ข้อได้ ไม่ ถูกต้องเกี่ยวกับ blockchain

สำหรับการทำงานของบล็อกเชนจะทำงานอยู่บนเครือข่าย Peer-to-peer (P2P) ซึ่งร่วมกันใช้ Protocol เดียวกันเพื่อการสื่อสารระหว่าง Node เมื่อมีการทำธุรกรรมเกิดขึ้น ฐานข้อมูลจะถูกแขร์ให้กับทุก Node หรือเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยจะไม่มีเครื่องใดเครื่องหนึ่งทำงานเป็นศูนย์กลาง แต่ทุก ๆ Node จะได้รับสำเนาฐานข้อมูลเก็บไว้ เมื่อมีข้อมูลใหม่ข้อมูลจะอัปเดตโดยอัตโนมัติ และสำเนาฐานข้อมูลของทุกเครื่องในเครือข่ายจะตรงกันทั้งหมด

Bitcoin และ Blockchain เกี่ยวข้องกันอย่างไร

Bitcoin เป็นสกุลเงินดิจิทัลที่แรกของโลก และเป็นต้นกำเนิดของระบบเข้ารหัสอย่าง Blockchain  ซึ่งเทคโนโลยี Blockchain นี้ เป็นระบบที่นำมาใช้เพื่อสนับสนุนและเพิ่มความปลอดภัยให้กับสกุลเงิน Bitcoin โดยไม่ต้องผ่านตัวกลางหรือบุคคลที่ 3 นั่นเอง หลาย ๆ คน อาจเข้าใช้ผิดว่า Bitcoin และ Blockchain นั้นคือสิ่งเดียวกัน เพราะเมื่อพูดถึง Bitcoin ก็จะมีระบบ Blockchain เข้ามาเกี่ยวข้องด้วย 

Public VS Private Blockchain

Public Blockchain คือ ระบบ Blockchain ที่อนุญาตให้คนเข้ามาร่วมบันทึกข้อมูลประวัติของการทำธุรกรรมดิจิทัลลงไปได้ Public Blockchain ใช้สำหรับทำธุรกรรมที่เป็นสาธารณะ ช่วยเพิ่มความโปร่งใส  เพราะทุกคนจะสามารถเห็นความเปลี่ยนแปลงได้ แต่มีข้อเสียคือ จะค่อนข้างดำเนินการช้า เนื่องจากมีการรับส่งข้อมูลจากทั่วโลก ส่วน Private Blockchain จะเป็นระบบ Blockchain ที่จะใช้งานแค่กับภายในองค์กร ไม่ได้เปิดเป็นสาธารณะ ข้อดีของ Private Blockchain คือ สามารถควบคุมเครือข่ายได้ กำหนดผู้ใช้งานได้ และทำธุรกรรมได้รวดเร็วกว่า แต่อาจไม่โปร่งใส่เท่ากับ Private Blockchain เนื่องจากมีการจำกัดการเข้าถึง ไม่มีการกระจายอำนาจในการตรวจสอบ

ข้อดีของ Blockchain 

  • ถูกต้องแม่นยำ : ธุรกรรมบนเครือข่ายบล็อคเชนจะได้รับการอนุมัติจากเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะช่วยลดการมีส่วนร่วมของมนุษย์ในกระบวนการตรวจสอบ และลดการโกงหรือข้อผิดพลาดต่าง ๆ ที่เกิดจากการทำงานของมนุษย์ 
  • มีระบบกระจายอำนาจ : การทำธุรกรรมไม่ได้ขึ้นอยู่กับหน่วยงานกำกับดูแลโดยรัฐบาลหรือธนาคาร แต่ธุรกรรมได้รับการอนุมัติโดยฉันทามติร่วมกันของผู้ใช้ ส่งผลให้การทำธุรกรรมมีความปลอดภัยและรวดเร็วยิ่งขึ้น
  • ความโปร่งใส : บล็อคเชนส่วนใหญ่เป็น Open source นั่นหมายความว่าทุกคนสามารถดูรหัสรวมถึงธุรกรรมได้ และทุกคนสามารถเข้าถึงข้อมูลที่อยู่บนระบบและสามารถตรวจสอบข้อมูลย้อนหลังได้ด้วย

ข้อเสียของ Blockchain 

  • มีกิจกรรมที่ผิดกฎหมาย : แม้ว่าความลับบนเครือข่ายบล็อคเชนจะถูกป้องกันจากผู้ใช้จากแฮกเกอร์ แต่ก็ยังมีการอนุญาตให้มีการซื้อขายที่ผิดกฎหมายบนเครือข่ายบล็อคเชน
  • ใช้เวลานาน : ระบบของ Bitcoin ใช้เวลานานเล็กน้อยในการเพิ่มบล็อกใหม่ให้กับบล็อคเชน และแม้ว่าโทเค็นอื่น ๆ เช่น Ethereum จะทำงานได้ดีกว่า Bitcoin แต่บล็อคเชนของ  Ethereum ก็ยังคงมีขีดจำกัด
  • กระบวนการตรวจสอบที่ซับซ้อน : ข้อเสียอย่างหนึ่งของ Blockchain  คือ กระบวนการตรวจสอบที่ค่อนข้างซับซ้อน เนื่องจากสำหรับทุกธุรกรรมในระบบจะต้องมีการตรวจสอบลายเซ็นแบบเข้ารหัส

Node คืออะไร ในระบบ Blockchain

Node ใน Blockchain คือคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นซึ่งทำตามกฎและใช้ข้อมูลร่วมกัน เป็น Open-source ที่ช่วยให้นักพัฒนาสามารถสร้างบริการต่าง ๆ ได้ โดยมีโปรโตคอลแบบ P2P (Peer to Peer) ที่จะทำให้ Node สามารถสื่อสารกันภายในเครือข่ายและถ่ายโอนข้อมูลเกี่ยวกับธุรกรรมและบล็อกใหม่ ๆ 

Smart Contract คืออะไร และเกี่ยวข้องอย่างไรกับ Blockchain

Smart Contract คือ “สัญญาอัจฉริยะ” หรือ ชุดคำสั่งทางคอมพิวเตอร์ที่สามารถดำเนินการได้ด้วยตัวเองโดยอัตโนมัติ เมื่อได้ทำตามครบเงื่อนไขที่กำหนด Smart Contract นี้จะไม่มีตัวคนกลาง หรือใช้คนเพื่อตรวจสอบเอกสาร แต่จะใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ดำเนินการตรวจสอบ ซึ่ง Smart Contract นี้ก็เป็นจุดเด่นชูโรงของ Ethereum Blockchain ที่ช่วยสร้างเงื่อนไข เพื่อป้องกันการโกงที่อาจจะเกิดขึ้นได้ และทำให้กระบวนการตรวจสอบเป็นไปได้ง่ายขึ้น

Blockchain ในอุตสาหกรรมอื่น ๆ นอกเหนือจากอุตสาหกรรมการเงิน 

Blockchain ไม่ได้ใช้เพียงแค่กับอุตสาหกรรมการเงินเท่านั้น แต่ด้วยความโปร่งใสของมัน สามารถนำมาประยุกต์ใช้กับอุตสาหกรรมอื่น ได้  ได้แก่

Blockchain (บล็อกเชน) คือ ระบบในการเก็บข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือ โปร่งใส และไม่ต้องอาศัยคนกลาง
  • จุดแข็งของระบบ Blockchain (บล็อกเชน) ก็คือ ความปลอดภัยที่ยากต่อการเปลี่ยนแปลง ปลอมแปลง บันทึกซ้ำหรือโจรกรรม (Hack)

  • รูปบน ของ desktop
    รูปล่าง ของ mobile

    ข้อได้ ไม่ ถูกต้องเกี่ยวกับ blockchain

    ข้อได้ ไม่ ถูกต้องเกี่ยวกับ blockchain

    Blockchain (บล็อกเชน) คือ ระบบในการเก็บข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือ โปร่งใส และไม่ต้องอาศัยคนกลาง เนื่องจากระบบบล็อกเชนจะทำงานบนความเชื่อใจของคนในระบบ ทำให้เกิดการตรวจสอบทุกขั้นตอน ทุกธุรกรรม ทุกชุดข้อมูลที่เกิดขึ้นในระบบของบล็อกเชน

    จุดแข็งของระบบ Blockchain (บล็อกเชน) คือ ความปลอดภัย

    เนื่องจากการทำงานของระบบบล็อกเชน จะบันทึกข้อมูลเป็นชุด ๆ ต่อเนื่องกันเป็นกล่อง ๆ (Block) เรียงต่อกันเหมือนกับโซ่ (Chain) ทำให้เป็นที่มาของคำว่าบล็อกเชน โดยหลักการของการยืนยันในการทำธุรกรรมจะให้ทุกคนในเครือข่ายเป็นผู้ยืนยันธุรกรรมนั้น ซึ่งผู้ที่เข้ามายืนยันจะได้รับ “ค่าธรรมเนียม” เป็นผลตอบแทนไป ซึ่งผู้ที่ยืนยันการทำธุรกรรมเหมือนกับคนที่เข้ามายกมือบอกว่ามีการทำธุรกรรมดังกล่าวเกิดขึ้นจริง ๆ 

    ถ้าหากต้องการเปลี่ยนแปลงหรือปลอมแปลงการบันทึกข้อมูลบนบล็อกเชนจำเป็นต้องจะเปลี่ยนแปลงข้อมูลบนเครื่องของทุกคนที่เราเข้ายืนยันธุรกรรมให้กับธุรกรรมนั้น ข้อมูล Block นั้น ๆ พร้อมกัน จึงสามารถทำได้ เหมือนกับเราจะต้องวิ่งล็อบบี้ทุกคนที่เห็นเหตุการณ์ดังกล่าว แล้วบังคับให้พูดหรือเห็นในสิ่งที่เราต้องการให้เป็นแบบนั้นพร้อมกันแทน

    ในทางทฤษฎีเป็นไปได้ยากมาก และในทางปฏิบัติ ณ ปัจจุบันยิ่งเป็นไปไม่ได้เลยที่จะบันทึกซ้ำ เปลี่ยนแปลงข้อมูลหรือที่จะเรียกว่า Hack ระบบของบล็อกเชนนั้น ๆ และถ้าเครือจ่ายบล็อกเชนนั้นถูกใช้งานอย่างแพร่หลาย แล้วยิ่งมีคนเข้ามาเป็นผู้ยืนยันธุรกรรมยิ่งมากเท่าไหร่ก็จะยิ่ง Hack ได้ยากมากขึ้นเท่านั้น 

    การประยุกต์ใช้ของระบบบล็อกเชนที่จะเข้ามาเปลี่ยนแปลงโลก 

    การเงินและการธนาคาร

    เนื่องจากจุดเด่นของการเก็บข้อมูลแบบบล็อกเชน คือ เรื่องความโปร่งใสและปลอดภัย ทำให้ตรงจริตกับความเป็นอุตสาหกรรมการเงินอย่างพอดิบพอดี จึงเป็นที่ของเทคโนโลยีที่ชื่อคริปโตเคอร์เรนซี (Cryptocurrency) ที่จะส่งผ่านเงินกันด้วยระบบบล็อกเชนเป็นหลักนั่นเอง

    หรืออย่าง Bitcoin เองก็ใช้เทคโนโลยีบล็อกเชนเป็นระบบเบื้องหลังในการแลกเปลี่ยน โอนเหรียญให้กันด้วยเช่นกัน

    Blockchain กับสุขภาพ

    เคยสงสัยกันมั้ยว่าทำไมเวลาที่เราไปตรวจสุขภาพ ทั้ง ๆ ที่ข้อมูลเป็นของตัวเราเอง แต่กลับเป็นกรรมสิทธิ์ของโรงพยาบาล เวลาจะใช้งานต้องไปขออนุญาตใช้งานจากโรงพยาบาลที่เราไปตรวจ ซึ่งเราสามารถใช้ บล็อกเชนในการเก็บข้อมูลและเมื่อใครต้องการเรียกดู หรือเราเปลี่ยนหมอที่ดูแลก็สามารถเรียกดูข้อมูลได้ทุกที่ทั่วโลก 

    การขนส่งและคลังสินค้า

    ปัญหาอย่างหนึ่งของการขนส่ง คือ ปัญหาของเน่าเสียหรือสินค้าหายระหว่างทาง การที่ใช้เทคโนโลยีบล็อกเชน จะเข้ามาช่วยในการเก็บข้อมูลและทำให้เรารู้ทันทีว่าสินค้าอยู่ตรงไหน ถูกผลิตวันไหน หมดอายุเมื่อไหร่ ไม่เกิดการสูญเสียของสินค้าแบบไม่มีสาเหตุได้ดี

    การสัมภาษณ์และสมัครงาน

    อีกหนึ่งปัญหาเวลาที่สัมภาษณ์งานและรับสมัครงานก็คือ ความไม่โปร่งใสของข้อมูลว่าเรียนจบจากที่ไหนมา เกรดเฉลี่ยเท่าไหร่ ทำงานที่ไหนมาบ้าง ปัญหาเหล่านี้จะหมดไป ถ้าหากมีการเก็บข้อมูลด้วยบล็อกเชน ผู้สัมภาษณ์สามารถเรียกดูข้อมูลได้ทุกที่แบบ Realtime และยังช่วยลดเวลาและต้นทุนในการตรวจสอบข้อมูลของผู้สมัครด้วยเช่นกัน

    อะไรคือข้อเสียของ block chain

    ข้อจำกัดของบล็อกเชน ไม่สามารถแก้ไขได้ ถือว่าเป็นข้อเสียในข้อดีที่ระบบไม่สามารถเปลี่ยนแปลงข้อมูลได้ เมื่อข้อมูลถูกบรรจุลงในบล็อกเชนแล้วจะเป็นไปไม่ได้เลยที่จะย้อนกลับไปแก้ไขสิ่งที่เกิดขึ้น เพราะฉะนั้นการทำธุรกรรมทุกครั้งควรจะตรวจสอบให้ดีก่อน

    ข้อกําหนดของ Public Blockchain คืออะไร

    Public Blockchain. Public Blockchain คือ Blockchain วงเปิดที่อนุญาตให้ทุกคนสามารถ เข้าใช้งานไม่ว่าจะเป็นการอ่าน หรือการท าธุรกรรมต่าง ๆ ได้อย่างอิสระ โดย ไม่จ าเป็นต้องขออนุญาต หรือรู้จักกันในอีกชื่อ คือ Permissionless Blockchain ดังแสดงในรูปภาพที่9.

    ข้อใดคือความหมายของบล็อกเชน

    Blockchain คือเทคโนโลยีว่าด้วยระบบการเก็บข้อมูล (Data Structure) ซึ่งไม่มีตัวกลาง แต่ข้อมูลที่ได้รับการปกป้องจะถูกแชร์และจัดเก็บเป็นสำเนาไว้ในเครื่องของทุกคนที่ใช้ฐานข้อมูลเดียวกันเสมือนห่วงโซ่ (Chain) โดยทุกคนจะรับทราบร่วมกัน ว่าใครเป็นเจ้าของและมีสิทธิในข้อมูลตัวจริง เมื่อมีการอัปเดตข้อมูลใด ๆ สำเนาข้อมูลในฐาน ...

    ข้อใดคือประโยชน์ของบล็อกเชน

    เนื่องจากว่าบล็อกเชนคือคลังของเครือข่ายการจัดเก็บข้อมูลแบบกระจายอำนาจ ไม่ได้กระจุกอยู่เพียงจุดเดียว ทำให้ผู้ใช้งานสามารถเข้าถึงการทำธุรกรรมทางการเงินได้มากขึ้นและสะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น ยิ่งสำหรับประเทศและพื้นที่อยู่ห่างไกลหรือประเทศที่มีปัญหาขาดแคลนทรัพยากรทางด้านนี้ ก็จะได้ผลประโยชน์กับเทคโนโลยีบล็อกเชนนี้ด้วย เพราะ ...