คำว่า เกิด ในภาษาเขมร สามารถแผลงได้เป็นคำว่าอะไร

รู้หรือไม่? ภาษาไทยที่เราใช้กันอยู่ทุกวันนี้ กว่าครึ่งเป็นคำยืมที่เรารับมาจากต่างประเทศ โดยเฉพาะ 'ภาษาเขมร' ที่เราพบเห็นได้มาก ในงานวรรณคดี บทร้อยแก้วร้อยกรอง หรือแม้แต่ในคำราชาศัพท์ที่คำเขมรอยู่มากกว่า 90% ในวันนี้ ALTV จึงนำสรุปเนื้อหาเกี่ยวกับคำยืมในภาษาเขมรมาฝากกัน

คำว่า เกิด ในภาษาเขมร สามารถแผลงได้เป็นคำว่าอะไร

คำยืม คือการนำลักษณะหรือคำในภาษาอื่นมาใช้ในภาษาของตนเอง เกิดขึ้นจากหลายสาเหตุไม่ว่าจะเป็น การติดต่อสัมพันธ์กันระหว่างประเทศที่มีมาตั้งแต่อดีต การค้าขาย การฑูต การเผยแพร่ศาสนา ความใกล้ชิดกันทางภูมิศาสตร์ หรือการอพยพย้ายถิ่น ฯลฯ สิ่งเหล่านี้ทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรม ศิลปะ ขนบประเพณี และที่สำคัญคือ "ภาษา" ที่ไทยเรารับมาเป็นจำนวนมาก

กว่าครึ่งของภาษาไทยที่เราใช้กันอยู่ทุกวันนี้ เป็นคำที่หยิบยืมมาจากภาษาต่างประเทศ ไม่ว่าจะเป็น ภาษาบาลี-สันสกฤต ภาษาเขมร ภาษาจีน ภาษาอังกฤษ ฯลฯ และปะปนอยู่ในชีวิตประจำวันคนไทยมาตั้งแต่สมัยโบราณ บางคำถูกดัดแปลงให้ต่างไปจากรูปคำเดิมเพื่อให้เข้ากับวิธีอักขรไทย จนทำให้รู้สึกคุ้นเคยเหมือนเป็นภาษาไทยไปแล้ว

ภาษาเขมร คือภาษาประจำชาติของประเทศกัมพูชา ประเทศที่มีความสัมพันธ์กับไทยมานาน เราสามารถพบเห็นคำเขมรในภาษาไทยได้จากงานวรรณคดีของไทย บทร้อยแก้วร้อยกรอง คำราชาศัพท์ หรือแม้แต่ในหลักศิลาจารึกของพ่อขุนรามคำแหง ด้วยเหตุนี้เอง การเข้าใจคำเขมรจึงช่วยให้คนที่สนใจในงานวรรณคดี สามารถเข้าใจความหมายและได้รับอรรถรสในการอ่านวรรณคดีมากขึ้นนั่นเอง

⭐สะกดด้วยพยัญชนะ 'จ ญ ร ล ส'

ยกตัวอย่าง

  • จ = เผด็จ เสด็จ สรรเสริญ
  • ญ = ผจญ เจริญ เผชิญ
  • ร = ระเมียร (ดู, น่าดู)
  • ล = กำนัล ตำบล
  • ส = จรัส ตรัส

⭐มักเป็นคำโดด

ภาษาเขมรมักเป็นคำโดด (คำพยางค์เดียวที่มีความหมายในตัวเอง) และส่วนมากเป็นศัพท์ที่ต้องแปลความหมาย

ยกตัวอย่าง

  • อวย แปลว่า ให้
  • แข หมายถึง ดวงจันทร์
  • แสะ หมายถึง ม้า (สัตว์) 

⭐มักเป็นคำแผลง

ภาษาเขมรมักเป็นคำที่มีการเปลี่ยนรูปหรือเสียงอักษรให้แตกต่างไปจากเดิม แต่ยังคงความหมายเดิมอยู่ เรียกว่า 'คำแผลง'

  • ข แผลงเป็น กระ เช่น ขดาน = กระดาน, ขบวน = กระบวน ฯลฯ
  • ผ แผลงเป็น ประ เช่น ผสาน = ประสาน, ผจญ = ประจญ ฯลฯ
  • ประ แผลงเป็น บรร เช่น ประทม = บรรทม, ประจุ = บรรจุ ฯลฯ

⭐ขึ้นต้นด้วย บัง บัน บำ บรร

  • บัง = บังคม บังเกิด
  • บัน = บันเทิง บันดาล
  • บำ = บำเรอ บำรุง บำบัด
  • บรร = บรรจุ บรรทัด

ข้อสังเกต บางคำที่สะกดด้วย รร (ร หัน) เป็นคำยืมภาษาสันสกฤตไม่ใช่คำเขมร เช่น บรรพต บรรยาย บัญชี บรรษัท บรรพชิต บรรพชน บรรหาร

⭐มักเป็นคำราชาศัพท์

คำในราชาศัพท์กว่าส่วนมากจัดอยู่ในคำยืมภาษาเขมร

  • เสวย หมายถึง รับประทาน
  • เสด็จ หมายถึง ไป
  • ตรัส หมายถึง พูด

⭐นิยมใช้อักษรนำ

ยกตัวอย่าง 

  • เขนย เสด็จ พนม ขนน ฉบัง เฉลียง ถนน จมูก ฉลอง สดํา โฉนด

⭐ขึ้นต้นด้วย สระ -ำ (กํา จํา ชํา ดํา ตํา ทํา) 

  • กำ = กำจัด กำเนิด
  • จำ = จำแนก จำหน่าย
  • ชำ = ชำเรา ชำแหละ
  • ดำ = ดำเนิน ดำริ
  • ตำ = ตำรวจ ตำนาน
  • ทำ = ทำนาย ทำนุ

ข้อสังเกต คำเขมรที่ขึ้นต้นด้วยสระอำต้องแผลงได้ เช่น ตำรวจ แผลงเป็น ตรวจ, จำแนก แผลงเป็น แจก, ดำเนิน แผลงเป็น เดิน เป็นต้น

นี่เป็นเพียงส่วนหนึ่งของบทเรียนเรื่อง'คำยืมในภาษไทย' ที่เรานำมาฝากเท่านั้น เพราะนอกจากคำเขมรแล้ว ยังมีคำยืมในภาษาต่างประเทศอีกมากมายรอให้เพื่อน ๆ ได้เรียนรู้ ได้ที่รายการ ห้องเรียนเรียนติวเข้ม ทางเว็บไซต์ ALTV ช่อง 4 ทีวีเรียนสนุก <คลิก

๑.เป็นคำ ๒ พยางค์ พยางค์ต้นจะเป็น บัง บัณ บัญ บัน บำ บรร เช่น บรรทัด บรรจบ บำเพ็ญ บำรุง บันทึก บันเทิง เป็นต้น

๒.คำที่มีเสียงควบกล้ำและอักษรนำ เช่น

โตนด จมูก ไถง (ดวงอาทิตย์) เขนย

ขนาด ไพร (ป่า) ฉนำ (ปี) เขลา

ตลบ ขจี ไผท กระบือ

๓.คำภาษาเขมรมักใช้ตัว จ ร ล ญ เป็นตัวสะกด เช่น

เผด็จ เสด็จ อาจ

อำนาจ สำรวจ ขจร

เดิร จร ถวิล

ตำบล เมิล(ดู) เจริญ

เชิญ ชาญ

๔.คำ ๒ พยางค์ที่ขึ้นต้นด้วยคำว่า บรร บัง บัน กำ คำ ชำ ดำ ตำ ทำ สำ มักเป็นภาษาเขมรเช่น

กำเนิด คำนับ ชำรุด บรรทม บรรจุ บังเอิญ บังคม บังอาจ

ดำริ ตำรวจ ทำเนียบ บันทึก กำจัด ทำนูล(บอก)

สำเร็จ สำราญ สำคัญ เป็นต้น

๕.คำเขมรที่ใช้เป็นราชาศัพท์ในภาษาไทยมีมาก เช่น สรง เสวย โปรด บรรทม เสด็จ ฯลฯ

๖.คำเขมรที่เป็นคำโดด มีใช้ในภาษาไทยจนคิดว่าเป็นคำไทยเช่น

แข(ดวงจันทร์) มาน(มี)

อวย(ให้) บาย(ข้าว)

เลิก(ยก)

๗.คำเขมรมักไม่ใช้รูปวรรณยุกต์ยกเว้นบางคำ เช่น เสน่ง(เขาสัตว์) เขม่า

๘.คำที่มี ข และ ผ นำไม่ประวิสรรชนีย์ มักมาจากภาษาเขมร เช่น ขจี ขจัด เผอิญ ผสมผสาน ฯลฯ
หลักสังเกตคำเขมร

คำเขมรส่วนมาก เรานำมาใช้โดยเปลี่ยนรูปและเสียงใหม่ตามความถนัด ซึ่งเป็นเหตุให้รูปผิดไปจากคำเดิม และทำให้เกิดการแผลงอักษรขึ้น เช่น

������������Ҥ�ⴴ �Ѵ����㹵�С���ͭ-��� �Ӵ�������ǹ�˭��� �Ӿ�ҧ����������繤�ⴴ �����ҡ�����§����һ���¤���Ӥѭ�����ǡѺ������ �����ѡɳкҧ���ҧ��ҧ仨ҡ������

�ѡɳФ���������������

  1. �ѡ���С����� � � � � �� ༴� ���� �Ӹ� ��� ����
  2. �ѡ�繤ӤǺ���� �� �� ��ѧ ��ا
  3. �ѡ�� �ѧ �ѹ �� ��˹�Ҥӷ�����ͧ��ҧ�� ��
    - �ѧ �ѧ�Ѻ �ѧ�� �ѧ���¹ �ѧ�Դ �ѧ�� �ѧ�Ҩ
    - �ѹ �ѹ� �ѹ�� �ѹ�Թ �ѹ��� �ѹ���
    - �� ���� �ӺѴ ���˹� �Ӻǧ
  4. �������ѡ�ù� �� ʹء ʹҹ �ʴ� ��� ����� �繵�
  5. �������ǹ�ҡ�����Ҫ��Ѿ�� �� ��� ��ͧ ࢹ� ���� ��÷� �ʴ� �ô �繵�
  6. �ѡ�ŧ���� ��
    - � �ŧ�� ��� �� ��ҹ �� ��дҹ ��͡ �� ��Ш͡
    - � �ŧ�� ��� ��� - ����� ��� - ��Ш�
    - ��� �ŧ�� ��� ��з� �� ��÷� ��Ш� - ��è� ��Ш� - ��è�

��������������������������

  1. ��������µç �� ��дҹ ��з��� �з� �ѧ �ô ��� �繵�
  2. �����Ҥӷ���ŧ�������� �� �ѧ�� �ӺѴ Ἱ� ��ѭ
  3. �����駤������Фӷ���ŧ�������� �� �Դ-���Դ ��ѧ-���ѧ �Թ-���Թ ���-���� �Ǫ-��Ǫ
  4. ���繤����ѭ����� �� ��ع ��ԭ ��� ���� ʧ� �繵�
  5. ���繤����ó��� �� ��� �ǧ ���� ʴ� ��� �繵�
  6. ���繤��Ҫ��Ѿ�� �� ࢹ�� ���� ��� ��÷� ���� �繵�
  7. �������������Ҿٴ���������¹

������ҧ��������������

��ЪѺ ���ⴧ �����´ ��кͧ ��к�� ��з��� ���ⶹ ��оѧ ��оѧ �оѧ ������ ����� �ѧ�� �ӨѴ ���� �ѭ�ǹ ��� ʡѴ ʹͧ ʹء ʴѺ ʺ� �ѧ�Ѵ �����ҭ ��� ���ç ��ǧ �ʴ� ��ᾧ ���ѧ ��ҹ ��� ��� �Ѵ ੾�� ��Ѻ ��� �·�ǧ ��� ������ ��С�¾�֡ ��Ѻ ��Шҹ �ô ༴� ��� ��ѭ ��ԭ ༪ԭ ����ԧ ྐྵ�´ ���͡