ทํา น บ กัก เก็บน้ำ เพื่อ แก้ไข ปัญหา ขาดแคลนน้ำใน ฤดู แล้ง ของ สุโขทัย เรียกว่า อะไร

บรรพบุรุษของเราแต่โบราณใช้ความเข้มแข็งต่อสู้เพื่อรักษา เพื่อขยายดินแดน สร้างบ้านแปลงเมืองมาได้ แต่กับภัยธรรมชาติ อย่างอุทกภัย แทนที่จะปะทะหักหาญ ท่านจัดการด้วยความโอนอ่อนผ่อนปรน

ในหนังสืออยุธยามาจากไหน? (สำนักพิมพ์นาตาแฮก ส.ค.2561) สุจิตต์ วงษ์เทศ เขียนไว้ในหัวข้อที่ 3 สร้างบ้านแปลงเมือง...ว่า อยุธยาน้ำท่วม สุโขทัยน้ำแล้ง

คนโบราณมีวิธีจัดการกับน้ำด้วยการวางผังเมืองต่างกัน อยุธยาเมืองลุ่ม น้ำท่วมหนักจึงต้องขุดคลองไล่น้ำไหลให้ลดเร็วที่สุด บนเกาะเมืองอยุธยาจึงต้องมีคลองจำนวนมาก

สุโขทัยเมืองดอน น้ำแล้ง ต้องขุดสระ (เรียกตระพัง) เก็บกักน้ำใช้ยามแล้ง

จึงพบสระจำนวนมากทั้งในเมืองและนอกเมือง

เรื่องของคลองในอยุธยา สุจิตต์ วงษ์เทศ บอกว่า คลองในเกาะเมืองมีตามธรรมชาติเดิมอยู่แล้วแต่ไม่มากนัก และไม่ตัดตรงเป็นระเบียบ

เมื่อชุมชนบนเกาะเมืองขยายกว้างออกไป ทางราชการจึงขุดแปลงคลองในเมืองทั้งแนวนอนด้านตะวันตก ด้านตะวันออก และคลองแนวตั้งทั้งด้านเหนือด้านใต้เป็นเส้นตรงตัดกันไปมาราวกับใยแมงมุม

คลองเหล่านี้ใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง หนึ่งใช้เป็นเส้นทางคมนาคมทางน้ำ สองชักน้ำเข้าใช้ในเมือง สามระบายน้ำในฤดูน้ำหลาก

ผมอ่านถึงตรงนี้ก็เห็นว่าน้ำมีคุณอเนกอนันต์ ถ้ารู้จักใช้ให้ถูกที่ถูกเวลา

ย้อนไปเรื่อง สุโขทัยเมืองดอน หนึ่งในเกียรติประวัติพ่อขุนรามคำแหงมหาราช ที่สร้างไว้ในสุโขทัยก็คือ นโยบายขุดสระหรือตระพังเอาไว้ใช้ในยามแล้ง

บางประโยคในศิลาจารึก...น้ำในตระพังสีใสกินดี ดั่งน้ำโขงเมื่อแล้ง...แสดงว่าเป็นผลงานที่ยิ่งใหญ่ ไม่ใช่เพิ่งมานึกถึงกันในวันนี้ เล่าขานยกย่องกันมาตั้งแต่สมัยนั้น

ภูมิปัญญาสมัยสุโขทัยขุดสระเก็บน้ำไว้ใช้ยามแล้ง...ผู้รู้มากมายในสมัยใหม่คงบอกได้ว่า ก็ทำเขื่อน ทำฝาย ฯลฯ กักเก็บน้ำ ขุดคลอง ฯลฯ กันไว้มากต่อมากนักต่อนักแล้ว

ปัญหาของเขื่อนของฝาย เมื่อน้ำน้อยก็ไม่พอใช้ เหมือนเมื่อไม่กี่วันที่ผ่านมา...เกิดแล้งกลางฤดูฝน...และตอนนี้พายุใหญ่มาก

น้ำมากก็ต้องหาทางระบายจนบ่าท่วมบ้านเมือง

ไม่ว่าปัญหาน้ำแล้งหรือปัญหาน้ำท่วม นายกฯประยุทธ์แวะเวียนไปเยี่ยมเยียนแล้ว ทั้งอีสานเหนือ ปัญหาเฉพาะหน้ามีอะไรช่วยได้ก็ช่วยกันไป เป็นภาพที่คุ้นเคยชินตา

แต่คำเดียว...ที่ผมอยากได้ยินจากปากทุกฝ่าย ผู้นำ ผู้รู้เรื่องน้ำ ชาวบ้าน ฯลฯ ก็คือ

เมื่อน้ำมามากๆ น้ำที่เราขาดแคลนกันนักเมื่อแล้ง...บ่าท่วมมาถึงตรงหน้า

ทำไมเราไม่หาวิธีกักเก็บน้ำเอาไว้ใช้

เมื่อยังสร้างเขื่อน สร้างฝายไม่ได้ หรือสร้างไว้ไม่พอ สิ่งที่ทำได้ง่ายก็คือ การขุดสระแบบตระพังเหมือนสมัยพ่อขุนรามคำแหง แทนที่จะปล่อยให้น้ำท่วมไหลผ่านไปต่อหน้าต่อตา

หนึ่งในเกษตรแบบเศรษฐกิจพอเพียง พระบาทสมเด็จ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร...

ทรงย้ำแล้วย้ำอีกก็คือ ทุกสวนทุกไร่ต้องขุดบ่อน้ำไว้สำรองใช้

ตอนแล้งในฤดูฝนที่ตะพานหิน จังหวัดพิจิตร ผมดูข่าวชาวบ้านขุดหลุมเล็กๆ เป็นช่องทางให้น้ำฝนหรือน้ำท่วมซึมลงไปเก็บไว้ใต้ดิน เมื่อแล้งน้ำก็สูบขึ้นมาใช้แบบน้ำบาดาล นี่คือความพยายามหนึ่ง

ประสิทธิผลของการฝากน้ำไว้ใต้ดินมีมากน้อยแค่ไหน ผมยังไม่เคยได้ยินผลงานวิจัย

ถ้าใช้ได้ผลจริง...เราก็จะมีน้ำสำรองไว้อีกแห่ง...ดีกว่ารอฟ้าฝนประทานเหมือนอย่างที่เคยรอๆกันมา.

กิเลน ประลองเชิง

�Ѩ��·���ռŵ���ѡɳзҧ���ɰ�Ԩ�ͧ�ҳҨѡ���⢷��

��þԨ�óҶ֧��Ҿ���ɰ�Ԩ�ͧ�ҳҨѡ���⢷�¹�� ���繨е�ͧ�Ԩ�óҶ֧��Ҿ�Ǵ�����ͧ��⢷������ռŵ������зҧ���ɰ�Ԩ�ͧ��⢷�����ҧ�ú�ҧ ��駹�����ͨ������㨶֧�ŷҧ���ɰ�Ԩ�����Դ�����

�Ѩ��·������͵���ѡɳ����ɰ�Ԩ�ͧ�ҳҨѡ���⢷�� �մѧ���

��Ҿ��鹴Թ������觹��
��鹷��ͧ�ҳҨѡ���⢷����ǹ�˭���������������л�١���кҧ��ǹ�繾�鹷��������� ������Դ��ӷ����ͧ�������� �����˹ͧ�֧�ҡ ��鹷��������Шзӡ���ɵ���������Ǥ�� ��鹷�����ͺ��������dz���ͧ�ͧ��(��ɳ��š) ��ǹ��÷�����ӹ�Ӣ�Ҵ�˭���ż�ҹ�֧ 3 ��¤�� �ӹ�ӻԧ ��ҹ���ͧ�ҡ��Ъҡѧ��� (��ᾧྪ�) �ӹ���� ��ҹ��⢷���������Ѫ����� �ӹ�ӹ�ҹ ��ҹ������ (�صôԵ��) �ͧ�� ��������ǧ ( �ԨԵ�) �ӹ�ӷ�������¹���Ҩ������觹�ӷ���������Դ�����ش�����ó��͡�÷ӡ���ҵ� ������繨�ԧ���� �ӹ�ӷ�������¡�Ѻ����Ҿ��ӹ����˹����� ����Ĵٹ����ҡ��ӡ���ŷ������ 2 �ҡ��觷���������������÷ӹ� ���ҧ�á��� �ҧ�ҳҨѡ���⢷�¡������������䢻ѭ������ҹ�� ���¡�èѴ�к��Ż�зҹ��Ҫ��� ������ա�����ҧ�ӹ��ѡ�纹��������մ���� ��е�оѧ�ͺ����dz��ا��⢷�� ������ͧ�Ӥѭ���������л�١�Ӥѭ�ͧ�ҳҨѡ� �������ö��䢻ѭ����Ҿ��鹴Թ�������ó���С�âҴ�Ź������������

����駢ͧ��⢷��
��⢷���繪����������ӹ����ż�ҹ�͡������ŷ�������¹͡�ҡ����ѧ�繨ش�������� ���ͧ�ҧ�͹�˹�͡Ѻ�͹�����дǡ ���������ö���ٹ���ҧ��ä�ҷ�駷ҧ����зҧ����������ҧ��

��º�¢ͧ��黡��ͧ�ҳҨѡ���⢷��
��º�����ҧ����ѹ��Ҿ�Ѻ�����鹵�ҧ�ͧ��ѵ��������ҳҨѡ���⢷�� ��������ǹ������������ҧ������ԭ������ͧ�ҧ��ҹ��ä�� �� ��͢ع����Թ��ҷԵ�� ��������ҧ����ѹ��Ҿ�Ѻ��鹹����ո����Ҫ ��͢ع������˧����Ҫ �ç�վ�к���Ҫҹحҵ������Ҫ�ԴҢͧ���ͧ��������ɡ�Ѻ�С�� ���Ӫ���ͭ������ͧ˧��Ǵ� �������·�����ä�Ң�¢ͧ��⢷�¡Ѻ�����Ҥ�ҧ�͹��ͧ�����Թ⴨չ��仴��¤����Һ��� �͡�ҡ�����¡��鹡�èѴ�������Թ��Ҽ�ҹ��ҹ������¡��� ��ѧ�ͺ� ������ǹ���·�����ä�Ңͧ�ҳҨѡ���⢷�¢��µ�Ǵ���

Ref : http://www.geocities.com/m6_7_mp/new_page_11.htm 19/02/2008

รายละเอียด ผู้ดูแลระบบ หมวดหลัก: ข่าวความเคลื่อนไหวงานพัฒนา สร้างเมื่อ: 30 พฤศจิกายน 2554 ฮิต: 15881

ตัวอย่างการจัดการน้ำของคนสุโขทัย เป็นตัวอย่างของภูมิปัญญาไทยในการควบคุมสภาวะธรรมชาติให้เหมาะสมต่อการตั้งถิ่นฐานการดำรงชีวิต 

ระบบการจัดการน้ำเป็นภูมิปัญญาที่เกิดในประเทศไทยที่มีมาตั้งแต่สมัยการตั้งบ้านแปลงเมือง ดังหลักฐานทางด้านโบราณคดีตามชุมชนโบราณขนาดใหญ่หลายแห่ง มีการขุดคูน้ำและแหล่งน้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค นอกจากเหตุผลการป้องกันข้าศึกศัตรูแล้วยังเป็นแหล่งอาหารให้กับประชาชนอีกด้วย ในสมัยสุโขทัย บริเวณที่ตั้งเมืองสุโขทัยมักประสบปัญหาความขาดแคลนน้ำในฤดูแล้ง อันเป็นปัญหาจากลักษณะทางภูมิศาสตร์ของสุโขทัยที่ปราศจากแหล่งเก็บน้ำขนาดใหญ่ที่อยู่ใกล้เคียง เพราะฉะนั้น คนไทยสมัยสุโขทัย จึงได้ดัดแปลงสภาพธรรมชาติในรูปแบบการจัดระบบชลประทาน ซึ่งเป็นภูมิปัญญาไทยในการจัดระบบน้ำที่สลับซับซ้อน ตั้งแต่การนำน้ำหรือส่งน้ำไปยังพื้นที่ที่ต้องการน้ำ การเก็บกักน้ำไว้ใช้และแจกจ่ายเพื่ออุปโภค บริโภค คนสุโขทัยบังคับน้ำที่ไหลจากที่สูงลงมายังพื้นที่ราบให้ไหลไปตามแนวดินและท่อส่งน้ำ ไปยังแหล่งเก็บกักน้ำต่างๆ นอกจากนี้ระบบการควบคุมน้ำดังกล่าว ยังลดสภาวะอุทกภัยที่เกิดขึ้นได้อีกด้วย


            เครือข่ายองค์กรชุมชนลูกพ่อขุนราม ร่วมกับเครือข่ายสภาองค์กรชุมชนตำบลจังหวัดสุโขทัย จึงได้จัดเวทีสรุปบทเรียน น้ำท่วม น้ำแล้ง เพื่อรับฟังความคิดเห็นและแนวคิดการจัดการน้ำทั้ง ๙ อำเภอของจังหวัดสุโขทัย เมื่อวันที่ ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๔ ณ ที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบลดงเดือย อำเภอกงไกลาศ จังวัดสุโขทัย โดยมีตัวแทนผู้ได้รับผลกระทบจากน้ำท่วมน้ำแล้งจากทุกอำเภอเข้าร่วมกว่า ๓๐ คน 
  

ทํา น บ กัก เก็บน้ำ เพื่อ แก้ไข ปัญหา ขาดแคลนน้ำใน ฤดู แล้ง ของ สุโขทัย เรียกว่า อะไร
นายสมศักดิ์ คำทองคง ประธานองค์กรชุมชนลูกพ่อขุนราม กล่าวว่า ปัญหาน้ำท่วม น้ำแล้ง อาจมองเป็นคนละเรื่อง แต่เรื่องการจัดการน้ำ ถือว่าเป็นเรื่องเดียวกัน ปัญหาส่วนใหญ่ของการจัดการน้ำจะเป็นเรื่องของการเปิด-ปิดประตูระบายน้ำ แต่ก็มีการแก้ไขปัญหาคือการตั้งเครือข่ายมาร่วมกันบริหารจัดการน้ำตั้งแต่การเปิดปิดประตูระบายน้ำ มีการตั้งกลุ่มผู้ใช้น้ำโดยขบวนชาวบ้าน และมีข้อเสนอต่อราชการซึ่งเป็นหน่วยงานสนับสนุนและส่งเสริมกระบวนการของชาวบ้าน

ระบบผันน้ำปิงสู่น้ำยม

           ตามหลักศิลาจารึกสุโขทัยหลักที่ ๑ ที่ว่า “เมืองสุโขทัยนี้ดี ในน้ำมีปลา ในนามีข้าว” การจัดการปัญหาน้ำเพื่อใช้ปลูกข้าวที่ก้าวหน้ายิ่ง คือการใช้แนวถนนพระร่วงเป็นคันกั้นน้ำเป็นช่วงๆ ทำให้สองข้างทางเป็นเสมือนคลองชลประทานผันน้ำเข้าสู่พื้นที่เพาะปลูก ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระราชดำริให้อนุรักษ์แนวคลองชลประทานโบราณนี้ เพื่อแก้ปัญหาขาดแคลนน้ำทำนาตามที่ราษฎรกำแพงเพชรทูลเกล้าถวายฎีกา ชื่อว่า “โครงการพระราชดำริท่อทองแดง” 


ทํา น บ กัก เก็บน้ำ เพื่อ แก้ไข ปัญหา ขาดแคลนน้ำใน ฤดู แล้ง ของ สุโขทัย เรียกว่า อะไร
นายจรูญ สุขแป้น กำนันตำบลหนองจิก อำเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย เล่าว่า โครงการท่อทองแดง เป็นโครงการระบบส่งน้ำ ลำน้ำปิง ลำน้ำยม ในช่วงหลายปีที่ผ่านมาชาวบ้านได้มีการประสานงานตั้งเป็นเครือข่ายผู้ใช้น้ำท่อทองแดง มีจังหวัดสุโขทัยและกำแพงเพชร การใช้น้ำบริเวณที่ต้นน้ำและพื้นที่ปลายน้ำ โดยจะมีการประชุมกันและมีการประกาศทางวิทยุชุมชน หอกระจายข่าวเพื่อประชาสัมพันธ์แนวทางการเพาะปลูกของเกษตรกร หากน้ำมามากก็จะปล่อยให้ไหลไปตามธรรมชาติ ไม่กั้นน้ำไว้เหมือนคนกรุงเทพ หากน้ำมีน้อยก็จะแจ้งเกษตรกรว่าควรปลูกถั่วเหลือง หรือพืชที่ใช้น้ำน้อย เพื่อลดความเสียหายแก่เกษตรกรในช่วงหน้าแล้ง

นอกจากนั้นทางเครือข่ายยังมีการพูดคุยกันถึงการปิด –เปิด ประตูน้ำในช่วงน้ำหลาก – น้ำน้อย การจัดสรรน้ำก่อน –หลัง ปริมาณน้ำที่กักเก็บได้จะเพียงพอทำการเกษตรจำนวนกี่ไร่ รวมถึงแต่ละหมู่บ้านมีผู้ใช้น้ำ จะทำหน้าที่ผลัดเวรกันดูแลฝายอย่างไร สำหรับแนวทาวการจัดการน้ำต้องอาศัยจารีต ประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่นมาผสมผสาน และให้ประชาชนมีส่วนร่วมกันจริงๆ ภาครัฐช่วยประสาน คอยเป็นพี่เลี้ยงให้ความช่วยเหลือ อย่างไรก็ตาม สิ่งสำคัญจริงๆในการแก้ปัญหาทรัพยากรน้ำ ชาวบ้านต้องมีการใช้น้ำอย่างประหยัดและมีประสิทธิภาพ และดูแลรักษาแหล่งน้ำให้สะอาด หากช่วยกันดูแลรักษา ชุมชนท้องถิ่นก็จะสามารถใช้ประโยชน์ได้ยาวนาน


            “ทั้งนี้ทางเครือข่ายยังสมทบงบประมาณการบริหารจัดการน้ำกันเอง โดยเก็บเงินเกษตรกรไร่ละ ๕ บาท โดยจัดสรรให้เครือข่ายบริหารจัดการน้ำในตำบล ๔ บาท และอีก ๑ บาท สมทบกับเครือข่ายกำแพงเพชร และปลูกต้นไม้เพื่อดูแลต้นน้ำของเราที่จังหวัดตากด้วย”
นายจรูญกล่าว