หลักฐานทางประวัติศาสตร์ในภูมิภาค ต่างๆ ของโลก

�����ѡ�ҹ�ҧ����ѵ���ʵ�� �繢������ʹյ����ѧ����ҡ���������й������繢������ ����֡�� �˵ء�ó����Դ����ʹյ����Ң����ػ�����������ԧ�ҡ����ش �Ѵ���������»����� ��
��� ����觵���ؤ���� (��ѡ�ҹ��͹����ѵ���ʵ�� ��ѡ�ҹ���»���ѵ���ʵ��)
�����觵���ѡɳС�úѹ�֡ (��ѡ�ҹ��� �����ѹ�֡������ѡɳ��ѡ�� �����ѡ�ҹ���ѹ�֡�� ����ѡɳ��ѡ��)
��� �觵��ਵ������ͧ �������Ǣ�ͧ (��ѡ�ҹ�����·ʹ�����ਵ�� ��ѡ�ҹ�����·ʹ ��ਵ��)
��� �觵���س�����Фس���ѵԢͧ��ѡ�ҹ
��� 1. ��ѡ�ҹ��鹵� (primary sources) ���¶֧ ��ѡ�ҹ���ѹ�֡��к͡�����¼������Ǣ�ͧ �µç �����������˵ء�ó��鹴��µ��ͧ
��� 2. ��ѡ�ҹ����ͧ (secondary sources) ���¶֧ ��úѹ�֡����ͧ��ǵ�ҧ � �ͧ������Ѻ��Һ �˵ء�ó�ҡ�Ӻ͡���Ңͧ�ؤ��˹���ա���˹�� ��������˹ѧ��ͷҧ����ѵ���ʵ�����ռ����¹��� ������� ��ѡ�ҹ��鹵�
����»���ѵ���ʵ����觵���ѡɳС�úѹ�֡����¡���� 2 ���������
��� 1. ��ѡ�ҹ����������ѡɳ��ѡ�� ���¶֧ ��ѡ�ҹ����繵��˹ѧ��� �� ��ѡ���Ҩ��֡ ����Ǵ�� �ӹҹ �������˵� �ѹ�֡�����ç�� ��ó���� �͡��÷ҧ�Ԫҡ�� ��ǻ���ѵ� ˹ѧ��;���� �Ե���� �ѹ�֡����������͡�������ɳ� ����͡����Ҫ��� ��ѡ�ҹ��������� �Ѻ�� ��鹰ҹ����Ӥѭ㹡���֡�һ���ѵ���ʵ����
��� 2. ��ѡ�ҹ���������������ѡɳ��ѡ�� ���� ��ѡ�ҹ�ҧ��ҳ��� ������������ ����ǡѺ �ç���ҧ����Ѳ����� ������������� 2 ���������
��� (1) ��ҳ�ѵ�� �� ��оط��ٻ ���ٻ �ѭ�ѡɳ�ҧ��ʹ� �������ͧ��дѺ ����ͧ��� ����ͧ��
��� (2) ��ҳʶҹ ���� ��觡�����ҧ �½��������������Դ�Ѻ��鹴Թ �� ��ᾧ���ͧ �����ͧ �ٹ�� �Ѵ ਴��� ����ҷ ��� ��й��

Ref : http://www2.se-ed.net/nfed/history/index_his.html 14/02/2008

หลักฐานทางประวัติศาสตร์ from Pannaray Kaewmarueang

      2.2 เอกสารพื้นเมือง เอกสารพื้นเมืองนับได้ว่าเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เป็นลายลักษณ์อักษรที่สำคัญของประเทศไทย มักปรากฏในรูปหนังสือสมุดไทย และเรียกชื่อแตกต่างกันออกไป เช่น ตำนาน พงศาวดาร จดหมายเหตุ

ข้อความที่โพสจะต้องไม่น้อยกว่า {{min_t_comment}} ตัวอักษรและไม่เกิน {{max_t_comment}} ตัวอักษร กรอกชื่อด้วยนะ _________ กรอกข้อมูลในช่องต่อไปนี้ไม่ครบ หรือข้อมูลผิดพลาดครับ : _____________________________ ช่วยกรอกอีกครั้งนะครับ กรุณากรอกรหัสความปลอดภัย

1.หลักฐานชั้นต้น คือ หลักฐานที่บันทึกโดยผู้ที่เกี่ยวข้องโดยตรงหรือผู้รู้ผู้เห็นเหตุการณ์ด้วยตนเอง รวมทั้งโบราณสถาน โบราณวัตถุที่สร้างขึ้นในยุคสมัยนั้น

2. หลักฐานชั้นรอง คือ หลักฐานที่ผู้บันทึกได้รับรู้เหตุการณ์มาอีกทอดหนึ่ง รวมทั้งงานเขียนทางประวัติศาสตร์ที่ศึกษาข้อมูลหลักฐานชั้นต้นก็ถือว่าเป็นหลักฐานชั้นรองด้วยเช่นกัน

2.1.2 จำแนกตามลักษณะของหลักฐาน

แบ่งได้เป็น 2 ประเภท

1.หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร คือ หลักฐานที่เป็นตัวหนังสือ เช่น จารึก ตำนาน บันทึกความทรงจำ เอกสารางราชการ ชีวประวัติ จดหมายส่วนตัว หนังสือพิมพ์ นิตยสาร วารสาร กฎหมาย วรรณกรรม

2. หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร คือ หลักฐานที่เป็นวัตถุ ซึ่งเป็นหลักฐานทางโบราณคดี เช่น รูปเคารพ มหาวิหาร โครงกระดูกมนุษย์ กระดูกสัตว์

2.2 หลักฐานทางประวัติศาสตร์ในภูมิภาคต่างๆของโลก

2.2.1 หลักฐานทางประวัติศาสตร์สมัยก่อนประวัติศาสตร์

1.หลักฐานทางประวัติศาสตร์จีนสมัยก่อนประวัติศาสตร์

เช่น โครงกระดูกมนุษย์ปักกิ่ง อายุประมาณ 500,000 ปีมาแล้ว (อายุมากที่สุด)

เครื่องปั้นดินเผาวัฒนธรรมยางเชา นิยมทำภาชนะ 3 ขา

2.หลักฐานทางประวัติศาสตร์อินเดียสมัยก่อนประวัติศาสตร์

เช่น เมืองโบราณโมเฮนโจดาโรและฮารัปปา (อยู่ใต้ดินที่ปากีสถาน)

คัมภีร์พระเวทของชาวอารยัน ประกอบด้วยคัมภีร์ฤคเวท สามเวท ยชุรเวท และอาถรรพเวท

3. หลักฐานทางประวัติศาสตร์ตะวันตกก่อนสมัยก่อนประวัติศาสตร์

เช่น โครงกระดูกมนุษย์สไตน์ไฮม์ พบใกล้เมืองสตุทท์การ์ท ประเทศเยอรมนี

-ศิลปะถ้ำ ในถ้ำอัลตามีราทางภาคเหนือของสเปนและภาพเขียนวัวกำลังกระโดด ในถ้ำลาสโกทางตะวันตกเฉียงใต้ของฝรั่งเศส

-สโตนเฮนจ์ จากอังกฤษ (ยุคน้ำท่วมโลก)

2.2.2 หลักฐานทางประวัติศาสตร์สมัยโบราณ

1.หลักฐานทางประวัติศาสตร์จีนสมัยโบราณ

ตัวอย่างหลักฐานทางประวัติศาสตร์จีนสมัยโบราณ

1.1)หลักฐานลายลักษณ์อักษรในสมัยราชวงศ์ชาง (1,570-1,045 ปีก่อนคริสต์ศักราช)

หลักฐานลายลักษณ์อักษรในสมัยนี้ปรากฏเป็นอักษรภาพจารึกตามกระดองเต่า

1.2)สื่อจี้ เขียนบันทึกประวัติศาสตร์ เขียนโดยซือหม่าเซียน

ทางประวัติศาสตร์ชิ้นสำคัญที่ผู้ศึกษาประวัติศาสตร์จีนควรจะได้ศึกษา

- สุสานจักรพรรดิจิ๋นซี พบหุ่นทหารดินเผาจำนวนมากกว่า 6,000 ตัว

2. หลักฐานทางประวัติศาสตร์อินดียสมัยโบราณ

ตัวอย่างหลักฐานทางประวัติศาสตร์อินเดียสมัยโบราณ

- ตำราอรรถศาสตร์

- คัมภีร์มานวธรรมศาสตร์ ถ่ายทอดทางพม่าและมอญ

- ศิลาจารึกของพระเจ้าอโศกมหาราช(ศีลน้อย) คือ จารึกที่พระเจ้าอโศกมหาราช (Asoke the Great)

โดยจารึกไว้ใต้ผนังถ้ำศิลาจารึกหลักเล็กๆ จารึกบนเสาหินขนาดใหญ่ ตัวอย่างเสาหินที่ปรากฏอยู่ในปัจจุบันและมีชื่อเสียงมาก สัญลักษณ์ของประเทศอินเดียมาตั้งแต่ได้รับเอกราชจากอังกฤษ ทรงเปลี่ยนมานับถือพระพุทธศาสนา

3.หลักฐานทางประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยโบราณ

ตัวอย่างหลักฐานทางประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยโบราณ

1) ประมวลกฎหมายฮัมมูราบี โดยคัดลอกลงบนแผ่นดินเหนียว บทลงโทษของกฎหมายค่อนข้างรุนแรงในลักษณะ

ตาต่อตาฟันต่อฟัน

2) บันทึกในสมัยอียิปต์โบราณ อักษรไฮโรกลิฟิก เป็นอักษรภาพ

บันทึกทางศาสนา ได้แก่ บันทึกของผู้ตาย (Book of the Dead)

3) งานเขียนประวัติศาสตร์ของกรีก-โรมัน บันทึกสงครามกอล ผลงานของแทกซิตัส

2.2.3 หลักฐานทางประวัติศาสตร์สมัยกลาง

1.หลักฐานทางประวัติศาสตร์จีนสมักลาง

1.1) งานบันทึกประวัติศาสตร์ราชวงศ์

ได้มีการจัดทำบันทึกประวัติศาสตร์ราชวงศ์ จัดทำประวัติศาสตร์ของราชวงศ์เก่าที่ล่มสลายไปแล้ว เรียกว่า”เจิ้งสื่อ”

1.2) หลักฐานแหล่งโบราณคดีถ้ำพุทธศิลป์ของพุทธสถานถ้ำหยุนกัง

2.หลักฐานทางประวัติศาสตร์อินเดียสมัยกลาง

2.1) หนังสือประวัติของสุลต่าน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อแนะนำให้สุลต่าแห่งเดลีทุกพระองค์ทรงปฏิบัติหน้าที่ต่อศาสนาอิสลาม

หลักฐานทางประวัติศาสตร์มีอะไรบ้าง

หลักฐานทางประวัติศาสตร์.
หลักฐานทางศิลปกรรมและโบราณคดี หลักฐานทางศิลปกรรมที่สำคัญ คือ ศิลปวัตถุแบบอู่ทอง ศิลปวัตถุแบบลพบุรี ... .
หลักฐานของจีนราชวงศ์ต่างๆ ... .
หลักฐานที่เป็นหนังสือเก่า ... .
หลักฐานที่เป็นศิลาจารึก ... .
หลักฐานพวกที่เป็นพงศาวดาร ... .
หลักฐานที่เป็นจดหมายเหตุชาวต่างประเทศ.

อะไรคือหลักฐานทางประวัติศาสตร์

หลักฐานทางประวัติศาสตร์(Historical Sources) หลักฐานทางประวัติศาสตร์หมายถึง ร่องรอยการ กระทา การพูด การเขียน การประดิษฐ์ การอยู่อาศัยของมนุษย์ หรือลึกไปกว่าที่ปรากฏอยู่ภายนอก คือ ความคิดอ่าน โลกทัศน์ความรู้สึก ประเพณีปฏิบัติของมนุษย์ในอดีต ความรู้สึกของคนในปัจจุบัน สิ่งที่มนุษย์จับ ต้องและทิ้งร่องรอยไว้ กล่าวได้ว่าอะไร ...

หลักฐานทางประวัติศาสตร์ สากล มี กี่ ประเภท

ส่วนเรื่องของหลักฐานทางประวัติศาตร์นั้น มีการแบ่งหลักฐานทางประวัติศาสตร์ออกเป็น 2 ประเภทคือ หลักฐานที่เป็นวัตถุ (Material Remains) กับหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร (Written accounts)

หลักฐานทางประวัติศาสตร์สากลสมัยโบราณมีอะไรบ้าง

สุดยอดการค้นพบ 10 หลักฐานทางโบราณคดีเปลี่ยนโลก.
แผ่นหินโรเซตตา (The Rosetta Stone): กุญแจไขประวัติศาสตร์ของอียิปต์ ผ่านอักษรภาพฮีโรกลิฟฟิก ... .
ทรอย (Troy): ไขปริศนาเรื่องเล่าของโฮเมอร์ และประวัติศาสตร์กรีก ... .
ห้องสมุดอัสซีเรีย ในเมืองโบราณนิเนเวห์ (Nineveh's Assyrian Library):เปิดประตูสู่อารยธรรมเมโสโปเตเมีย.