วิทยาศาสตร์แบ่งออกได้เป็น 2 สาขามีอะไรบ้าง

สาขาของวิทยาศาสตร์

สาขาของวิทยาศาสตร์

วิทยาศาสตร์แบ่งออกได้เป็น 2 สาขามีอะไรบ้าง

วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ 

ฟิสิกส์
ฟิสิกส์เชิงทฤษฎี(en: theoretical physics)
ฟิสิกส์เชิงคำนวณ (eng)
สวนศาสตร์ (Acoustics)
Astrodynamics (eng)
ดาราศาสตร์ (Astronomy)
ฟิสิกส์ดาราศาสตร์ (Astrophysics)
Atomic, Molecular, and Optical physics eng
ชีวฟิสิกส์ (Biophysics)
Condensed matter physics (eng)
จักรวาลวิทยา (Cosmology)
อติสีตศาสตร์ (Cryogenics)
พลศาสตร์ (Dynamics)
พลศาสตร์ของไหล (Fluid dynamics)
Materials physics (eng)
Mathematical physics (eng)
กลศาสตร์ (Mechanics)
นิวเคลียร์ฟิสิกส์ (Nuclear physics)
ทัศนศาสตร์ (Optics)
Particle physics (eng) (or High Energy Physics)
พลาสมาฟิสิกส์ (eng)
พอลิเมอร์ฟิสิกส์ (eng)
Vehicle dynamics (eng)

เคมี
เคมีวิเคราะห์ (Analytical chemistry)
ชีวเคมี (Biochemistry)
เคมีการคำนวณ(Computational chemistry)
เคมีไฟฟ้า(Electrochemistry)
เคมีอนินทรีย์ (Inorganic chemistry)
วัสดุศาสตร์(Materials science)
เคมีอินทรีย์ (Organic chemistry)
เคมีฟิสิกส์(Physical chemistry)
เคมีควอนตัม (Quantum chemistry)
สเปกโตรสโคปี(Spectroscopy)
สเตอริโอเคมิสตรี(Stereochemistry)
เคมีความร้อน (Thermochemistry)

วิทยาศาสตร์โลก
ภูมิมาตรศาสตร์ (Geodesy)
ภูมิศาสตร์ (Geography)
ธรณีวิทยา (Geology)
อุตุนิยมวิทยา (Meteorology)
สมุทรศาสตร์ (Oceanography)
บรรพชีวินวิทยา (Paleontology)
ชลธารวิทยา (Limnology)
วิทยาแผ่นดินไหว (Seismology)

ชีววิทยา
กายวิภาคศาสตร์ (Anatomy)
ชีววิทยาดาราศาสตร์ (Astrobiology)
ชีวเคมี (Biochemistry)
ชีวสารสนเทศศาสตร์ (Bioinformatics)
ชีวฟิสิกส์ (Biophysics)
พฤกษศาสตร์ (Botany)
ชีววิทยาของเซลล์(Cell biology) (eng)
Cladistics (eng)
วิทยาเซลล์ (Cytology)
Developmental biology (eng
นิเวศวิทยา (Ecology)
กีฏวิทยา (Entomology)
วิทยาการระบาด (Epidemiology)
Evolutionary biology (en:Evolutionary biology)
Evolutionary developmental biology (eng)
Freshwater Biology (eng)
พันธุศาสตร์ (Genetics) (Population genetics), (Genomics), (Proteomics)
มิญชวิทยา (Histology)
มีนวิทยา (Ichtyology)
วิทยาภูมิคุ้มกัน (Immunology
ชีววิทยาทางทะเล Marine biology (eng)
จุลชีววิทยา (Microbiology)
อณูชีววิทยา (Molecular Biology)
สัณฐานวิทยา (Morphology)
ประสาทวิทยาศาสตร์ (Neuroscience)
พัฒนาการของพืช (eng)
ปักษิณวิทยา (Ornithology)
บรรพชีววิทยา (Palaeobiology)
สาหร่ายวิทยา Phycology (eng) หรือ (Algology)
วิวัฒนาการชาติพันธุ์ (eng)
Physical anthropology (eng
สรีรวิทยา (Physiology)
Structural biology (eng)
อนุกรมวิธาน (Taxonomy)
พิษวิทยา (Toxicology)
วิทยาไวรัส (Virology)
สัตววิทยา (Zoology)

วิทยาศาสตร์ประยุกต์
วิศวกรรมศาสตร์
สาขาของวิศวกรรมศาสตร์
วิทยาการคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
วิทยาการคอมพิวเตอร์
วิทยาการสารสนเทศ หรือ สารสนเทศศาสตร์
วิทยาศาสตร์พุทธิปัญญา (Cognitive science)
วิชาเกี่ยวกับการติดต่อและควบคุมของสัตว์และเครื่องจักร (eng)
บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์
Systemics

วิทยาศาสตร์สุขภาพ (Health Science)
เภสัชกรรม (เภสัชศาสตร์)
ทันตแพทยศาสตร์ (Dentistry)
ทัศนมาตรศาสตร์ (Optometry)
แพทยศาสตร์ (Medicine)
เนื้องอกวิทยา (Oncology)
พยาธิวิทยา (Pathology)
อายุรเวช
เวชศาสตร์
เภสัชวิทยา (Pharmacology)
พิษวิทยา (Toxicology)
สัตวแพทยศาสตร์ (Veterinary medicine)
เทคนิคการแพทย์
เคมีคลินิค
จุลทรรศน์ศาสตร์คลินิค
เวชศาสตร์การธนาคารเลือด
กายภาพบำบัด
กิจกรรมบำบัด
รังสีเทคนิค

วิทยาศาสตร์สังคม
วิทยาศาสตร์สังคม (en:Social sciences)
มานุษยวิทยา (en:Anthropology)
โบราณคดีวิทยา (en:Archaeology)
เศรษฐศาสตร์ (en:Economics)
ภูมิศาสตร์ (en:Geography)
ภาษาศาสตร์ (en:Linguistics)
สัณฐานวิทยา (en:Morphology)
สัทศาสตร์ (en:Phonetics)
Phonology
อรรถศาสตร์ (en:Semantics)
วากยสัมพันธ์ (en:Syntax)
ปรัชญา (en:Philosophy)
รัฐศาสตร์ (en:Political Science)
จิตวิทยา (en:Psychology)
Behavior analysis
Biopsychology
Cognitive psychology
Clinical psychology
Developmental psychology
Educational psychology
Experimental psychology
Forensic psychology
Health psychology
Humanistic psychology
Industrial and organizational psychology
Neuropsychology
Personality psychology
Psychometrics
Psychology of religion
Psychophysics
Sensation and perception psychology
Social psychology
สังคมศาสตร์ (en:Sociology)

วิทยาศาสตร์การทหาร
วิทยาศาสตร์การทหาร (eng)

วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม
วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม
เคมีสิ่งแวดล้อม

http://th.wikipedia.org

สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ มีอะไรบ้าง

คณะวิทยาศาสตร์ประกอบด้วย 14 ภาควิชา ได้แก่.
คณิตศาสตร์และวิทยาการคอมพิวเตอร์ (Mathematics and Computer Science).
เคมี (Chemistry).
ชีววิทยา (Biology).
ฟิสิกส์ (Physics).
พฤกษศาสตร์ (Botany).
เคมีเทคนิค (Chemical Technology).
ธรณีวิทยา (Geology).
วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม (Enviromental Science).

เทคโนโลยีกับวิทยาศาสตร์แบ่งออกเป็นกี่สาขา

กลุ่มวิชาสหวิทยาการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้แก่ (1) สาขาวิทยาศาสตร์การอาหาร (2) สาขาอุตสาหกรรมเคมี (3) สาขาอิเล็กทรอนิกส์ (4) สาขาภูมิสารสนเทศ (5) สาขาเทคโนโลยีชีวภาพ (6) สาขาเทคโนโลยีพลังงาน (7) สาขาเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม (8) สาขาเทคโนโลยีการสื่อสาร (9) สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ (10) สาขาเทคโนโลยีวัสดุ (11) สาขา ...

ความรู้ทางวิทยาศาสตร์แบ่งออกเป็นกี่ประเภทอะไรบ้าง

องค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2544) ได้จัดแบ่งออกเป็นลำดับขั้นไว้ 6 ประเภท คือ ข้อเท็จจริง มโนมติ หลักการ สมมติฐาน กฎ และทฤษฎี

คณะวิทยาศาสตร์จบมาทำงานอะไรได้บ้าง

งานอะไรรายได้สูงสุดในสายวิทย์.
1. นักวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม (Environmental scientists) ... .
2. นักอุทกวิทยา (Hydrologists) ... .
3. นักธรณีศาสตร์ (Geoscientists) ... .
4. นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ (Medical scientists) ... .
5. นักชีวเคมี (Biochemists) ... .
6. นักวิทยาศาสตร์บรรยากาศ (Atmospheric scientists) ... .
7. นักวิทยาศาสตร์วัสดุ (Materials scientists).