โปรเจค การลดขั้นตอนการทำงาน

Var

207 Locations de vacances près de

Rhône Alpes

555 Locations de vacances près de

Champagne-Ardenne

14 Locations de vacances près de

Landes

35 Locations de vacances près de

Ardèche

66 Locations de vacances près de

[]

4 Locations de vacances près de

Nord de la France

1020 Locations de vacances près de

Midi-Pyrénées

122 Locations de vacances près de

Vaucluse

113 Locations de vacances près de

Morbihan

72 Locations de vacances près de

Aquitaine

254 Locations de vacances près de

Moselle

29 Locations de vacances près de

Auvergne

37 Locations de vacances près de

Picardie

38 Locations de vacances près de

Drôme

23 Locations de vacances près de

Lorraine

68 Locations de vacances près de

Centre de la France

591 Locations de vacances près de

Nord Pas de Calais

47 Locations de vacances près de

Dordogne

159 Locations de vacances près de

Vendée

41 Locations de vacances près de

Centre

31 Locations de vacances près de

Limousin

30 Locations de vacances près de

Côte d'Azur

199 Locations de vacances près de

Sud de la France

1869 Locations de vacances près de

Gironde

36 Locations de vacances près de

Alsace

23 Locations de vacances près de

Languedoc-Roussillon

308 Locations de vacances près de

Lubéron

61 Locations de vacances près de

Paris et alentours

5 Locations de vacances près de

Provence

423 Locations de vacances près de

Normandie

178 Locations de vacances près de

Corse

78 Locations de vacances près de

Jura

1 Locations de vacances près de

Pays de la Loire

68 Locations de vacances près de

Franche Comté

9 Locations de vacances près de

Bretagne

431 Locations de vacances près de

Corse-du-Nord

52 Locations de vacances près de

Les Alpes françaises

493 Locations de vacances près de

Poitou-Charentes

102 Locations de vacances près de

Vosges

32 Locations de vacances près de

Île-de-France

5 Locations de vacances près de

Bourgogne

49 Locations de vacances près de

Corse-du-Sud

26 Locations de vacances près de

Lot-et-Garonne

16 Locations de vacances près de

Charente-Maritime

31 Locations de vacances près de

Provence-Alpes-Côte d'Azur

456 Locations de vacances près de

Lot

74 Locations de vacances près de


いつも当店あみあみをご利用いただき、誠にありがとうございます。

以下の商品に関しまして、あみあみオンラインショップ(通販本店 amiami.jp)にて抽選予約販売を実施させていただきますこと、お知らせいたします。

Show

対象商品:
ONE PIECEカードゲーム ROMANCE DAWN[OP01] 24パック入りBOX
ONE PIECEカードゲーム 頂上決戦[OP-02] 24パック入りBOX
ONE PIECEカードゲーム 強大な敵[OP-03] 24パック入りBOX

応募期間:2023年1月5日(木)~2023年1月10日(火)13時59分

応募専用ページURL:
https://docs.google.com/forms/d/e/1FAIpQLScl38_kqS09ZS4u7nSxz8Npq0fvF7-yxqjHiYfXxYA21-m2FQ/viewform?usp=sf_link
※偽サイトにご注意ください。上記URLであることを確認したうえで、ご応募ください。
※ご応募に際して、あみあみオンラインショップ(通販本店 amiami.jp)に登録済みの「IDメールアドレス」が必要となります。


いつも当店あみあみをご利用いただき、ありがとうございます。

当店は、年末年始の以下の日程を休業期間として、お問い合わせへの返答や商品の発送業務をお休みさせていただきます。

【年末年始休業期間】
2022年12月30日(金)~2023年1月3日(火)

休業期間中にいただいたお問い合わせへの返信や商品の発送は、1月4日(水)から順次の対応となりますため、1月4日(水)からの当社対応に通常よりお時間いただきますこと、あらかじめご了承ください。
(状況により12月28日(水)、12月29日(木)分の問い合わせ返信と商品発送も、1月4日(水)以降の対応となる可能性があります)

なお、例年年末年始時期は、宅配便取扱量の増加や天候不良、交通渋滞などの理由により、宅配便のお届けが通常よりも遅くなりますので、あらかじめご了承ください。

当社商品の配送に使用される佐川急便とヤマト運輸の配送遅延状況は、以下のサイトからご確認いただけます。

佐川急便
https://www2.sagawa-exp.co.jp/information/list/

ヤマト運輸
https://www.yamato-hd.co.jp/important/


いつも、当店あみあみをご利用いただき誠にありがとうございます。

昨今の人件費および原燃料価格高騰などに伴う物流関連費用の増加により、誠に勝手ながら以下の日時および金額にて、当店の送料を改定させていただきます。

改定日時:2023年1月17日(火) 00時00分

改定前 送料:全国一律500円(税込)
改定後 送料:全国一律630円(税込)

改定日時「2023年1月17日(火) 00時00分」より前にご注文された商品のみで構成されているご注文は、引き続き「改定前送料:全国一律500円(税込)」のままでお届けします。
※マイページ上でご注文内容の変更を行った場合には、一時的に送料が630円と表示されますが、翌営業日までに500円に修正されます。

これまで送料の価格維持に努めて参りましたが、やむを得ず改定いたしますことを心よりお詫び申し上げます。
今後もお客様にご愛顧いただけるようサービスの向上に努めて参りますので、ご理解とご協力をいただけますよう、何卒よろしくお願いいたします。


当店では、「緊急事態宣言」や「新型コロナウイルス感染症対策の基本方針」に基づき、勤務制度や出荷体制を通常時から変更しています。
そのため、通常時と比べ

「商品発送の遅れ(在庫品・予約商品とも)」
「お問い合わせへの返答の遅れ」

が生じる可能性が高くなってます。

なお、お問い合わせについては、以下もご確認ください。

●お問い合わせ窓口
 電 話 :当面の間、受付休止します
 メール :受付継続しています

【メールでのお問い合わせ先】
 https://secure.amiami.jp/top/quest/asp/
お客様には、ご不便をおかけいたしますが、ご理解ご了承のほどお願いいたします。

新着商品

Design System คืออะไร? สำหรับบทความในวันนี้เราจะมาเล่าเรื่อง Design system แบบละเอียด ข้อดีของการมีระบบแบบแผนในการออกแบบนั้นช่วยเหลือทีมเราได้อย่างไร? ปูความรู้ให้กับผู้เริ่มต้นศึกษาไปพร้อม ๆ กันกับเรา และยังมีตัวอย่างจากแบรนด์ดังหลาย ๆเจ้าที่ทำออกมาน่าประทับใจเลยค่ะ

Design System คืออะไร ภาพจาก from AirbnbDesign System คืออะไร ภาพจาก from Airbnb

ความเป็นมาของ Design System

หากย้อนกลับไปในสมัยรูปแบบการทำสื่อที่ยังอยู่ในรูปของสื่อสิ่งพิมพ์ ในสมัยนั้นก็ต้องมี Guideline หรือรูปแบบในการออกแบบไม่ว่าจะเป็นเรื่องของกริด สี ตัวหนังสือ ระยะเว้น เพื่อช่วยให้ดีไซน์เนอร์ทำงานร่วมกันได้อย่างมีระบบเบียบแบบแผนในโปรเจคเดียวกัน

ยุคต่อมานั้นการทำเว็บไซต์เอง เราก็มีสิ่งที่เรียกว่า Style Guide ที่เป็น pdf, หรือเว็บไซต์เพื่อให้ทีมเข้าใจในการออกแบบ เช่น สี, ฟอนต์, ตัวหนังสือต่างๆ แต่มันก็ยังคงเป็นเหมือนกับสิ่งที่แยกที่แยกออกมาและใช้กันแค่เพียงทีมดีไซน์เนอร์เท่านั้น

แต่ในปัจจุบันนั้นการทำงานร่วมกันระหว่าง Designer และ Developer เริ่มมีความใกล้ชิดกันมากยิ่งขึ้น ทำให้ทั้งสองฝ่ายต้องใช้งาน components ส่วนต่างๆร่วมกัน ไม่ว่าจะเป็นตัวของ โค้ด (Code), ตัวหนังสือ (Type), หรือสี (Colors), Components ส่วนต่างๆ ในโปรเจคที่ทำงานร่วมกัน

เพราะฉะนั้นทุกครั้งที่ดีไซน์เนอร์ต้องการทำงานร่วมกันกับทีมใหญ่ ๆ แล้ว Design System ก็เปรียบเสมือนกับแบบแผนที่ช่วยให้การออกแบบในบริษัทออกไปในทิศทางเดียวกัน มีความสม่ำเสมอ หรือ Consistency ช่วยให้องค์กรนำเสนอภาพลักษณ์ เป้าหมาย แบรนดิ้งได้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน และที่สำคัญคือจะเป็นไกด์ไลน์ช่วยให้ทีมทำงานไวขึ้น

Design System คือ ระบบการออกแบบ ที่ช่วยให้การออกแบบในบริษัทนำเสนอภาพลักษณ์และองค์กรไปในทิศทางเดียวกัน มีความสม่ำเสมอ (Consistency) เป็นไกด์ไลน์ที่ช่วยให้ทีมทำงานหยิบมาใช้ซ้ำโดยไม่หลุดแบบแผนที่เราวางไว้ ช่วยให้ทีมทำงานหยิบมาใช้ซ้ำได้โดยไม่ต้องเริ่มต้นทำใหม่ ช่วยให้ทีมทำงานได้ไวขึ้น


นอกจากนี้ถ้าหากคุณเคยประสบปัญหาต้องมานั่งเทส UI ทั้งระบบ แล้วมาเจอว่าดีไซน์เนอร์ใช้โค้ดสีไม่ตรงกัน สีน้ำเงินเหมือนกัน แต่คนละโค้ดสี … มีคนใช้ปุ่มที่มีขนาดและหน้าตาไม่เหมือนกันอีก … Alert แต่ละหน้าก็แตกต่างกันเหมือนอยู่กันคนละบริษัท

บริษัทเดียวกัน ระบบเดียวกัน แต่ทำไมถึงไม่มีความ Consistency ?
ยากที่จะจัดการให้ดีไซน์ทั้งหมดที่ออกแบบมาอยู่ด้วยกันได้ ?

การออกแบบสำหรับองค์กรที่ไม่มี Design system ยิ่งเวลาผ่านไป ก็ยิ่งจะทำให้ทีมของเราเกิด Design Debt คือ การออกแบบที่ใช้งานไม่ได้ ออกแบบมาใช้แค่ครั้งเดียวแล้วก็ทิ้งไป ก่อให้เกิดการเปลืองทั้งแรง พลังงานและงบประมาณในการจ้างดีไซน์เนอร์

ปัญหาเหล่านี้เกิดขึ้นอยู่บ่อยครั้ง ทำให้เราเสียเวลาในการทำงานใหม่ตั้งแต่ออกแบบ ไปจนถึงเขียนโค้ด คำถามคือเรามีเครื่องมือใดบ้างที่จะมาช่วยจัดการงานของเราให้อยู่ในระบบระเบียบส่วนกลางเดียวกัน ให้สามารถใช้งานร่วมกันได้ทั้งองค์กร

เข้าใจยากไปมั้ย? มาดูวิดีโอประกอบกัน

วิดีโออธิบายเรื่องของ Design system คืออะไรแบบละเอียด

*อัพเดทมีวิดีโอประกอบ ดูวิดีโอนี้จบจะเข้าใจเรื่อง Design System อย่างถ่องแท้เลยค่ะ :D


Design system คืออะไร ?

คือ เครื่องมือที่เข้ามาช่วยให้องค์กรทำงานอย่างเป็นระบบ ทำให้ทีมของเราทำงานไวขึ้น สื่อสารได้ตรงกันกับทุกทีมทั้ง Developer, Designer, Content, Manager etc. ช่วยให้เรานำเสนอภาพลักษณ์องค์กรไปในทิศทางเดียวกัน เพราะว่าสิ่งที่เราออกแบบไว้ อาทิเช่น ปุ่ม (Button) สี (Colours) ฟอร์ม (Form) เงา แอนิเมชั่น รูปแบบการเขียน การนำเสนอ ทุกคนจะใช้เหมือนกันทั้งหมด นอกจากนี้ทีมอื่นๆในบริษัทสามารถนำ Component กลับมาใช้ใหม่ได้ทั้งหมดโดยไม่ต้องเสียเวลาสร้างขึ้นใหม่ กล่าวคือทำทีเดียว แก้ทีเดียวก็ไปด้วยกันทั้งระบบ ไม่ต้องมานั่งเขียนโค้ดหลายรอบ ออกแบบหลายรอบ เทสหลายรอบ ใช้ชุด System เดียวกันให้เหมือนกันไปทั้งบริษัทในทุก Product เท่าที่จะสามารถทำได้นั่นเอง

A scalable framework for decisions & team behaviors across a product portfolio to converge on a cohesive experience. – Nathan Curtis


คุณสมบัติของ Design System

1. ต้องเป็นสิ่งที่ใช้งานจริง และแก้ไขปรับปรุงอยู่เสมอ
ไม่ใช่สิ่งที่เราจะทำครั้งเดียวและเสร็จ เพราะเทคโนโลยีต่างๆมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ไม่ใช่ทำครั้งเดียวแล้วหายไป

2. เป็นโมดูล รวมกันไว้ในที่เดียวเพื่อให้ Designer และ Developer เข้าไปหยิบจับมาใช้ในงานจริง

3. มีส่วนประกอบของ Style Guides, Patterns, Specs, Documentation
– Style guides เองก็ไม่ได้มีเฉพาะแค่สี หรือวิธีการใช้งานฟอนต์ แต่ยังคงรวมถึงการเขียนบทความ แนวทางการนำเสนอ
– Patterns ของ libraries และ components ส่วนต่างๆของเรา
– Specs ที่ไม่ใช่แค่แนวทางการออกแบบสำหรับดีไซน์เนอร์แต่ยังมีเรื่องของการทำแอนิเมชั่น การเคลื่อนไหว สัดส่วนต่างๆ เช่น ความกว้าง ความสูง และส่วนประกอบอื่นๆที่เป็นประโยชน์สำหรับ Developer ด้วย
– Documentation คือ คำอธิบายหรือคู่มือในการจัดทำ Design system ยกตัวอย่างเช่น ปุ่มนี้ ใช้ตอนไหน ใช้เพื่ออะไร ชื่อเรียก เพื่อให้ทีมงานของเราสามารถเข้าใจได้ตรงกัน


ทำไมเราต้องใช้ Design System ?

1. เราต้องสร้างความสม่ำเสมอในการออกแบบ (Consistency)

การทำงานของ Developer และ Designer โดยเฉพาะตัว Designer จะต้องมีพูดคุยและอัพเดทำงานร่วมกันภายในทีม ไม่ว่าจะเป็นการแชร์ส่วนต่างๆ ของโปรเจคให้คนอื่นในทุกวันของการงาน เพื่อทำให้งานมีประสิทธิภาพ ไม่หลุดออกจากกรอบที่เราวางไว้

2. เพื่อทำให้ทีมมีศักยภาพในการขยายตัว (Scalable)

เมื่อเรามีโครงสร้างการออกแบบที่ให้ทุกคนเข้าถึงได้ การทำงานก็จะราบรื่น โดยเฉพาะเด็กใหม่ที่เพิ่งเข้ามาทำงานในองค์กรก็สามารถเปิดตัว Design System เพื่อเรียนรู้องค์กรของเรา ช่วยสานต่องานได้อย่างรวดเร็ว เริ่มไว ก็ทำงานไว ไม่เปลืองเวลาในการเรียนรู้ นอกจากนี้ถ้าองค์กรเรามีหลายทีม ทีมอื่นภายในองค์กรก็สามารถเข้ามาหยิบจับ Design System ของเราไปใช้งานได้ ทำให้ภาพลักษณ์ที่เราอยากนำเสนอออกมาได้สวยงามถูกต้องตรงกัน

เราก็มักจะเจอปัญหาว่าทีมดีไซน์จะเรียกส่วนต่างๆไม่เหมือนกับทีมเดป เรียกว่าพูดคนละภาษานั่นล่ะ ดังนั้นการมี Design System ไว้ก็เหมือนจะเป็นสื่อกลางที่ช่วยเชื่อมให้ทั้งสองฝ่ายใช้ภาษาเดียวกันในการทำงาน พอเราเรียกส่วนต่าง ๆ เหมือนกัน การทำงานก็จะราบรื่นมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้เราสามารถนำ Design system ของเราไปใช้กับทีมนักเขียน ทีมคนเขียนบทความและอื่นๆได้อีกมากมาย ไม่ใช่แค่ดีไซน์เนอร์กับเดปเท่านั้น

ก็ถ้าลองยกตัวอย่างบริษัท Facebook เองที่มีดีไซน์เนอร์มากกว่า 400 คน การทำงานให้เกิดความสม่ำเสมอและเข้าใจภาพลักษณ์ขององค์กรก็เลยเป็นเรื่องยากมากๆ ดังนั้นการมีตัวช่วยอะไรสักตัวที่ให้ทีมทำงานร่วมกันได้อย่างราบรื่นก็ช่วยให้การทำงานเป็นไปได้รวดเร็ว


ตัวอย่างการใช้งาน

ตอนนี้แอดมินนัททำงานที่มหาลัย Edtech ที่ประเทศออสเตรเลีย เมลเบิร์น เป็นตำแหน่งหลักที่ดูแล Design System + Research + UX จะมาเล่าประสบการณ์ทำงานจริงให้เป็นตัวอย่างเผื่อทุกคนที่กำลังสนใจอยากทำค่ะ

มหาลัยที่แอดทำงานอยู่เพิ่งเริ่มมีทีม CX, UX, UI ที่เป็นตัวกลางในการจัดการระบบมาได้ทั้งหมดสองปี ทั้งทีมมีประมาณ 30 คนค่ะ เข้ามารับช่วงต่อโปรเจคใหม่ธุรกิจ Edtech

เล่าประสบการณ์การใช้ Design System ในองค์กร Edtech ขนาดใหญ่

1. ประชุมกับคนในองค์ Stakeholder, Content, Dev, Accessibility, Researcher, Designer
ทุกวันเพื่อ roll out design system ให้คนในองค์กรทีมที่ดูแลระบบออนไลน์มากกว่า 100 คนใช้ มหาลัยมีสาขาที่เวียดนาม สเปน ออสเตรเลีย สิงคโปร์ ฮ่องกง และนี่คือข้อจำกัดที่เรามีหลายวิทยาเขต หลายประเทศ หลายทีมที่ดูแล product ทำให้ภาพลักษณ์ที่เราต้องการสื่อสารไม่เคยไปในทิศทางเดียวกัน และสร้างปัญหาในการดูแล Branding เป็นอย่างมาก ทีมผู้บริหารเลยได้สนใจจัดทำ Design System เพื่อควบคุมการนำเสนอภาพลักษณ์ขององค์กร

พูดง่าย ๆ คือ ดีไซน์ Component มาแล้วเขียนโค้ดชุดเดียว ทุกคนใช้เหมือนกันหมดทั้งองค์กร ถ้ามีแก้ไข ก็แก้ที่ทีมแอดมินเอง แก้แล้วอัพเดทให้ทีมงานร้อยกว่าคนได้ทันที ไม่ต้องมานั่งปรับกันใหม่ ปรับ แก้ เทสกันที่ทีมหลักทีมเดียว

2. ทำยังไงให้ Stakeholder เห็น Value ของการทำ Design system
เพื่อให้วางแผนจัดจ้างองค์กรมาเพื่อดูแลส่วนของระบบนี้ ให้เป็นระบบแบบ Centralized team model มีทีมหลักที่ใช้การดูแล Design system แทนที่จะจัดจ้างทีมเอเจนซี่เข้ามาดูแล

3. ทำ Research เพื่อวางแผนการปล่อยแต่ละ Component เพราะนอกจากจะรีเสิชแล้วนั้น ยังต้องวางแผนเป้าหมายการ Development & Accessibility ขึ้นเป็น Component ไปใช้กับระบบ Adobe Experience เพื่อนำ Component นี้ไปให้ Content Strategist หลากหลายประเทศใช้งานให้ตรงกันและใช้ระบบของ Adobe ในการ Track วัดผลแบบ Quantitative เก็บข้อมูลเชิงตัวเลขมาวิเคราะห์เพื่อแก้ไขปรับปรุงกันต่อไป

4. ลดปัญหาช่องว่างทางการสื่อสารระหว่างทีมที่ทำระบบทุกทีมเข้าด้วยกัน เพื่อให้สื่อสารใช้คำเดียวกัน ซึ่งตรงนี้ตั้งแต่มีระบบ Design system ใช้งานจริงมามากกว่า 8 เดือน ลดปัญหาได้เยอะมาก ปล่อยงานไปได้ไวขึ้น และ Accessibility การทำเว็บไซต์เพื่อคนพิการ ควบคุมได้ดีมากยิ่งขึ้นด้วย เพราะทุกคนใช้ component เดียวกัน ไม่ต้องเขียนใหม่ แปลว่าจะไม่มีอะไรหลุดเล็ดลอดออกไปได้โดยไม่ผ่านทีมของแอดมิน และประเทศออสเตรเลียเราคำนึงถึงการจัดทำเว็บไซต์ให้เข้าถึงได้ง่ายสำหรับคนพิการ เป็นสิ่งหลักๆที่ต้องคำนึงในการออกแบบเลยค่ะ มิเช่นนั้นแอดมินอาจจะติดคุกได้นะคะ ฮ่า

จากประสบการณ์ของแอดมินพบว่าระดับองค์กรใหญ่ ๆ ยากมากที่จะเข็นจะคลอด Design System ออกมา ใช้เวลามากในการโน้มน้าวผู้ลงทุน Manager ของเราเองก็ต้องใช้การประชุมกับ Head หลายวันหลายคืนเพื่อให้เกิดการลงทุน และเห็นคุณค่าของการทำ Design system แต่คิดว่าทำแล้วเกิดประโยชน์ระยะยาว และตอนนี้เราเริ่มเห็นผลของการส่วนนี้มากยิ่งขึ้นด้วยเช่นกัน เพราะทีมทำงานด้วยกันไวขึ้นเยอะมาก ทั้งที่อยู่คนละตึก อยู่คนละประเทศค่ะ


เลือกโมเดลสำหรับจัดการทีมที่ดูแล Design System 

ได้รับแรงบันดาลใจมาจากบทความของ Nathan Curthis ในเรื่องของโมเดลสำหรับการจัดการทีม กระจายงาน แบ่งทีมงานที่ใช้ในการดูแล Design system ของเราให้ใช้งานกันได้ทั้งองค์กรค่ะ

1. โมเดล The Solitary modelโดดเดี่ยวเดียวดายในท้องเล

การจัดการงานแบบคนเดียว ให้ใครคนนึงในองค์กรจัดการ ตัดสินใจไปเลย ข้อดีคือรวดเร็ว วางแผนไว ข้อเสียคือคอขวดเพราะการจะทำแต่ละ components ขึ้นมาเองด้วยตัวคนเดียวตั้งแต่รีเสิชไปยันกระบวนการผลิตออกมานั้นยากยิ่ง และต้องมาแก้ไขภายหลังคนเดียวด้วยนั้น จะทำให้ทำงานผิดพลาดได้ง่าย

2. โมเดล The Centralized teamใจกลางความรู้สึกดีๆ

สร้างทีมขึ้นมาทีมนึงในองค์โดยเฉพาะเพื่อจัดการกับ Design system หรือการใช้เอเจนซี่เข้ามาช่วยในการออกแบบ ใช้เพียงแค่ทีมเดียวในการตัดสินใจในการออกแบบ ข้อดีคือมีคนดูแลตลอดเวลา สามารถจัดการระบบของเราได้ต่อเนื่อง หากมีปัญหาแก้ไขปรับปรุง งานก็ตกไปที่ทีมนี้เลยเพื่ออัพเดท ทำให้งานเดินไวกว่าโมเดลแบบที่หนึ่ง สามารถนำเสนองานให้ไปในทิศทางเดียวกันได้อย่างดีเยี่ยม

ข้อเสีย ที่อาจจะทำให้ทีมมีไซโลของตัวเอ มากกว่านั้นอาจจะทำให้ทีมไม่เข้าใจ Product ภาพรวมของทั้งบริษัท, ไม่เข้าใจสุดท้ายคือทีมนี้อาจจะขาดการเชื่อมต่อกับลูกค้า Customer needs นั่นเองค่ะ

3. โมเดล The Federated Modelพวกเราเหล่ามาชุมนุม ต่างคุมใจรัก สมัครสมาน

โมเดลสุดท้าย ที่เล่าไปแล้วก็อาจจะฟังดูเป็นไปได้ยาก เพราะโมเดลแบบนี้ต้องใจรักสมัครสมาน ใช้คนทั้งองค์กรมาลงแรงร่วมด้วยช่วยกันในการพัฒนา Design system ใช้ผู้ตัดสินใจการออกแบบจากหลายๆทีมมานั่งประชุมร่วมกัน ตั้งแต่ทีม Product, UX, Business, Content, Dev หรืออาจจะผสมหลายๆดีไซน์เนอร์จากหลายทีมเข้าด้วยกันมาช่วยกันออกแบบ

ข้อดี
– ได้ Insight จากทุกทีมมาเพื่อช่วยแก้ปัญหาที่มีอยู่ ทำให้ Design system ของเราทำงานได้ดีขึ้น
– ลดอคติของหลายทีม คำถามจะลดน้อยลง เพราะสิ่งนี้เกิดขึ้นมาได้จากการตัดสินใจของหลายทีม
– มีคนช่วยในการกระจาย Design system ของเราให้ไปใช้ทั้งองค์กรได้ไวขึ้น

ข้อเสีย
– ยากในการดึงคนมาทำงานร่วมกัน และใช้เวลานานกว่า เพราะทุกคนก็มีงานของตัวเองอยู่แล้ว การทำงานในโปรเจคใหม่ร่วมกันถือว่าเป็นความท้าทายอย่างยิ่ง
– หลายๆ บริษัทเองก็อยากจะปรับจากโมเดลโดดเดี่ยวเดียวดายในท้องเล มาเป็นแบบ Centralized & Federated เพื่อประสิทธิภาพการทำงานที่ดีขึ้นและการเติบโตในระยะยาว ใครที่ยังมองว่าโมเดลเหล่านี้ยังไม่ตอบโจทย์พอ ก็สามารถคิดค้นสูตรการทำงานของตนเองได้

สำหรับใครที่สนใจเรื่องการจัดการองค์กร พนักงาน – ตำแหน่งงานที่ใช้ในการจัดการ DESIGN SYSTEM


เว็บไซต์รวม Design System

หัวข้อสุดท้ายใน Design System ที่ยกตัวอย่างวันนี้ ก็ได้ไปรวบรวมเว็บไซต์จากแบรนด์ดังมามากมาย โดยในเว็บไซต์ด้านล่างนั้นก็จะมีตั้งแต่ Typography, layouts, grids, colors, icons, animation, voice and tone, style-guide, documentation และอื่นๆอีกเพียบ ใครที่สนใจไปติดตามกันได้เลยนะคะ

Styleguide
เว็บไซต์แรกสำหรับใครที่สนใจเกี่ยวกับเรื่องของ Style guide ไม่ว่าจะเป็นบทความ หนังสือ และตัวอย่างจากบริษัทใหญ่ๆมากมาย

Google Material
เป็นข้อมูลการทำงานของ Google ในการสร้าง Design System ที่เราใช้งานกันทุกวันนี้

Airbnb Design
ข้อมูลการออกแบบ The Design Language System (หรือ DLS) ของ Airbnb ในนี้ก็จะรวมขั้นตอนและข้อมูลต่างๆในการออกแบบทั้งเว็บไซต์และแอพลิเคชั่น มีประโยชน์มากสำหรับคนที่สนใจเรื่อง Design System

Apple Developer
เว็บไซต์นี้เหมาะสำหรับคนที่พัฒนาแอพลิเคชั่น โดยในนี้จะรวม components ต่างๆที่จะช่วยให้การออกแบบของคุณทำงานง่ายขึ้นค่ะ

Design System Repo
รวมเว็บไซต์ตัวอย่าง Design System ของบริษัทชื่อดังทั่วโลก


ตัวอย่าง Design System จากบริษัทชื่อดัง

fluent design system2fluent design system2

หรืออ่านบทความอธิบายอย่างละเอียดก่อนหน้านี้ได้ที่ เปิดตัว Fluent Design System ระบบดีไซน์ใหม่ล่าสุด โดย Microsoft