5W1H อยู่ในขั้นตอนใดของกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม

การต้งั คาถาม
5W1H

การต้งั คาถาม 5W1H

5W1H เป็นเครื่องมือสำหรบั กำรวิเครำะหร์ ปู แบบหนงึ่ ดว้ ยกำรตงั้ คำถำม
เพือ่ ให้ได้องค์ประกอบตำ่ ง ๆ ที่เช่อื มโยงกบั สง่ิ ทตี่ อ้ งกำรวเิ ครำะหไ์ ด้อยำ่ งชัดเจน
ซึ่งอำจเป็นวัตถุ ส่ิงของ เหตุกำรณ์ หรอื ปัญหำ สำมำรถนำไปใช้เปน็ ขอ้ มลู หรือ
สำรสนเทศเพ่อื กำรแก้ปญั หำไดต้ รงกับควำมตอ้ งกำรมำกท่ีสดุ กำรวิเครำะหโ์ ดย
ใช้ 5W1H จำเปน็ ต้องใชท้ ักษะในกำรตั้งคำถำม

การต้งั คาถาม 5W1H

ปัญหาหรอื ความต้องการคอื อะไร เป็นกำรบอกลักษณะของปัญหำ
หรอื ควำมต้องกำรวำ่ คืออะไร

ปัญหาหรือความต้องการเกิดขึ้นกับใคร เป็นกำรระบุตัวบุคคลที่
เก่ียวข้องกับปัญหำหรือควำมต้องกำร เช่น ผู้สร้ำงหรือผู้ผลิต ผู้ขนส่ง
ผู้ขำย ผู้ใช้งำน ท้ังน้ีควรระบุรำยละเอียดของผู้ที่เกี่ยวข้องน้ันด้วย เช่น
อำยุ เพศ อำชีพ พฤตกิ รรม

ปัญหาหรือความต้องการเกิดข้ึนท่ีไหน เป็นกำรบอกสถำนท่ี
สภำพแวดล้อม หรอื ตำแหนง่ ทเ่ี กดิ ปัญหำหรือควำมตอ้ งกำร

การต้งั คาถาม 5W1H

ปญั หาหรือความต้องการเกิดข้ึนเม่ือใด เป็นกำรบอกช่วงเวลำหรือ
สถำนกำรณ์ท่เี กดิ ปัญหำหรอื ควำมตอ้ งกำร

ทาไมจึงเกิดปัญหาหรือความต้องการ เป็นกำรบอกสำเหตุของ
ปัญหำหรอื ควำมต้องกำร

ปัญหาหรือความต้องการมีลักษณะอย่างไร เป็นกำรบอกควำม
ต้องกำรที่เกิดจำกผลของปัญหำมีลักษณะอย่ำงไร และแนวทำงกำร
แก้ปญั หำหรือสนองควำมต้องกำรควรทำอย่ำงไร

ตวั อย่างสถานการณ์และการวเิ คราะหโ์ ดยใช้ 5W1H

กำรกลับเข้ำท่ีพักในเวลำกลำงคืน ซ่ึงบริเวณโดยรอบมืดมำก
และไม่สำมำรถเปิดไฟบริเวณประตูรั้วได้ เน่ืองจำกสวิตช์อยู่
ภำยในบ้ำน ผู้พักอำศัยเกิดควำมไม่สะดวกในกำรไขกุญแจประตู
รั้วเพรำะมองไม่เห็นกุญแจ รวมท้ังอำจได้รับอันตรำยจำกสัตว์
ต่ำง ๆ หรือไม่ปลอดภัยจำกผู้ไม่ประสงค์ดีที่อำจหลบซ่อนอยู่ใน
บริเวณดังกล่ำว หำกเปิดไฟทิ้งไว้ก่อนออกจำกบ้ำนก็จะทำให้
ส้ินเปลอื งพลงั งำนโดยไม่จำเปน็ ผพู้ ักอำศยั ควรจะแก้ปัญหำได้
อย่ำงไร

ตัวอยา่ งสถานการณแ์ ละการวเิ คราะห์โดยใช้ 5W1H

เมอ่ื นำตัวอย่ำงสถำนกำรณ์ดังกลำ่ ว มำวิเครำะหด์ ว้ ยกำรต้ังคำถำม 5W1H อำจได้แนวคำตอบดังตำรำง

คาถาม 5W1H ตัวอย่างคาตอบ

Who ผูพ้ ักอำศัย และผ้ทู จี่ ำเปน็ ตอ้ งกลบั เขำ้ ที่พกั ตอนกลำงคืน

Where บริเวณประตูรั้วบ้ำนทพี่ ักอำศัย

When เมอ่ื เดนิ ทำงกลับเข้ำท่ีพักในเวลำกลำงคนื

Why เวลำกลำงคนื บรเิ วณบำ้ นไมม่ แี สงสว่ำง บริเวณประตูร้ัวจะมืดมำก และสวติ ชไ์ ฟรวั้ อยู่ในบ้ำน

What บรเิ วณประตรู ัว้ บ้ำนมดื มำก และไม่สำมำรถเปดิ สวติ ช์ไฟซึ่งอยใู่ นบ้ำนได้ เมื่อผู้พักอำศยั เดนิ ทำง
กลบั มำอำจไดร้ ับควำมไม่สะดวกสบำย หรืออำจไดร้ ับอันตรำย ไมป่ ลอดภัยจำกสตั ว์ต่ำง ๆ หรือผู้ไม่
ประสงค์ดที ี่อำจหลบซอ่ นอยู่ในบรเิ วณดงั กลำ่ ว

How ต้องกำรแสงสวำ่ งที่บริเวณประตูร้วั บำ้ นเม่ือผ้พู ักอำศยั เดินทำงกลบั ถึงทพ่ี ักในเวลำกลำงคนื

การตงั้ คาถาม 5W1H

จำกวิเครำะหด์ ว้ ยกำรตั้งคำถำม 5W1H จึงกำหนดเป็นกรอบของปัญหำหรอื ควำมตอ้ งกำร คือ

“ตอ้ งกำรแสงสว่ำงท่ีบริเวณประตูรว้ั บ้ำนเมื่อผู้พกั อำศัยเดนิ ทำงกลบั ถึงท่พี ักใน
เวลำกลำงคืน”

เพ่อื นำไปส่กู ำรแกป้ ญั หำหรอื สนองควำมต้องกำรตอ่ ไป

กระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม

กระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม

กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมเปน็ กระบวนการทางาน
เพ่อื แก้ไขปญั หา หรอื พัฒนางานให้มปี ระสิทธิภาพมากทส่ี ดุ ภายใต้
ขอ้ จากัด โดยมขี ัน้ ตอนการดาเนินงานประกอบด้วย 6 ขั้นตอน

กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม 1

ข้นั ระบุปัญหา (problem identification)

การระบุปัญหาเปน็ การทาความเข้าใจสถานการณ์ของปัญหาหรือ
ความตอ้ งการนัน้ ๆ อย่างละเอยี ด โดยวิเคราะหเ์ งื่อนไขหรอื ข้อจากัดของ
สถานการณ์ เพ่อื ตดั สินใจเลอื กปญั หาหรือความต้องการที่จะดาเนินการแก้ไข
แลว้ กาหนดขอบเขตของปัญหาใหช้ ัดเจน ซงึ่ จะนาไปสู่การหาแนวทางในการ
แกป้ ญั หาต่อไป

เพื่อแกไ้ ขปญั หาดังกลา่ วในการแกป้ ญั หาในชีวติ จริงบางคร้งั คาถามหรอื
ปญั หาทเี่ ราระบุอาจประกอบด้วยปัญหายอ่ ย ในข้นั ตอนของการระบุปัญหา
ผู้แกป้ ัญหาตอ้ งพจิ ารณาปัญหาหรือกจิ กรรมย่อยท่ตี อ้ งเกิดขน้ึ เพอ่ื ประกอบเป็น
วธิ ีการในการแกป้ ัญหาใหญ่ด้วย

กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม 2

ขน้ั รวบรวมขอ้ มูลและแนวคดิ ท่ีเกยี่ วข้องกับปัญหา (related information search)

ในการค้นหาแนวคดิ ทเี่ กีย่ วขอ้ งผูแ้ กป้ ัญหาอาจมีการดาเนนิ การ ดังนี้

(1) การรวบรวมขอ้ มูล คือ การสบื คน้ วา่ เคยมีใครหาวิธแี ก้ปญั หาดังกล่าวน้แี ลว้
หรอื ไม่ และหากมเี ขาแกป้ ัญหาอย่างไร และมีข้อเสนอแนะใดบา้ ง

(2) การค้นหาแนวคิด คือ การคน้ หาแนวคิดหรือความรู้ทางวิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์ หรือเทคโนโลยีทเี่ ก่ียวขอ้ งและสามารถประยุกต์ในการ
แกป้ ัญหาได้ ในข้ันตอนนี้

ผู้แกป้ ัญหาควรพิจารณาแนวคิดหรอื ความรู้ทงั้ หมดทส่ี ามารถใช้แกป้ ญั หาและ
จดบนั ทกึ แนวคดิ ไว้เปน็ ทางเลือก

และหลังจากการรวบรวมแนวคิดเหล่านั้นแลว้ จึงประเมนิ แนวคดิ เหล่าน้ัน โดย
พจิ ารณาถงึ ความเปน็ ไปได้ ความคมุ้ ทนุ ข้อดีและขอ้ จากดั และความเหมาะสมกบั
เงื่อนไขและขอบเขตของปัญหา แล้วจึงเลือกแนวคิด หรือวิธกี ารทเ่ี หมาะสมที่สดุ

กระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม 3

ขัน้ ออกแบบวิธกี ารแกป้ ญั หา (solution design)

ในข้ันตอนน้จี ะเลอื กแนวคดิ ท่เี หมาะสมในการแกป้ ญั หา แล้วการนา
ความรทู้ ่ีได้รวบรวมมาประยุกตเ์ พือ่ ออกแบบวธิ กี าร กาหนดองคป์ ระกอบของ
วิธกี ารหรือ ผลผลิต ทัง้ นผี้ แู้ ก้ปัญหาต้องอ้างองิ ถึงความรู้วทิ ยาศาสตร์
คณติ ศาสตร์ และเทคโนโลยีที่รวบรวมได้ ประเมิน ตดั สนิ ใจเลอื กและใช้ความรทู้ ี่
ไดม้ าในการสรา้ งภาพร่างของช้ินงานต้นแบบ (prototype) หรือกาหนดเคา้ โครง
ของวิธีการแก้ปญั หา

กระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม

ขนั้ วางแผนและดาเนินการแก้ปัญหา (planning and development)

ในข้ันตอนน้ี คือ การพฒั นาวธิ ีการแก้ปัญหาหรอื ชิ้นงานต้นแบบท่ีได้
ออกแบบไว้ ในขั้นตอนนี้ ผแู้ ก้ปัญหาต้องกาหนดขนั้ ตอนย่อยในการทางาน รวมทัง้
กาหนดเป้าหมายและระยะเวลาในการดาเนนิ การแตล่ ะขน้ั ตอนย่อยให้ชดั เจน

4

กระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม

ข้ันทดสอบ ประเมนิ ผล และปรบั ปรุงแก้ไขวธิ กี ารแกป้ ัญหาหรอื ชิ้นงาน
(testing, evaluation and design improvement)

เปน็ ขั้นตอนทดสอบและประเมินการใชว้ ธิ ีการหรือช้ินงานต้นแบบเพ่อื
แกป้ ัญหา ผลท่ไี ดจ้ ากการทดสอบและประเมนิ อาจถกู นามาใช้ในการปรบั ปรุงและ
พัฒนาผลลัพธ์ให้มีประสทิ ธภิ าพในการแกป้ ญั หามากขึ้น การทดสอบและประเมินผล
สามารถเกดิ ข้ึนไดห้ ลายคร้ังในกระบวนการแกป้ ัญหา

5

กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม

ขั้นนาเสนอวธิ ีการแกป้ ัญหา ผลการแก้ปัญหาหรือช้นิ งาน (presentation)

ในขั้นตอนน้ี หลงั จากการพฒั นาปรับปรุง ทดสอบและประเมนิ วธิ ีการ 6
แกป้ ญั หาหรือชิน้ งานจนมีประสิทธิภาพตามทีต่ อ้ งการแล้ว ผู้แกป้ ัญหาตอ้ งนาเสนอ
ผลลพั ธต์ ่อสาธารณชน โดยต้องออกแบบวิธกี ารนาเสนอขอ้ มลู ที่เข้าใจงา่ ยและ
นา่ สนใจ

กระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม

ในระหว่างการแกป้ ัญหาดว้ ยกระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม ขน้ั ตอน
การดาเนนิ งานสามารถสลับไปมาหรือยอ้ นกลบั ขัน้ ตอน กล่าวคอื ในการทางานตาม
กระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรมนัน้ หากชิ้นงานหรอื วิธีการแกป้ ัญหายังมี
ขอ้ บกพรอ่ ง ทางานหรือใช้งานไม่ได้ อาจต้องย้อนกลบั ไปทางานซา้ ในบางขน้ั ตอน เชน่
อาจกลับไปออกแบบวธิ ีการแกป้ ญั หาใหม่ หรอื อาจกลบั ไปรวบรวมขอ้ มูลเพอื่ สรา้ ง
แนวทางในการแก้ปญั หาใหม่ เพอ่ื พัฒนาหรือปรบั ปรงุ ผลงานใหด้ ขี นึ้ การย้อนกลบั ไป
ดาเนนิ งานซา้ ทขี่ ้นั ตอนใดของกระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม ไม่มกี ารกาหนดที่
แนน่ อนวา่ จะตอ้ งย้อนกลับไปที่ขนั้ ตอนใดขั้นตอนหนึ่ง แต่ข้นึ อย่กู บั สถานการณน์ น้ั ๆ

ผงั ก้างปลา

ผังก้างปลา

ผังก้างปลา (fishbone diagram) เปน็ ผังที่แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างปัญหากับสาเหตุของปัญหาทั้งหมด
ชื่อเรียกผังก้างปลานี้เนื่องจากเป็นผังท่ีมีลักษณะคล้ายปลาท่ีประกอบด้วย หัวปลา โครงร่างกระดูกแกนกลาง และ
ก้างปลา โดยระบุปัญหาท่ีหัวปลา ระบุสาเหตุหลักของปัญหาเป็นลูกศรเข้าสู่กระดูกแกนกลาง และระบุสาเหตุย่อยท่ี
เป็นไปได้ที่ส่งผลกระทบให้เกิดปัญหาน้ันเป็นลูกศรเข้าสู่สาเหตุหลัก นอกจากนี้ ผังก้างปลามีช่ือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า
แผนผังอิชกิ าว่า (Ishikawa Diagram)

เม่ือไหร่จงึ จะใช้ผงั กา้ งปลา

1. เมอ่ื ต้องการค้นหาสาเหตขุ องปัญหา ซง่ึ ปัญหาหน่ึงอาจมีปัจจัยหรือสาเหตุท่เี กย่ี วข้องหลายปจั จยั
2. เมื่อต้องการใช้ระดมความคิด เพอื่ ให้สมาชิกของกลุ่มร่วมกันหาสาเหตุของปัญหาที่ระบุไวท้ ห่ี ัวปลา

วิธกี ารสร้างผงั กา้ งปลา

1. กาหนดหรอื เขยี นปัญหาท่ีหัวปลาทางด้านขวาของแผนภาพ ควรกาหนดให้ชัดเจน มีความเป็นไปได้ ซึ่ง
หากเรากาหนดประโยคปัญหาน้ีไม่ชัดเจนต้ังแต่แรก จะทาให้ต้องใช้เวลามากในการค้นหาสาเหตุ และจะใช้
เวลานานในการทาผงั กา้ งปลา

วธิ กี ารสร้างผังก้างปลา

2. เขียนสาเหตหุ รือปจั จัยหลกั ๆ ซ่ึงอาจมีหลายสาเหตไุ ว้ที่ปลายก้างปลาแต่ละก้าง โดยสาเหตุหรือปัจจัยนัน้ สามารถที่
จะช่วยให้เราแยกแยะและกาหนดสาเหตุต่าง ๆ ได้อย่างเป็นระบบ และเป็นเหตุเป็นผล ซ่ึงสาเหตุหรือปัจจัยหลัก ๆ อาจ
เปลี่ยนแปลงไปขนึ้ กับบรบิ ทของปัญหา เชน่

- 4M 1E (Man Machine Material Method Environment)
- 4P (Place Procedure People Policy)
- 4S (Surrounding Supplier System Skill)

วธิ กี ารสร้างผังก้างปลา

3. เขียนสาเหตุย่อยต่าง ๆ ที่ก่อให้เกิดผลกระทบในแต่ละสาเหตุหรือปัจจัยหลักไว้ที่ก้างปลาย่อย หากมี
สาเหตุย่อย ๆ อีกก็จะเขียนไว้ท่ีก้างปลาย่อยท่ีเกี่ยวข้อง โดยอาจใช้คาถามทาไม หลาย ๆ คร้ัง ในการเขียน
แต่ละก้างปลาย่อย

วธิ กี ารสร้างผังก้างปลา

4. เม่ือส้นิ สดุ คาถามแล้ว จึงขยบั ไปที่กา้ งตอ่ ๆ ไป จนกวา่ จะไดผ้ ังกา้ งปลาท่สี มบรู ณ์

วิธกี ารสรา้ งผงั กา้ งปลา

5. เม่ือทาผังก้างปลาเรียบร้อยแล้ว ก่อนที่จะนาผังก้างปลาไปใช้ประโยชน์ต่อไป ควรตรวจทานดูว่าการเขียนเหตุผลบนผังมี
ความสัมพนั ธก์ นั หรอื ไม่ โดยให้ทดลองอ่านจากก้างท่เี ล็กทีส่ ุด ไปยังกา้ งท่ใี หญท่ ่สี ดุ จนกระท่ังถึงหวั ปลา

จากตัวอย่างผังกา้ งปลาปญั หาค่าไฟฟ้าของโรงเรียนสูงขึน้ สามารถสรุปสาเหตุของก้างปลายอ่ ยทีเ่ กี่ยวกับผู้ใช้ได้วา่ “การ
ลมื ปิดไฟเม่ือเลิกใช้งานของผใู้ ชท้ าใหค้ า่ ไฟฟ้าของโรงเรยี นสูงขน้ี ”

การเลือกสาเหตปุ ญั หาจากผังกา้ งปลาเพื่อแกป้ ญั หา

ในการดาเนินการเลือกสาเหตจุ ากกา้ งปลาออกมาทาการแกไ้ ขน้ัน อาจเลือกไดต้ ามหลกั การ
1.หลักการของพาเรโต คือ 80-20 หรือ 20-80 น่ันคือ เลือกก้างปลามาแค่ร้อยละ 20 แต่

สามารถส่งผลกระทบกับหัวปลาได้ร้อยละ 80 หรือเลือกสาเหตุมาแก้น้อย ๆ แต่สามารถแก้ไข
ปญั หาได้มาก ๆ

2. ใชต้ ารางจัตรุ ัสแสดงการกาหนดความสาคัญของแต่ละสาเหตุ (แต่ละก้างปลา)

ตารางจตั รุ สั แสดงการกาหนดความสาคญั ของแต่ละสาเหตุ

ตวั อย่างการใชต้ ารางจตั ุรสั แสดงการกาหนดความสาคัญของแตล่ ะสาเหตุ (แตล่ ะกา้ งปลา)

ตารางจตั รุ ัสแสดงการกาหนดความสาคญั ของแตล่ ะสาเหตุ

จากตารางการเปรียบเทียบระหว่างผลกระทบปัญหาที่หัวปลากับ
ความสามารถในการแก้ปัญหา จะเหน็ วา่ เราควรเลอื กใหค้ วามสาคัญกับก้างปลาหรือ
สาเหตุที่มีผลกระทบกับปัญหามาก ๆ ซึ่งง่ายในการดาเนินการหรือใช้เวลาส้ัน ๆ ใน
การแกไ้ ข นน่ั คอื สาเหตุของปญั หาทอี่ ยใู่ นกลุ่ม A และในทานองเดียวกัน หากสาเหตุ
ของปญั หาใดทตี่ กอยูใ่ นกลุม่ D คือ ผลกระทบตอ่ ปญั หาน้อย ดาเนนิ การแกไ้ ขได้ยาก
ถือวา่ เปน็ กลุ่มท่ยี ังไม่ควรจะดาเนินการแก้ไขในตอนน้ี เพราะนอกจากจะมีความเส่ียง
ต่อความไม่สาเร็จแล้ว ยังไม่ส่งผลใด ๆ กับปัญหาที่ต้ังไว้อีกด้วย ซ่ึงอาจเสียเวลาใน
การดาเนินการ บางครั้งสาเหตุของปัญหาในกลุ่ม D อาจเป็นสาเหตุที่เกิดข้ึนตาม
ธรรมชาติกเ็ ปน็ ไปได้

ตารางจตั รุ สั แสดงการกาหนดความสาคัญของแตล่ ะสาเหตุ

ส่วนสาเหตุของปัญหาที่ตกอยู่ในกลุ่ม B คือ ดาเนินการแก้ไขได้ง่ายแต่ผลกระทบ
ตอ่ การแก้ปัญหานอ้ ย สาเหตุเหล่านีค้ วรจะมีการดาเนินการแก้ไขในกิจกรรมปรับปรุง
กระบวนการทางาน ซึ่งดาเนินการปรับปรุงอย่างต่อเน่ือง บางคร้ังสามารถ
ดาเนินการแก้ไขคนเดียวได้ ส่วนสาเหตุปัญหาในกลุ่ม C ถ้าแก้ไขจะส่งผลกระทบต่อ
ปัญหามาก แต่ดาเนินการแก้ไขได้ยาก แสดงว่าสาเหตุของปัญหากลุ่มน้ีต้องใช้เวลา
และความสามารถมาก ๆ ในการแกไ้ ข จึงต้องมกี ารวางแผนหรือกลยุทธใ์ นการแก้ไข


5W1H อยู่ในขั้นตอนใดของการออกแบบเชิงวิศวกรรม *

ขั้นที่ 1 ระบุปัญหา (Problem Identification) เป็นขั้นตอนที่ผู้แก้ปัญหาทำความเข้าใจในสิ่งที่เป็นปัญหาในชีวิตประจำวันที่พบเจอ ซึ่งสามารถใช้ทักษะการตั้งคำถามด้วยหลัก 5W 1H เมื่อเกิดสถานการณ์ปัญหาหรือความต้องการ ซึ่งคำถามจากหลัก 5W1H ประกอบด้วย Who เป็นการตั้งคำถามเกี่ยวกับบุคคลที่เกี่ยวข้องกับปัญหาหรือความต้องการ

กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมในขั้นตอนใดที่ใช้เทคนิคการวิเคราะห์ด้วย 5W1H

ขั้นที่ 1 ระบุปัญหา (Problem Identification) เป็นขั้นตอนที่ผู้แก้ปัญหาทำความเข้าใจในสิ่งที่เป็นปัญหาในชีวิตประจำวันที่พบเจอ ซึ่งสามารถใช้ทักษะการตั้งคำถามด้วยหลัก 5W 1H เมื่อเกิดสถานการณ์ปัญหาหรือความต้องการ ซึ่งคำถามจากหลัก 5W1H ประกอบด้วยWho เป็นการตั้งคำถามเกี่ยวกับบุคคลที่เกี่ยวข้องกับปัญหาหรือความต้องการ

ขั้นตอนสําคัญของกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม มีอะไรบ้าง

3. ขั้นตอนสาคัญของกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม มีอะไรบ้าง 1.การกาหนดปัญหา สร้างแนวคิด ด้วยเทคนิคการระดมสมอง 2.การดาเนินการวิจัย เพื่อสารวจแนวคิดการแก้ปัญหาที่เป็นไปได้การเลือกแนวคิดที่เหมาะสม 3.การทดสอบด้วยการสร้างแบบจาลองและต้นแบบ 4.ดาเนินการแก้ปัญหาด้วยชิ้นงาน 5.ประเมินว่าสามารถแก้ปัญหาได้หรือไม่ 6.การนาเสนอผล

กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม คืออะไร มีอะไรบ้าง

3. ขั้นตอนสาคัญของกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม มีอะไรบ้าง 1.การกาหนดปัญหา สร้างแนวคิด ด้วยเทคนิคการระดมสมอง 2.การดาเนินการวิจัย เพื่อสารวจแนวคิดการแก้ปัญหาที่เป็นไปได้การเลือกแนวคิดที่เหมาะสม 3.การทดสอบด้วยการสร้างแบบจาลองและต้นแบบ 4.ดาเนินการแก้ปัญหาด้วยชิ้นงาน 5.ประเมินว่าสามารถแก้ปัญหาได้หรือไม่ 6.การนาเสนอผล

5W1H อยู่ในขั้นตอนใดของการออกแบบเชิงวิศวกรรม * กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมในขั้นตอนใดที่ใช้เทคนิคการวิเคราะห์ด้วย 5W1H ขั้นตอนสําคัญของกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม มีอะไรบ้าง กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม คืออะไร มีอะไรบ้าง กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม 6 ขั้นตอน ขั้นแรกของกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม คือข้อใด เทคนิคใดที่ใช้ในขั้นการระบุปัญหา ขั้นตอนการ research ของกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมคือขั้นตอนใด ข้อใดไม่ใช่ กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม ขั้นสุดท้ายของกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม คือข้อใด การออกแบบเชิงวิศวกรรม เป็นการรวมกันของศาสตร์ใด