การใช้เทคนิคการสืบค้นขั้นสูงมีข้อดีอย่างไรมากที่สุด

หากต้องการยกเว้นผลลัพธ์การค้น หาผ่านเว็บไซต์ Google สามารถทำได้โดยการใส่เครื่องหมายลบ (-) วางไว้ข้างหน้าคำที่ไม่ต้องการค้นหาข้อมูล การสืบค้นข้อมูลโดยการนำเครื่องหมาย – มาใช้วางไว้ข้างหน้าคำใดๆ ที่ใช้ค้นหาจะทำให้ Google ประมวลผลลัพธ์ออกมาโดย exclude คำๆ นั้นออกไป ซึ่งวิธีการค้นหาดังกล่าวทำให้สามารถเพิ่มประสิทธิภาพในการค้นหาข้อมูลให้มีความแม่นยำได้มากขึ้น


ตัวอย่างเช่น มะม่วง -อกร่อง

การใช้เทคนิคการสืบค้นขั้นสูงมีข้อดีอย่างไรมากที่สุด


การเชื่อมคำด้วยการใช้เครื่องหมายบวก (+)

          เป็นการระบุเงื่อนไข “และ” นั่นคือ หากเราต้องการให้ได้ภาพตรงความต้องการเรามากที่สุด เราจะต้องใส่เครื่องหมายบวกนำหน้าคำหลักที่เราใช้ในการค้นหา โดยเครื่องหมายบวกจะต้องเขียนติดกับคำหลัก

ตัวอย่างเช่น ไข่เจียวปู +ร้านอาหาร ผลลัพธ์ที่ได้คือ รายชื่อร้านอาหาร ที่ขายไข่เจียวปู

การใช้เทคนิคการสืบค้นขั้นสูงมีข้อดีอย่างไรมากที่สุด


การค้นหาไฟล์เอกสารนามสกุลต่างๆ

          หากต้องการทำการค้นหาเอกสารนามสกุลต่างๆ ได้แก่ เอกสารในรูปแบบ .DOC .PDF หรือเอกสารนามสกุลอื่นๆ ผู้สืบค้นสามารถค้นหาได้เพียง พิมพ์ชื่อเอกสารที่ต้องการ แล้วต่อท้ายด้วย filetype:นามสกุล ของเอกสารนั้นๆ ทางเว็บไซต์จะประมวลผลลัพธ์เป็นไฟล์เอกสารที่ถูกเก็บไว้บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

ตัวอย่างเช่น วิธีการล้างมือ pdf

การใช้เทคนิคการสืบค้นขั้นสูงมีข้อดีอย่างไรมากที่สุด


การค้นหากลุ่มคํา ประโยค วลี

          การค้นหาด้วยเครื่องหมายคำพูด (“…”)  เหมาะสำหรับการค้นหาคำ Keyword ที่มีลักษณะเป็น ประโยควลีหรือกลุ่มคำ ที่ผู้ใช้ต้องการให้แสดงผลทุกคำในประโยค โดยไม่แยกคำ

ตัวอย่างเช่น “แชมป์ชนแชมป์ The mask singer”

การใช้เทคนิคการสืบค้นขั้นสูงมีข้อดีอย่างไรมากที่สุด


การใช้เครื่องคิดเลขออนไลน์

          หากต้องการคิดคำนวณ ผู้สืบค้นสามารถนำเลขจำนวนที่ต้องการทราบค่ามาคำนวณผ่าน Google ได้ โดยพิมพ์ตัวเลขเหล่านั้นลงไปเพื่อให้เว็บไซต์ทำการประมวลค่าเป็นคำตอบ

ตัวอย่างเช่น (7*4) / 8

การใช้เทคนิคการสืบค้นขั้นสูงมีข้อดีอย่างไรมากที่สุด


การตรวจสอบสภาพอากาศ

หากต้องการตรวจสอบสภาพอากาศในแต่ละวัน สามารถทำการค้นหาได้โดยการพิมพ์คำว่า Weather แล้วตามด้วยชื่อสถานที่ที่ต้องการทราบ เว็บไซต์จะประมวลผลลัพธ์ให้ทราบถึงพยากรณ์อากาศในวันนั้นๆ ตัวอย่างเช่น “Weather พิจิตร” หรือ “พยากรณ์อากาศ พิจิตร” เป็นต้น แต่สำหรับประเทศไทยการค้นหาพยากรณ์อากาศยังคงมีข้อจำกัด เนื่องจากข้อมูลที่มีไม่ครอบคลุมทุกพื้นที่ในประเทศ

การใช้เทคนิคการสืบค้นขั้นสูงมีข้อดีอย่างไรมากที่สุด




อ้างอิง

RhungCider “วิธีค้นหาขั้นเทพ Google Search เคล็ดลับดีๆ ใหม่ล่าสุด” จากเว็บไซต์ https://www.goodtipit.com/tips-google-search/ สืบค้นเมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม 2563

รอมฎอน สุทธิการ “เสิร์ชเอนจิน (Search Engines) คืออะไร หลักการทำงานของระบบค้นหาข้อมูล” จากเว็บไซต์ https://www.1belief.com/article/search-engines/ สืบค้นเมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม 2563

นายสุเมศ ชาแท่น “การค้นหาข้อมูลใน Google Advance search” จากเว็บไซต์ “https://sites.google.com/site/teacherreybanis1/ สืบค้นเมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม 2563

3. ข้อมูลสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ตที่ได้มาจะต้องตรวจสอบความน่าเชื่อถือของแหล่งข้อมูลที่ได้มาด้วย ว่ามีความน่าเชื่อถือมากแค่ไหน เพื่อเป็นการตรวจสอบความน่าเชื่อของแหล่งข้อมูลสารสนเทศที่สืบค้นมาได้ผู้สืบค้นสามารถประเมิน

การสืบค้นขั้นสูง (Advance) คือ การสืบค้นที่เฉพาะเจาะจง ซึ่งสามารถเลือกสืบค้นคำหลายคำจากหลายเขตข้อมูลได้

เทคนิคการสืบค้นขั้นสูง

1.เทคนิคการสืบค้นขั้นสูง (Advanced Search) เป็นการสร้างประโยคคำค้นที่มีความซับซ้อนมากขึ้น แต่ทำให้เราได้ข้อมูลที่ตรงกับความต้องการมากขึ้น ซึ่งเทคนิคการสืบค้นขั้นสูงนี้ มีหลายชนิด ได้แก่

2.1 การสืบค้นโดยใช้เทคนิคตรรกบูลีน (Boolean Logic) เป็นเทคนิคในการสืบค้นสำหรับการปรับแต่งการสืบค้น โดยอาศัยตัวกระทำ 3 ตัว คือ and, or, not

– AND จะใช้ในกรณีที่ต้องการให้ปรากฎคำหลัก A และ B ในหน้าเว็บเพจเดียวกัน หมายถึง การค้นหาคำหลักที่มีทั้ง A และ B
– OR ใช้ในกรณีที่ต้องการค้นหาคำหลัก A หรือ B โดยผลลัพธ์จากการค้นหาจะต้องปรากฎคำหลัก A หรือ B อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือทั้งสองคำ
– NOT ใช้ในกรณีที่ต้องการค้นหา A แต่ไม่ต้องการให้ B อยู่ในหน้าเว็บเพจ

2.2 เทคนิคการตัดคำ (Truncation) เป็นเทคนิคที่ช่วยในการสืบค้นให้ได้ข้อมูลที่กว้างขึ้น ครอบคลุมมากขึ้น โดยการละข้อความบางส่วนของคำ และใช้สัญลักษณ์แทน อาจเป็นสัญลักษณ์ # หรือ ? หรือ *
การใช้เทคนิคการตัดคำนี้เนื่องจากการเขียนคำศัพท์ที่แตกต่างกัน เช่น รูปเอกพจน์ รูปพหูพจน์ หรือรูปแบบการเขียนแบบภาษาอังกฤษหรืออเมริกัน เป็นต้น ซึ่งเราสามารถตัดคำได้ทั้งการตัดท้ายคำ หรือตัดหน้าคำก็ได้
ยกตัวอย่าง เช่น
Colo# ระบบจะทำการสืบค้นให้ทั้งคำที่เขียนว่า color และ colour
Librar# ระบบจะทำการสืบค้นให้ทั้งคำที่เขียนว่า Library, Libraries และ Librarian

2.3 เทคนิคการจำกัดคำค้น (Limit search) เทคนิคการจำกัดการค้นให้แคบลงโดยกำหนดเขตข้อมูลที่ต้องการสืบค้นร่วมกับคำค้น ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับข้อกำหนดและความสามารถของระบบที่สืบค้น เช่น การกำหนดให้ระบุปีพิมพ์ของข้อมูลที่ต้องการค้น หรือการกำหนดภาษาของเอกสาร