รายได้เท่าไรต้องเสียภาษี 2564

รายได้รวมตลอดทั้งปี ตั้งแต่ 1 มกราคม จนถึง 31 ธันวาคม ทั้งรายได้จากงานประจำและรายได้เสริมอื่น ๆ เช่น ปล่อยค่าบ้าน

รายได้เท่าไรต้องเสียภาษี 2564

ต้นทุนในการทำธุรกิจ หรือหากรับเป็นเงินเดือนสามารถหักลดค่าใช้จ่ายแบบเหมา 50% ของค่าใช้จ่ายทั้งหมดโดยไม่เกิน 100,000 บาท 

รายได้เท่าไรต้องเสียภาษี 2564

สิทธิขอลดหย่อนภาษี ไม่ว่าจะเป็นค่าลดหย่อนพื้นฐาน, ครอบครัว, การลงทุน, กองทุน หรือแม้แต่การทำประกัน 

รายได้เท่าไรต้องเสียภาษี 2564

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาจะคิดอัตราภาษีก้าวหน้าแบบขั้นบันได หรือแบบเหมาจ่าย ขึ้นอยู่กับว่าแบบใดจะเสียภาษีมากกว่าให้ยึดจ่ายตามนั้น

คำนวณหาเงินได้สุทธิบุคคลธรรมดา

สิ่งแรกที่ต้องทำก่อนเริ่มคำนวณภาษีคือการคำนวณรายได้สุทธิ ซึ่งมีความสำคัญอย่างมากในเรื่องของการลดภาษีที่ต้องจ่ายในแต่ละปี แถมยังช่วยให้เราได้เงินคืนหากเราถูกหักภาษี ณ ที่จ่าย ซึ่งมีสูตรง่าย ๆ ดังนี้

สูตรการคำนวณหาเงินได้สุทธิ

เงินได้สุทธิ = เงินได้ทั้งปี-หักค่าใช้จ่าย-หักค่าลดหย่อน

สมมติว่า นาย A เป็นพนักงานเงินเดือนมีรายได้ทั้งปีรวมกัน 300,000 บาท หักค่าใช้จ่ายแบบเหมา 100,000 บาท และมีรายการลดหย่อนภาษีส่วนตัว 60,000 บาท ประกันสังคม 9,000 บาท ไม่มีกองทุนหรือประกันอื่น ๆ

เงินได้สุทธิ  = เงินได้ทั้งปี-หักค่าใช้จ่าย-หักค่าลดหย่อน

300,000-100,000-(60,000+9,000) = 131,000 บาท

เท่ากับว่า นาย A จะมีรายได้สุทธิ 131,000 บาทต่อปี ก็จะนำจำนวนดังกล่าวไปเปรียบเทียบกับตารางภาษีขั้นบันไดแล้วดูว่าตัวเองต้องเสียภาษีถึงขั้นไหน ถ้าสังเกตให้ดีจะพบว่าถ้าเรานำค่าเบี้ยประกัน หรือกองทุนที่สามารถนำมาลดหย่อนภาษีได้ นอกจากจะช่วยลดภาษีในแต่ละขั้นลงแล้ว จะช่วยลดภาษีที่ต้องจ่ายได้มากเลยทีเดียว เนื่องจากการคำนวณอัตราภาษีก้าวหน้าแบบขั้นบันไดจะคิดไล่จากปริมาณภาษีที่ละขั้น โดยไล่จากขั้นที่น้อยที่สุดไปหาขั้นที่สูงขึ้น สรุปก็คือยิ่งจำนวนขั้นภาษีที่ต้องจ่ายน้อยเท่าไหร่ เราก็ยิ่งเสียภาษีน้อยเท่านั้น

สูตรการคำนวณหาเงินได้สุทธิ

ภาษีที่ต้องจ่าย = เงินได้สุทธิ x อัตราภาษี

โดยปกติการคำนวณภาษีจะใช้การคำนวณแบบอัตราภาษีก้าวหน้าแบบขั้นบันไดเป็นส่วนใหญ่ ยกเว้นผู้ที่เสียภาษีนั้นมีรายได้เพิ่มขึ้นจากช่องทางอื่น ๆ เช่น ค่าปล่อยเช่าบ้าน ค่างานพิเศษ หรืองานเสริม จึงจะต้องคำนวณภาษีอีกแบบเพิ่มขึ้นมานั้นก็คือ การคำนวณภาษีแบบเหมา 

วิธีที่ 1 คำนวณภาษีที่ต้องจ่ายแบบขั้นบันได (ฉบับย่อ)

เนื่องจากการคำนวณภาษีแบบขั้นบันไดมีวิธีการคำนวณที่ยุ่งยากหลายขั้นตอน อาจไม่เหมาะสำหรับมือใหม่ เพราะต้องใช้เวลานานในการทำความเข้าใจ อาจสับสนได้ยิ่งเวลามีตัวเลขเยอะ ๆ วันนี้จึงขอนำเสนอสูตรคำนวณภาษีง่าย ๆ ที่สามารถคำนวณได้ด้วยตัวเอง 

สูตรการคำนวณหาภาษีที่ต้องจ่าย

[ (เงินได้สุทธิ – เงินได้สุทธิสูงสุดในขั้นก่อนหน้า) x อัตราภาษี ] + ภาษีสะสมที่ต้องจ่ายในขั้นก่อนหน้า

เพียงหารายได้สุทธิที่ผ่านการหักลบค่าลดหย่อนภาษีเรียบร้อยแล้ว นำมาเปรียบเทียบตารางด้านล่างว่าอยู่ในช่วงไหน จากนั้นก็นำเงินได้สุทธิของตัวเองไปคำนวณในสูตรได้เลย เพียงเท่านี้เราก็จะรู้จำนวนภาษีที่ต้องเสียในปีนั้นแล้ว

(เงินได้สุทธิ – 150,000) x 0.05

[ (เงินได้สุทธิ – 300,000) x 0.10 ] + 7,500

[ (เงินได้สุทธิ – 500,000) x 0.15 ] + 27,500

[ (เงินได้สุทธิ – 750,000) x 0.20 ] + 65,000

[ (เงินได้สุทธิ – 1,000,000) x 0.25 ] + 115,000

[ (เงินได้สุทธิ – 2,000,000) x 0.30 ] + 365,000

[ (เงินได้สุทธิ – 5,000,000) x 0.35 ] + 1,265,000

วิธีที่ 2 คำนวณภาษีที่ต้องจ่ายแบบเหมา 0.5%

หากผู้ที่มีเงินได้จากช่องทางอื่น ๆ นอกจากเงินได้ประเภทที่ 1 หรือเงินเดือน รวมกันตั้งแต่ 120,000 บาทขึ้นไป จะต้องคำนวณภาษีแบบเหมาในอัตราร้อยละ 0.5 ด้วยโดยนำรายได้ต่าง ๆ มารวมกันแล้วคูณด้วย 0.005 เพื่อที่จะหาค่าภาษีที่ต้องจ่าย และถ้าหากไม่เกิน 5,000 บาทจะได้รับการยกเว้นภาษี แต่ถ้าไม่มีรายได้อื่น ๆ สามารถข้ามขั้นตอนนี้ไปได้เลย

ภาษีแบบเหมา = (เงินได้ทุกประเภท – เงินเดือน) x 0.005

เมื่อคำนวณเสร็จแล้วให้นำภาษีที่ต้องจ่ายมาเปรียบเทียบกันดูว่าวิธีไหนต้องเสียภาษีมากกว่า ให้เลือกเสียภาษีตามวิธีนั้น

มติคณะรัฐมนตรีวันที่ 19 พฤศจิกายน 2556 เปลี่ยนแปลงบัญชีอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาสำหรับปีภาษี 2556 สำหรับการยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภ.ง.ด.90,91 ภายในเดือนมีนาคม 2557 จากเดิม 5 ขั้น เป็น 7 ขั้น ดังนี้

เงินได้สุทธิตั้งแต่ 1 บาท ถึง 300,000 บาท เสียภาษีอัตราร้อยละ  5 (ยกเว้นภาษีสำหรับเงินได้สุทธิ 150,000 บาทแรก)

เงินได้สุทธิเกินกว่า 300,000 บาท แต่ไม่เกิน 500,000 บาท เสียภาษีอัตราร้อยละ 10

เงินได้สุทธิเกินกว่า 500,000 บาท แต่ไม่เกิน 750,000 บาท เสียภาษีอัตราร้อยละ 15

เงินได้สุทธิเกินกว่า 750,000 บาท แต่ไม่เกิน 1,000,000 บาท เสียภาษีอัตราร้อยละ 20

เงินได้สุทธิเกินกว่า 1,000,000 บาท แต่ไม่เกิน 2,000,000 บาท เสียภาษีอัตราร้อยละ 25

เงินได้สุทธิเกินกว่า 2,000,000 บาท แต่ไม่เกิน 4,000,000 บาท เสียภาษีอัตราร้อยละ 30

เงินได้สุทธิเกินกว่า 4,000,000 บาท ขึ้นไป เสียภาษีอัตราร้อยละ 35

ทั้งนี้ ท่านสามารถติดตามข้อมูลเพิ่มเติมได้จาก www.rd.go.th

RD Call Center 1161

บริการอย่างเป็นมิตร เพื่อนคู่คิดทางภาษี

การวางแผนภาษีเป็นเรื่องที่มนุษย์เงินเดือนสงสัยกันอยู่ทุกปี โดยมีคำถามยอดฮิตก็คือ ใครบ้างต้องยื่นภาษี ? 

เงินเดือน 20,000 เสียภาษีเท่าไหร่ ? วิธีคำนวณภาษีทำยังไง แล้วเงินเดือนเท่าไหร่ ถึงต้องเสียภาษี ?

Advertisements

เราจึงได้สรุปวิธีคำนวณภาษีแบบง่ายๆ ไม่ซับซ้อน ทุกคนสามารถทำตามได้ทีละขั้นตอนมาฝาก

คำนวณเงินได้สุทธิ

เริ่มแรกเราต้องหา “เงินได้สุทธิ” เพราะเป็นส่วนที่เราจะนำมาเป็นฐานเพื่อคิดภาษีที่ต้องจ่าย โดยให้เรานำรายได้ตลอดทั้งปี มาหักลบค่าใช้จ่ายตามประเภทของรายได้ และหักลดหย่อนภาษีตามรายการต่างๆ

เงินได้สุทธิ = รายได้ – ค่าใช้จ่าย – ค่าลดหย่อน

รายได้ : รายได้ทั้งหมดที่เราได้รับตลอดปีนั้นๆ เช่น เงินเดือน, โบนัส, รายได้เสริม, ขายของ, เงินปันผล ฯลฯ

ค่าใช้จ่าย : เปรียบเสมือนต้นทุนสำหรับการทำมาหาได้ของเรา โดยรายได้แต่ละประเภทจะหักค่าใช้จ่ายได้ไม่เท่ากัน เช่น รายได้ที่เป็นเงินเดือน โบนัส หรือ ค่าจ้าง สามารถหักค่าใช้ได้ 50% แต่ไม่เกิน 100,000 บาท

– เช็กว่ารายได้ประเภทไหน หักค่าใช้จ่ายได้เท่าไหร่ คลิกเลย https://www.rd.go.th/publish/556.0.html

ค่าลดหย่อน : สิทธิประโยชน์ที่ช่วยให้เราเสียภาษีน้อยลง หรือได้รับเงินภาษีคืนเพิ่มขึ้น

– เช็กรายการลดหย่อนภาษี 2564 ได้ที่นี่ www.finspace.co/สรุปลดหย่อนภาษี-2564/

ตัวอย่างเช่น

1.) นาย F มีรายได้จากเงินเดือนทั้งปี 600,000 บาท

2.) นำมาหักค่าใช้จ่าย 100,000 บาท

3.) นำมาหักรายการลดหย่อนภาษี

– ลดหย่อนส่วนตัว 60,000 บาท

– หักค่าซื้อ SSF ไป 50,000 บาท

– หักค่าช้อปดีมีคืน 30,000 บาท

Advertisements

ดังนั้น นาย F จะเหลือเงินได้สุทธิเพื่อนำมาคำนวณภาษี จำนวน 360,000 บาท

เช็กอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 2564

คราวนี้เมื่อทราบแล้วว่าเงินได้สุทธิเป็นเท่าไหร่ จากนั้นก็ให้นำเงินได้สุทธิดังกล่าวมาคำนวณภาษีตามอัตราในแบบขั้นบันได ดังนี้

เงินได้สุทธิต่อปีอัตราภาษีภาษีสูงสุดที่ต้องเสียในขั้นนี้0 – 150,000 บาทยกเว้นอัตราภาษี–150,001 – 300,000 บาท 5%7,500 บาท300,001-500,000 บาท 10%20,000 บาท500,001-750,000 บาท 15%37,500 บาท750,001-1,000,000 บาท 20%50,000 บาท1,000,001-2,000,000 บาท 25%250,000 บาท2,000,001-5,000,000 บาท 30%900,000 บาท5,000,000 บาทขึ้นไป 35% 

จากกรณีของ นาย F ที่มีเงินได้สุทธิ 360,000 บาท เท่ากับต้องเสียภาษีอัตราสูงสุดที่ 10% โดยจะมีวิธีคำนวณภาษีในแต่ละขั้น ดังนี้

1.) ขั้นภาษี 5% ต้องจ่ายสูงสุดเลยที่ 7,500 บาท (เพราะมีเงินได้สุทธิเกิน 300,000 บาท)

2.) ขั้นภาษี 10% จะเหลือเงินได้ที่ต้องไปคำนวณ (360,000-300,000) = 60,000 บาท

แปลว่าจะต้องจ่ายภาษีที่ 10% ของ 60,000 บาท เท่ากับ 6,000 บาท

สรุปแล้วนาย F จะต้องเสียภาษีทั้งหมดเท่ากับ 7,500 บาท + 6,000 บาท = 13,500 บาท

จะเห็นว่าหากเรามีเงินได้สุทธิตั้งแต่ 150,0001 บาทขึ้นไป จะต้องเริ่มเสียภาษีแล้ว และยิ่งเงินได้สูงเท่าไหร่ อัตราภาษีก็จะยิ่งสูงขึ้นเรื่อยๆ

ดังนั้น การวางแผนภาษีตั้งแต่เนิ่นๆ ด้วยการหาตัวช่วยมาหักลดหย่อนภาษี ก็จะทำให้เงินได้สุทธิลดลง ประหยัดภาษีได้ยิ่งขึ้น หรือหากระหว่างปีเราถูกบริษัทหักภาษี ณ ที่จ่ายเอาไว้แล้วส่วนหนึ่ง ก็จะมีโอกาสได้รับเงินภาษีคืนอีกด้วย

เงินเดือนเท่านี้ ต้องเสียภาษีเท่าไหร่ ?

รายได้เท่าไรต้องเสียภาษี 2564

จากตัวอย่างนี้ เราจึงได้คำนวณคร่าวๆ มาให้ดูว่า เงินเดือนเท่านี้ จะต้องจ่ายภาษีประมาณเท่าไหร่ โดยเป็นการคำนวณโดยประมาณการณ์ ซึ่งคิดจากสมมุติฐาน ดังนี้

Advertisements

1. มีรายได้จากงานประจำทางเดียว

2. มีค่าลดหย่อนส่วน 60,000 บาท และประกันสังคม 5,850 บาท

3. ไม่ได้ใช้สิทธิลดหย่อนภาษีอื่นๆ เพิ่มเติม

ย้ำว่านี้เป็นเพียงตัวเองการคำนวณคร่าวๆ ฉบับมนุษย์เงินเดือนเท่านั้น  เพราะการคำนวณภาษีของแต่ละคนขึ้นอยู่กับหลากหลายปัจจัยที่แตกต่าง ทั้งแหล่งที่มาของเงินได้ และรายการลดหย่อนภาษีเล็กๆ น้อยๆ ทำให้แม้เงินเดือนจะเท่ากัน แต่ภาษีที่ต้องจ่ายอาจจะมากน้อยแตกต่างกันได้

สำหรับใครที่ต้องเสียภาษีแล้วอย่าลืมเช็กรายการลดหย่อนภาษี 2564 ได้ที่นี่ www.finspace.co/สรุปลดหย่อนภาษี-2564/

รายได้เท่าไรต้องเสียภาษี 2565

หมายความว่า ผู้ที่มีเงินเดือนไม่เกิน 25,833 บาท และไม่มีรายได้ส่วนอื่น ๆ ไม่ต้องเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา เพราะเมื่อรวมรายได้ทั้งปีจะไม่เกิน 310,000 บาท หลังจากหักค่าใช้จ่าย 100,000 บาท และค่าลดหย่อนส่วนบุคคล 60,000 บาท จะเหลือเงินได้สุทธิไม่เกิน 150,000 บาท แต่หากรายได้เกินกว่านี้ จะเสียภาษีในอัตราดังนี้

เงินเดือนกี่บาทถึงจะเสียภาษี

สิ่งที่ต้องทราบก่อนคือ คนไทยที่มีรายได้ต่อปีตั้งแต่ 120,000 บาท หรือเดือนละ 10,000 บาท มีหน้าที่ต้องทำการยื่นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา โดยยื่นแบบแสดงรายการปีละครั้ง ภายในวันที่ 31 มีนาคม ของปีถัดไป สามารถยื่นภาษีได้ทั้งช่องทางออนไลน์ผ่านเว็บไซต์กรมสรรพากรหรือแอปพลิเคชัน RD Smart Tax หรือจะยื่นภาษีด้วยตัวเองที่กรมสรรพากร ...

ภาษีที่ต้องชำระมีวิธีคำนวณอย่างไร

ภาษีที่ต้องจ่าย = เงินได้สุทธิ x อัตราภาษี โดยเงินได้สุทธิ สามารถหาได้จากการนำรายได้ทั้งหมดมารวมกัน พร้อมหาค่าลดหย่อนต่าง ๆ (เช่น ค่าใช้จ่าย และค่าลดหย่อน) และนำมาหักออกจากรายได้ทั้งหมด เหลือเท่าไรคือเงินได้สุทธิที่จะนำไปคำนวณภาษีแบบขั้นบันได

เงินได้สุทธิ หมายถึงข้อใด

ตอบ : เงินได้สุทธิคือ การนำรายได้ทั้งปี มาหักค่าใช้จ่าย และค่าลดหย่อน ก็จะได้เป็น "เงินได้สุทธิ" นั่นเอง