน้ำหนัก ลงในผงปุ๋ยหมัก คลุกเคล้าให้เข้ากัน จากนั้นนำเข้าเครื่องอัดเม็ดปุ๋ยจะถูกอัดออกมาเป็นเส้นและแตกหักเป็นเม็ด จุดเด่นของปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ดจากทะลายเปล่าปาล์มน้ำมันผสมขนไก่ เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของต้นกล้าปาล์มน้ำมันอายุ 6 ถึง 9 เดือน ซึ่งจะช่วยให้ต้นกล้าปาล์มน้ำมันและเจริญเติบโตดี เพราะมีอินทรีย์วัตถุและธาตุอาหารสูง และช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายของปุ๋ยทางการค้า ลดลงกว่า 5 เท่า ซึ่งสามารถลดต้นทุนการผลิตและส่งผลให้เกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้ำมันมีรายได้เพิ่มมากขึ้น