ประเทศที่เวลาเร็วกว่าไทย 4 ชั่วโมง

ประเทศไทยใช้เวลามาตรฐานโดยนับจากเวลาสากลเชิงพิกัดแล้วเพิ่มไปอีก 7 ชั่วโมง เวลามาตรฐานไทยเป็นเวลาเดียวกับเวลามาตรฐานครัสโนยาสค์ (รัสเซีย) เวลามาตรฐานฮอฟด์ (มองโกเลีย) เวลามาตรฐานอินโดจีน (ลาว กัมพูชา เวียดนาม) เวลามาตรฐานอินโดนีเซียตะวันตก และเวลามาตรฐานเกาะคริสต์มาส (ออสเตรเลีย) ซึ่งประเทศไทยใช้เขตเวลาเดียวกันทั้งปีทั่วประเทศโดยไม่มีเวลาออมแสง

ประวัติ[แก้]

ในอดีตนั้นคนไทยกำหนดเวลากันอย่างคร่าว ๆ โดยใช้ระบบการนับเวลาแบบนาฬิกาหกชั่วโมง เป็นต้นว่า ย่ำรุ่งเมื่อดวงอาทิตย์ขึ้นจากขอบฟ้า และใช้เครื่องไม้เครื่องมือเท่าที่หาได้ในการนับเวลา โดยในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงสั่งซื้อสินค้าทางฮอลันดา โดยมีนาฬิกาเครื่องจักรกลเป็นหนึ่งในสินค้าดังกล่าว แต่ด้วยข้อจำกัดด้านภาษาและการเข้าถึงความรู้ วิทยาการจากโลกตะวันตกจึงอยู่ในวงจำกัด[1]

ต่อมาเริ่มมีการรักษาเวลามาตรฐานครั้งแรกในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อปี พ.ศ. 2395 ได้โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้สร้างพระที่นั่งภูวดลทัศไนยเป็นหอฬิกาหลวงในพระบรมมหาราชวัง เป็นตึกทรงยุโรปสูง 5 ชั้น ชั้นบนสุดมีนาฬิกาขนาดใหญ่ 4 ด้าน โดยพระองค์ทรงคำนวณทางดาราศาสตร์เพื่อเทียบเวลาของประเทศไทย โดยในปี พ.ศ. 2423 ได้ใช้เวลาโดยนับจากเวลาสากลเชิงพิกัดแล้วเพิ่มไปอีก 6 ชั่วโมง 42 นาที 4 วินาที เป็นเวลามาตรฐานของไทย เรียกว่า เวลามาตรฐานกรุงเทพปานกลาง (อังกฤษ: Bangkok mean time: BMT)[2] โดยใช้ตำแหน่งทางภูมิศาสตร์ 13°45′38.8″N 100°28′45″E / 13.760778°N 100.47917°E โปรดฯ ให้มีเจ้าพนักงานนาฬิกาหลวง ได้แก่ พันทิวาทิตย์ เพื่อเทียบเวลาจากดวงอาทิตย์ในเวลากลางวัน และ พันพินิตจันทรา เพื่อเทียบเวลาจากดวงจันทร์ในเวลากลางคืน และประกาศยิงปืนเที่ยงทุกวันในปี พ.ศ. 2431[3] ก่อนที่จะมีการประกาศใช้เวลามาตรฐานกรีนิชในปี พ.ศ. 2433[1]

หลังจากมีการประกาศในเวลามาตรฐานสากล พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2463 ตั้งเวลาเร็วขึ้น 17 นาที 56 วินาที เพื่อให้เวลามาตรฐานอยู่ที่ GMT+7:00 จนถึงปัจจุบัน[4]

วันที่ เวลาที่เปลี่ยนไปจาก GMTชื่อเวลา (อย่างไม่เป็นทางการ)
จนถึง 31 มีนาคม พ.ศ. 2463 (เดิมคือ พ.ศ. 2462) UTC+06:42:04 เวลามาตรฐานกรุงเทพปานกลาง (อังกฤษ: Bangkok mean time: BMT)
1 เมษายน พ.ศ. 2463 – ปัจจุบัน UTC+07:00 เวลาอินโดจีน (อังกฤษ: Indochina Time: ICT)

ผู้รักษาเวลา[แก้]

ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2533 คณะรัฐมนตรีได้มอบหมายให้กองทัพเรือ โดยกรมอุทกศาสตร์ เป็นผู้ดูแลเวลามาตรฐานไทย โดยอ้างอิงจากนาฬิกาอะตอมจำนวนห้าเรือน ที่กองทัพเรือเป็นผู้ดูแล

ดูเพิ่ม[แก้]

  • ปฏิทินสุริยคติไทย
  • ปฏิทินจันทรคติไทย

อ้างอิง[แก้]

  1. ↑ 1.0 1.1 "เวลามาตรฐานประเทศไทย" (PDF). กรมอุทกศาสตร์ กองทัพเรือ. สืบค้นเมื่อ 2021-12-10.
  2. "Time Zone & Clock Changes in Bangkok, Thailand". www.timeanddate.com (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2021-02-20.
  3. "ประกาศยิงปืน" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. สืบค้นเมื่อ 2021-12-10.
  4. "พระราชกฤษฎีกาให้ใช้เวลาอัตรา" (PDF). wราชกิจจานุเบกษา. สืบค้นเมื่อ 2021-12-10. และ "แจ้งความกระทรวงทหารเรือ" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. สืบค้นเมื่อ 2021-12-10.

เวลามาตรฐานเอเชีย

รัฐเอกราช

  • กัมพูชา
  • กาตาร์
  • เกาหลีใต้
  • เกาหลีเหนือ
  • คาซัคสถาน
  • คีร์กีซสถาน
  • คูเวต
  • ญี่ปุ่น
  • จอร์เจีย
  • จอร์แดน
  • จีน
  • ซาอุดิอาระเบีย
  • ซีเรีย
  • ไซปรัส
  • ติมอร์-เลสเต
  • ตุรกี
  • เติร์กเมนิสถาน
  • ทาจิกิสถาน
  • ไทย
  • เนปาล
  • บรูไนดารุสซาลาม
  • บังกลาเทศ
  • บาห์เรน
  • ปากีสถาน
  • พม่า
  • ฟิลิปปินส์
  • ภูฏาน
  • มองโกเลีย
  • มัลดีฟส์
  • มาเลเซีย
  • เยเมน
  • รัสเซีย
  • ลาว
  • เลบานอน
  • เวียดนาม
  • ศรีลังกา
  • สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
  • สิงคโปร์
  • อัฟกานิสถาน
  • อาร์มีเนีย
  • อาเซอร์ไบจาน
  • อินโดนีเซีย
  • อินเดีย
  • อิรัก
  • อิสราเอล
  • อิหร่าน
  • อียิปต์
  • อุซเบกิสถาน
  • โอมาน

รัฐที่ได้รับการรับรอง
อย่างไม่สมบูรณ์

  • เซาท์ออสซีเชีย
  • ไซปรัสเหนือ
  • ไต้หวัน
  • ปาเลสไตน์
  • นากอร์โน-คาราบัค
  • อับคาเซีย

เขตบริหารพิเศษ
และเขตสังกัด

  • เกาะคริสต์มาส
  • บริติชอินเดียนโอเชียนเทร์ริทอรี
  • มาเก๊า
  • หมู่เกาะโคโคส (คีลิง)
  • ฮ่องกง

ประเทศที่เวลาเร็วกว่าไทย 4 ชั่วโมง
บทความเกี่ยวกับประเทศไทย

ประวัติศาสตร์
แบ่งตามเวลา

  • ประวัติศาสตร์ช่วงต้น
  • อาณาจักรสุโขทัย
  • อาณาจักรอยุธยา
  • อาณาจักรธนบุรี
  • อาณาจักรรัตนโกสินทร์
  • การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475
  • พ.ศ. 2475–2516
  • พ.ศ. 2516–2544
  • หลัง พ.ศ. 2544

แบ่งตามหัวข้อ

  • สงคราม
  • ศักดินา
  • หน่วยเงิน
  • หัวเมือง
  • มณฑลเทศาภิบาล
  • แหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม
  • อุทยานประวัติศาสตร์

ประเทศที่เวลาเร็วกว่าไทย 4 ชั่วโมง

ภูมิศาสตร์

  • ภูมิภาค
    • เหนือ
    • ตะวันออกเฉียงเหนือ
    • กลาง
    • ตะวันออก
    • ตะวันตก
    • ใต้
  • เส้นแบ่งเขตแดน
  • ทรัพยากรธรรมชาติ
  • ปัญหาสิ่งแวดล้อม
  • ภูมิอากาศ
  • แม่น้ำ
  • น้ำตก
  • เกาะ
  • กลุ่มรอยเลื่อน
  • แหล่งมรดกโลกทางธรรมชาติ
  • พื้นที่สงวนชีวมณฑลโลก
  • อุทยานธรณีโลก
  • อุทยานแห่งชาติ

การเมือง

  • การเลือกตั้ง
  • เขตการปกครอง
    • จังหวัด
    • เทศบาล
  • ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
  • พรรคการเมือง
  • พระมหากษัตริย์
    • รายพระนาม

รัฐบาล

  • กฎหมาย
  • รัฐธรรมนูญ
    • ฉบับปัจจุบัน
  • รัฐสภา
    • สภาผู้แทนราษฎร
    • วุฒิสภา
  • นายกรัฐมนตรี
    • รายชื่อ
  • คณะรัฐมนตรี
    • ชุดปัจจุบัน
  • กระทรวง
  • ราชการส่วนกลาง
  • ราชการส่วนภูมิภาค
  • ราชการส่วนท้องถิ่น
  • ข้าราชการ
  • องค์กรตามรัฐธรรมนูญ
  • ศาล
  • กองทัพ
    • กองทัพบก
    • กองทัพเรือ
    • กองทัพอากาศ
  • ตำรวจ

เศรษฐกิจ

  • เงินบาท
  • ธนาคาร (ธนาคารกลาง)
  • งบประมาณแผ่นดิน
  • เกษตรกรรม
  • การขนส่ง
  • การท่องเที่ยว
  • พลังงาน
  • การว่างงาน
  • ตลาดหลักทรัพย์
  • โทรคมนาคม
  • บริษัทมหาชน
  • ภาษีอากร
  • รัฐวิสาหกิจ
  • ค่าจ้างขั้นต่ำ
  • วิดีโอเกม

สังคม

  • การศึกษา
  • กีฬา
  • เชื้อชาติไทย
  • ภาษา
    • ไทยกลาง
    • ไทยถิ่นอีสาน
    • ไทยถิ่นเหนือ
    • ไทยถิ่นใต้
  • ประชากรศาสตร์
  • ศาสนา
    • พุทธ
    • อิสลาม
    • คริสต์
    • ฮินดู
    • ซิกข์
  • สตรี
    • การทำแท้ง
  • สาธารณสุข
    • บริการสุขภาพ
    • โรงพยาบาล
    • การแพทย์แผนไทย
  • โทรทัศน์
  • ภัยพิบัติ

วัฒนธรรม

  • ศิลปะ
  • จิตรกรรม
  • ประติมากรรม
  • สถาปัตยกรรม
  • ดนตรี
    • เพลง
  • นาฏศิลป์
  • การไหว้
  • สีประจำวัน
  • ภาพยนตร์
  • ละครโทรทัศน์
  • การ์ตูน
  • วรรณกรรม
    • วรรณคดี
  • การละเล่นพื้นเมือง
    • การละเล่นเด็ก
  • ผี
  • อาหาร
    • ขนม
  • ชื่อบุคคล
  • การแต่งงาน
  • เรือ
  • หน่วย
  • วันสำคัญ
  • เวลา
    • ปฏิทิน
  • สัญลักษณ์ประจำชาติ
    • ตราแผ่นดิน
    • ธงชาติ
    • เพลงชาติ
  • ความเป็นไทย

ประเด็น

  • การเกณฑ์ทหาร
  • คตินิยมเชื้อชาติ
  • การแผลงเป็นไทย
  • ลัทธิข้อยกเว้นไทย
  • ความรู้สึกต่อต้านไทย
  • การตรวจพิจารณา
  • โทษประหารชีวิต
  • สิทธิมนุษยชน
    • กลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ
  • อาชญากรรม
    • กบฏ
    • การก่อการร้าย
    • การสังหารหมู่
    • การค้าประเวณี
    • การค้าหญิงและเด็ก
    • การฉ้อราษฎร์บังหลวง
    • การพนัน
    • การเพิ่มจำนวนอาวุธปืน
    • ความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์
  • รัฐประหาร

  • ประเทศที่เวลาเร็วกว่าไทย 4 ชั่วโมง
    หมวดหมู่
  • ประเทศที่เวลาเร็วกว่าไทย 4 ชั่วโมง
    สถานีย่อย
  • ประเทศที่เวลาเร็วกว่าไทย 4 ชั่วโมง
    โครงการวิกิ

ประเทศอะไรเร็วกว่าไทย 3 ชั่วโมง

ออสเตรเลีย เป็นประเทศที่มีพื้นที่กว้างใหญ่มาก จึงมีความแตกต่างของเวลาตามมาตรฐานกรีนิช (Greenwich Mean Time, GMT) โดยจัดแบ่งออกเป็น 3 โซน ดังนี้ Eastern Standard Time-EST เร็วกว่าเวลา GMT 10 ชั่วโมง และเร็วกว่าประเทศไทย 3 ชั่วโมง ใช้ในรัฐ New South Wales, Victoria, Tasmania, Queensland และ Canberra.

ประเทศใดมีเวลาช้ากว่าประเทศไทย 5 ชั่วโมง

ช้ากว่าเวลาประเทศไทย (ชั่วโมง) Zambia. 5 ชั่วโมง

ประเทศไหนเร็วกว่าไทย

เวียดนาม กัมพูชา ลาว ซึ่งเป็นเพื่อนบ้านของเรา ก็มีเวลาที่เท่ากับประเทศไทยเลยค่ะ.
ฮ่องกง มาเก๊า จีน ไต้หวัน สิงคโปร์ มาเลเซีย บรูไน ฟิลิปปินส์ บาหลี มีเวลาที่เร็วกว่าประเทศ 1ชั่วโมงเท่านั้นค่ะ.
ญี่ปุ่น เกาหลี มีเวลาที่เร็วกว่าประเทศไทย 2 ชั่วโมงค่ะ.