แผนการ สอน เคมี ม.6 หลักสูตร ใหม่ ส สว ท

ผเู้ ขียนหวังเปน็ อย่างยิ่งวา่ แผนการจดั การเรียนรูเ้ ล่มนี้ จะมปี ระโยชน์ต่อครูผ้สู อนและผ้ทู ีต่ ้องการ

ศึกษาเพ่ือใช้ในการเตรียมการจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากข้ึน ลดเวลาในการเตรียมการ

จัดการเรียนรู้ของครู และช่วยให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีทักษะกระบวนการท้ังในทางวิทยาศาสตร์

และการทำงานร่วมกัน รวมถงึ การเรยี นรตู้ ามผลการเรียนรูท้ ี่คาดหวงั อย่างมี คุณภาพมากขนึ้

อน่ึง แผนการจัดการเรียนรู้เล่มน้ียังมีข้อผิดพลาด บกพร่องหลา ยประการ หากมี

ขอ้ เสนอแนะประการใดผ้เู ขียนยินดที ่ีจะพิจารณาเสมอ และจะปรับปรงุ ให้ดีข้ึนในโอกาสต่อไป

นางสาวมยลุ ี นนั ดี
ตำแหนง่ ครู

ผ้เู ขียนแผนการจดั การเรียนรู้

สารบญั หน้า

เรื่อง ข
คำนำ 1
สารบัญ
หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรงุ 2560) ตามหลกั สตู รแกนกลาง 1
การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 1
เป้าหมายของวิทยาศาสตร์ 2
เรยี นร้อู ะไรในวิทยาศาสตร์ 3
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ 7
คุณภาพผเู้ รียน 8
ขอบข่ายสาระวิทยาศาสตร์ 9
รูปแบบการสอน 10
คำอธิบายรายวิชา 11
ผลการเรยี นรู้ 13
โครงสร้างรายวิชา 15
การวดั ผลประเมนิ ผล 17
โครงการสอน 34
หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 เคมีอินทรีย์ 46
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 56
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 2 64
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 3 77
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 4 85
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 5 94
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 6 104
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 7 115
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 8 124
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 9 134
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 10 144
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 11 157
หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 2 สารละลาย 168
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 12 180
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 13 191
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 14 200
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 15 210
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 16
บรรณานกุ รม

1

หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.2560)
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551

เปา้ หมายของวทิ ยาศาสตร์

ในการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้ค้นพบความรู้ด้วยตนเองมากที่สุด เพ่ือให้ได้ท้ัง
กระบวนการและความรู้ จากวิธีการสังเกต การสำรวจตรวจสอบ การทดลอง แล้วนำผลท่ีได้มาจัดระบบเป็น
หลกั การ แนวคดิ และองคค์ วามรู้

การจดั การเรยี นการสอนวทิ ยาศาสตรจ์ งึ มเี ป้าหมายทสี่ ำคัญ ดังน้ี
๑. เพอื่ ใหเ้ ข้าใจหลักการ ทฤษฎี และกฎท่เี ปน็ พ้ืนฐานในวชิ าวิทยาศาสตร์
๒. เพื่อให้เข้าใจขอบเขตของธรรมชาติของวิชาวิทยาศาสตร์และข้อจำกัดในการศึกษาวิชา
วทิ ยาศาสตร์
๓. เพื่อให้มีทกั ษะทส่ี ำคัญในการศึกษาค้นคว้าและคิดค้นทางเทคโนโลยี
๔. เพ่ือให้ตระหนักถึงความสัมพันธ์ระหว่างวิชาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี มวลมนุษย์ และ
สภาพแวดล้อมในเชงิ ที่มีอทิ ธพิ ลและผลกระทบซ่ึงกันและกัน
๕. เพื่อนำความรู้ ความเข้าใจ ในวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีไปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชนต์ ่อสังคมและ
การดำรงชีวิต
๖. เพอ่ื พฒั นากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถในการแกป้ ัญหา และการจดั การ ทักษะ
ในการสื่อสาร และความสามารถในการตดั สนิ ใจ
๗. เพ่ือให้เป็นผู้ท่ีมีจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมในการใช้วิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์

เรียนรอู้ ะไรในวิทยาศาสตร์

✧ วทิ ยาศาสตรช์ วี ภาพ เรยี นรเู้ ก่ียวกบั ชวี ิตในสง่ิ แวดลอ้ ม องคป์ ระกอบของสิ่งมีชีวิตการดำรงชวี ิต
ของมนุษย์และสัตว์ การดำรงชีวิตของพืช พันธุกรรม ความหลากหลายทางชีวภาพ และวิวัฒนาการของ
สง่ิ มีชวี ติ

✧ วิทยาศาสตร์กายภาพ เรียนรู้เก่ียวกบั ธรรมชาติของสาร การเปล่ียนแปลงของสารการเคลื่อนท่ี
พลงั งาน และคลน่ื

✧ วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ เรียนรู้เก่ียวกับ องค์ประกอบของเอกภพ ปฏิสัมพันธ์ภายในระบบ
สุริยะ เทคโนโลยีอวกาศ ระบบโลก การเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยา กระบวนการเปล่ียนแปลงลมฟ้าอากาศ
และผลตอ่ สิ่งมีชีวิตและสิง่ แวดล้อม

✧ เทคโนโลยี
- การออกแบบและเทคโนโลยี เรียนรู้เก่ียวกับเทคโนโลยีเพ่ือการดำรงชีวิตในสังคมท่ีมีการ

เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อ่ืน ๆ เพื่อ
แก้ปัญหาหรือพัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้
เทคโนโลยีอยา่ งเหมาะสมโดยคำนึงถึงผลกระทบต่อชีวิต สังคม และส่ิงแวดลอ้ ม

2

- วิทยาการคำนวณ เรียนรู้เก่ียวกับการคิดเชิงคำนวณ การคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหาเป็น
ข้ันตอนและเปน็ ระบบ ประยกุ ต์ใชค้ วามรดู้ ้านวทิ ยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร
ในการแก้ปัญหาทีพ่ บในชีวิตจริงไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้

สาระที่ ๑ วทิ ยาศาสตรช์ วี ภาพ
มาตรฐาน ว ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งไม่มีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต และ

ความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลังงาน
การเปลีย่ นแปลงแทนท่ีในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปัญหาและผลกระทบที่
มีตอ่ ทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แนวทางในการอนุรกั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและ
การแก้ไขปญั หาส่งิ แวดล้อม รวมท้ังนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว ๑.๒ เขา้ ใจสมบัติของสงิ่ มชี ีวิต หนว่ ยพน้ื ฐานของสง่ิ มชี วี ิต การลำเลยี งสารเข้าและออกจากเซลล์
ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าท่ีของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ท่ีทำงาน
สัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าท่ีของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่ทำงาน
สัมพันธ์กัน รวมทัง้ นำความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์
มาตรฐาน ว ๑.๓ เข้าใจกระบวนการและความสำคัญของการถ่ายทอดลกั ษณะทางพนั ธกุ รรม สารพันธกุ รรม
การเปล่ียนแปลงทางพันธุกรรมท่ีมีผลต่อสงิ่ มีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพและวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
รวมทงั้ นำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์

สาระท่ี ๒ วิทยาศาสตรก์ ายภาพ
มาตรฐาน ว ๒.๑ เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับ

โครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลง
สถานะของสสาร การเกดิ สารละลาย และการเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมี
มาตรฐาน ว ๒.๒ เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจำวัน ผลของแรงท่ีกระทำต่อวัตถุ ลกั ษณะการเคล่อื นที่
แบบต่าง ๆ ของวัตถุ รวมท้งั นำความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์
มาตรฐาน ว ๒.๓ เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์
ระหว่างสสารและพลงั งาน พลังงานในชีวิตประจำวัน ธรรมชาตขิ องคลื่น ปรากฏการณ์ท่ี
เกีย่ วข้องกบั เสียง แสง และคลืน่ แมเ่ หล็กไฟฟา้ รวมทง้ั นำความรไู้ ปใช้ประโยชน์
สาระที่ ๓ วิทยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว ๓.๑ เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซี ดาว
ฤกษ์ และระบบสุรยิ ะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะท่ีส่งผลต่อส่ิงมีชีวิต และการ
ประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยีอวกาศ
มาตรฐาน ว ๓.๒ เขา้ ใจองคป์ ระกอบและความสมั พนั ธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายใน
โลก และบนผิวโลก ธรณีพิบตั ภิ ยั กระบวนการเปล่ยี นแปลงลมฟา้ อากาศและ
ภูมิอากาศโลก รวมท้งั ผลต่อส่ิงมีชีวติ และสิง่ แวดลอ้ ม

สาระท่ี ๔ เทคโนโลยี

3

มาตรฐาน ว ๔.๑ เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการดำรงชีวิตในสังคมท่ีมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว
ใชค้ วามรู้และทกั ษะทางดา้ นวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อน่ื ๆ เพื่อแก้ปัญหาหรือ
พัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้
เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมโดยคำนึงถึงผลกระทบตอ่ ชวี ติ สงั คม และสิ่งแวดลอ้ ม

มาตรฐาน ว ๔.๒ เขา้ ใจและใช้แนวคดิ เชิงคำนวณในการแก้ปญั หาท่พี บในชีวติ จริงอย่างเปน็ ขัน้ ตอนและ
เปน็ ระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารในการเรียนรู้ การทำงาน และการ
แกป้ ัญหาไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ รเู้ ทา่ ทัน และมจี รยิ ธรรม

คุณภาพผู้เรยี น

จบชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ ๓

❖ เข้าใจลักษณะและองค์ประกอบท่ีสำคัญของเซลล์สิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของการทำงานของ
ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์ การดำรงชีวิตของพืช การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การเปลี่ยนแปลง
ของยีนหรือโครโมโซม และตัวอย่างโรคที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม ประโยชน์และผลกระทบ
ของส่งิ มชี ีวิตดัดแปรพนั ธุกรรม ความหลากหลายทางชีวภาพ ปฏิสมั พันธ์ขององค์ประกอบของระบบนเิ วศและ
การถ่ายทอดพลังงานในสง่ิ มีชีวิต

❖ เข้าใจองค์ประกอบและสมบัติของธาตุ สารละลาย สารบริสุทธิ์ สารผสม หลักการแยกสาร การ
เปล่ียนแปลงของสารในรูปแบบของการเปลี่ยนสถานะ การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกิริยาเคมี และ
สมบัตทิ างกายภาพ และการใชป้ ระโยชนข์ องวสั ดุประเภทพอลเิ มอร์ เซรามกิ ส์ และวสั ดุผสม

❖ เข้าใจการเคลื่อนท่ี แรงลัพธ์และผลของแรงลัพธ์กระทำต่อวัตถุ โมเมนต์ของแรงแรงที่ปรากฏใน
ชีวิตประจำวัน สนามของแรง ความสัมพันธ์ของงาน พลังงานจลน์ พลังงานศักย์โน้มถ่วง กฎการอนุรักษ์
พลังงาน การถ่ายโอนพลังงาน สมดุลความรอ้ น ความสัมพันธ์ของปรมิ าณทางไฟฟ้า การต่อวงจรไฟฟ้าในบา้ น
พลังงานไฟฟา้ และหลักการเบ้อื งตน้ ของวงจรอิเลก็ ทรอนิกส์

❖ เข้าใจสมบัติของคลื่น และลักษณะของคล่ืนแบบต่าง ๆ แสง การสะท้อน การหักเหของแสงและ
ทศั นอุปกรณ์

❖ เข้าใจการโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ การเกดิ ฤดู การเคลื่อนท่ีปรากฏของดวงอาทิตย์
การเกิดข้างข้ึนข้างแรม การขึ้นและตกของดวงจันทร์ การเกิดน้ำข้ึนน้ำลง ประโยชน์ของเทคโนโลยีอวกาศ
และความก้าวหน้าของโครงการสำรวจอวกาศ

❖ เข้าใจลักษณะของชั้นบรรยากาศ องค์ประกอบและปัจจัยท่ีมีผลต่อลมฟ้าอากาศ การเกิดและ
ผลกระทบของพายุฟ้าคะนอง พายุหมุนเขตร้อน การพยากรณ์อากาศ สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงภมู ิอากาศ
โลก กระบวนการเกิดเช้ือเพลิงซากดึกดำบรรพ์และการใช้ประโยชน์ พลังงานทดแทนและการใช้ประโยชน์
ลักษณะโครงสร้างภายในโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยาบนผิวโลก ลักษณะช้ันหน้าตัดดิน
กระบวนการเกิดดิน แหล่งน้ำผิวดิน แหล่งน้ำใต้ดิน กระบวนการเกิดและผลกระทบของภัยธรรมชาติ และ
ธรณีพิบตั ิภัย

4

❖ เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยี ได้แก่ ระบบทางเทคโนโลยี การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี
ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่น โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ หรือคณิตศาสตร์ วิเคราะห์
เปรียบเทียบ และตัดสินใจเพ่ือเลือกใช้เทคโนโลยี โดยคำนึงถึงผลกระทบต่อชีวิต สังคม และสิ่งแวดล้อม
ประยุกตใ์ ช้ความรู้ ทักษะ และทรัพยากรเพื่อออกแบบและสร้างผลงานสำหรับการแก้ปญั หาในชวี ิตประจำวัน
หรือการประกอบอาชพี โดยใชก้ ระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม รวมท้งั เลือกใชว้ ัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องมือ
ได้อย่างถูกตอ้ ง เหมาะสม ปลอดภัย รวมท้งั คำนึงถงึ ทรพั ยส์ ินทางปญั ญา

❖ นำข้อมูลปฐมภูมิเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ วิเคราะห์ ประเมิน นำเสนอข้อมูลและสารสนเทศได้
ตามวัตถุประสงค์ ใช้ทักษะการคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาท่ีพบในชีวิตจริง และเขียนโปรแกรมอย่างง่ายเพื่อ
ช่วยในการแก้ปัญหา ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอยา่ งรู้เท่าทนั และรับผดิ ชอบต่อสังคม

❖ ต้ังคำถามหรือกำหนดปัญหาท่ีเชอื่ มโยงกับพยานหลักฐาน หรือหลักการทางวิทยาศาสตร์ที่มีการ
กำหนดและควบคุมตัวแปร คิดคาดคะเนคำตอบหลายแนวทาง สร้างสมมติฐานท่ีสามารถนำไปสู่การสำรวจ
ตรวจสอบ ออกแบบและลงมือสำรวจตรวจสอบโดยใช้วัสดุและเคร่ืองมือที่เหมาะสม เลือกใช้เคร่ืองมือและ
เทคโนโลยีสารสนเทศทีเ่ หมาะสมในการเกบ็ รวบรวมข้อมูล ทัง้ ในเชิงปริมาณและคุณภาพท่ีได้ผลเทยี่ งตรงและ
ปลอดภยั

❖ วิเคราะห์และประเมินความสอดคล้องของข้อมูลที่ได้จากการสำรวจตรวจสอบจาก
พยานหลักฐาน โดยใช้ความรู้และหลักการทางวิทยาศาสตร์ในการแปลความหมายและลงข้อสรุปและส่ือสาร
ความคิด ความรู้ จากผลการสำรวจตรวจสอบหลากหลายรูปแบบ หรือใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อให้ผู้อื่น
เขา้ ใจได้อย่างเหมาะสม

❖ แสดงถึงความสนใจ มุ่งม่ัน รับผิดชอบ รอบคอบ และซ่ือสัตย์ ในส่ิงที่จะเรียนรู้ มีความคิด
สร้างสรรค์เก่ียวกับเรื่องที่จะศึกษาตามความสนใจของตนเอง โดยใช้เคร่ืองมือและวิธีการที่ให้ได้ผลถูกต้อง เชื่อถือ
ได้ ศึกษาค้นคว้าเพ่ิมเติมจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ แสดงความคิดเห็นของตนเอง รับฟังความคิดเห็นผู้อ่ืน และ
ยอมรบั การเปลี่ยนแปลงความรู้ท่ีค้นพบ เมื่อมขี ้อมูลและประจกั ษ์พยานใหม่เพิ่มขึ้นหรือโตแ้ ย้งจากเดิม

❖ ตระหนักในคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีท่ีใช้ในชีวิตประจำวัน ใช้ความรู้และ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการดำรงชีวิต และการประกอบอาชีพ แสดงความชื่นชม ยก
ย่อง และเคารพสิทธิในผลงานของผู้คิดค้น เข้าใจผลกระทบทั้งด้านบวกและด้านลบของการพัฒนาทาง
วิทยาศาสตร์ต่อสง่ิ แวดล้อมและต่อบรบิ ทอืน่ ๆ และศึกษาหาความรู้เพ่ิมเตมิ ทำโครงงานหรอื สร้างช้ินงานตาม
ความสนใจ

❖ แสดงถึงความซาบซึ้ง ห่วงใย มีพฤติกรรมเกี่ยวกับการดูแลรักษาความสมดลุ ของระบบนิเวศ และ
ความหลากหลายทางชีวภาพ

จบช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี ๖

❖ เข้าใจการลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์ กลไกการรักษาดุลยภาพของมนุษย์ ภูมิคุ้มกันใน
ร่างกายของมนุษย์และความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน การใช้ประโยชน์จากสารต่าง ๆ ที่พืชสร้างข้ึน การ
ถ่ายทอดลกั ษณะทางพันธกุ รรม การเปล่ียนแปลงทางพันธุกรรม วิวฒั นาการท่ีทำให้เกดิ ความหลากหลายของ
สิง่ มีชวี ิต ความสำคญั และผลของเทคโนโลยีทางดีเอน็ เอต่อมนษุ ย์ สง่ิ มชี ีวิต และสงิ่ แวดลอ้ ม

5

❖ เข้าใจความหลากหลายของไบโอมในเขตภูมิศาสตร์ต่าง ๆ ของโลก การเปล่ียนแปลงแทนท่ีใน
ระบบนิเวศ ปัญหาและผลกระทบท่ีมีต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แนวทางในการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติ และการแก้ไขปญั หาสิง่ แวดล้อม

❖ เข้าใจชนิดของอนุภาคสำคัญที่เป็นส่วนประกอบในโครงสร้างอะตอม สมบัติบางประการของธาตุ
การจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ ชนิดของแรงยึดเหน่ียวระหว่างอนุภาคและสมบัติต่าง ๆ ของสารท่ีมี
ความสัมพันธ์กับแรงยึดเหน่ียว พันธะเคมี โครงสร้างและสมบัตขิ องพอลิเมอร์ การเกิดปฏิกิริยาเคมี ปัจจัยที่มี
ผลต่ออตั ราการเกดิ ปฏิกิรยิ าเคมี และการเขียนสมการเคมี

❖ เข้าใจปริมาณที่เก่ียวกับการเคล่ือนท่ี ความสัมพันธ์ระหว่างแรง มวลและความเร่ง ผลของ
ความเร่งท่ีมีต่อการเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ ของวัตถุ แรงโน้มถ่วง แรงแม่เหล็ก ความสัมพันธ์ระหว่าง
สนามแมเ่ หลก็ และกระแสไฟฟา้ และแรงภายในนิวเคลยี ส

❖ เข้าใจพลังงานนิวเคลียร์ ความสมั พนั ธร์ ะหว่างมวลและพลังงาน การเปลี่ยนพลงั งานทดแทนเป็น
พลังงานไฟฟ้า เทคโนโลยีด้านพลังงาน การสะท้อน การหักเห การเล้ียวเบนและการรวมคลื่น การได้ยิน
ปรากฏการณท์ ่เี กี่ยวข้องกบั เสยี ง สีกับการมองเหน็ สี คล่นื แม่เหล็กไฟฟา้ และประโยชน์ของคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า

❖ เข้าใจการแบ่งชั้นและสมบัติของโครงสร้างโลก สาเหตุ และรูปแบบการเคลื่อนท่ีของแผ่นธรณีที่
สัมพันธ์กับการเกิดลักษณะธรณีสัณฐาน สาเหตุ กระบวนการเกิดแผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด สึนามิ
ผลกระทบ แนวทางการเฝ้าระวัง และการปฏบิ ัติตนให้ปลอดภยั

❖ เข้าใจผลของแรงเน่ืองจากความแตกต่างของความกดอากาศ แรงคอริออลิส ที่มีต่อการ
หมุนเวียนของอากาศ การหมุนเวียนของอากาศตามเขตละติจูด และผลที่มีต่อภูมิอากาศ ความสัมพันธ์ของ
การหมุนเวียนของอากาศ และการหมุนเวียนของกระแสน้ำผิวหน้าในมหาสมุทร และผลต่อลักษณะลมฟ้า
อากาศ สิ่งมีชีวิตและส่ิงแวดล้อม ปัจจัยต่าง ๆ ท่ีมีผลต่อการเปล่ียนแปลงภูมิอากาศโลก และแนวปฏิบัติเพ่ือ
ลดกิจกรรมของมนุษย์ท่ีส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก รวมท้ังการแปลความหมายสัญลกั ษณ์ลมฟ้า
อากาศทสี่ ำคัญจากแผนทอ่ี ากาศ และข้อมูลสารสนเทศ

❖ เข้าใจการกำเนิดและการเปล่ียนแปลงพลังงาน สสาร ขนาด อุณหภูมิของเอกภพ หลักฐานที่
สนับสนุนทฤษฎีบิกแบง ประเภทของกาแล็กซี โครงสร้างและองค์ประกอบของกาแล็กซีทางช้างเผือก
กระบวนการเกิดและการสร้างพลังงาน ปัจจัยท่ีส่งผลต่อความส่องสว่างของดาวฤกษ์ และความสัมพันธ์
ระหว่างความส่องสว่างกับโชติมาตรของดาวฤกษ์ ความสัมพันธ์ระหวา่ งสี อุณหภูมิผิว และสเปกตรัมของดาว
ฤกษ์ วิวัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงสมบัติบางประการของดาวฤกษ์ กระบวนการเกิดระบบสุริยะ การแบ่ง
เขตบริวารของดวงอาทิตย์ ลักษณะของดาวเคราะห์ที่เอ้อื ตอ่ การดำรงชีวติ การเกิดลมสรุ ิยะ พายสุ ุรยิ ะและผล
ทมี่ ตี ่อโลก รวมท้งั การสำรวจอวกาศและการประยุกต์ใช้เทคโนโลยอี วกาศ

❖ ระบุปัญหา ตั้งคำถามท่จี ะสำรวจตรวจสอบ โดยมีการกำหนดความสัมพันธ์ระหวา่ งตัวแปรต่าง ๆ
สืบค้นข้อมูลจากหลายแหล่ง ต้ังสมมติฐานที่เป็นไปได้หลายแนวทาง ตัดสินใจเลือกตรวจสอบสมมติฐานที่
เปน็ ไปได้

❖ ต้งั คำถามหรือกำหนดปญั หาทีอ่ ยู่บนพน้ื ฐานของความรู้และความเข้าใจทางวทิ ยาศาสตร์ ที่แสดง
ให้เห็นถึงการใช้ความคิดระดับสูงท่ีสามารถสำรวจตรวจสอบหรือศึกษาค้นคว้าได้อย่างครอบคลุมและเช่ือถือ
ได้ สร้างสมมติฐานท่ีมีทฤษฎีรองรับหรือคาดการณ์ส่ิงท่ีจะพบ เพ่ือนำไปสู่การสำรวจตรวจสอบ ออกแบบ

6

วิธีการสำรวจตรวจสอบตามสมมติฐานที่กำหนดไว้ได้อย่างเหมาะสม มีหลักฐานเชิงประจักษ์ เลือกวัสดุ
อุปกรณ์ รวมท้ังวิธีการในการสำรวจตรวจสอบอย่างถูกต้องท้ังในเชิงปริมาณและคุณภาพ และบันทึกผลการ
สำรวจตรวจสอบอยา่ งเป็นระบบ

❖ วิเคราะห์ แปลความหมายข้อมูล และประเมินความสอดคล้องของข้อสรุปเพ่ือตรวจสอบกับ
สมมติฐานท่ีต้ังไว้ ให้ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงวิธีการสำรวจตรวจสอบ จัดกระทำข้อมูลและนำเสนอข้อมูล
ด้วยเทคนคิ วิธีที่เหมาะสม สอ่ื สารแนวคดิ ความรจู้ ากผลการสำรวจตรวจสอบ โดยการพูด เขียน จัดแสดงหรือ
ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพอื่ ใหผ้ ู้อ่นื เข้าใจโดยมีหลักฐานอา้ งองิ หรือมีทฤษฎีรองรับ

❖ แสดงถึงความสนใจ มุ่งมั่น รับผิดชอบ รอบคอบ และซื่อสัตย์ ในการสืบเสาะหาความรู้ โดยใช้
เครื่องมือและวิธีการท่ีให้ได้ผลถูกต้อง เช่ือถือได้ มีเหตุผลและยอมรับได้ว่าความรู้ทางวิทยาศาสตร์อาจมีการ
เปลี่ยนแปลงได้

❖ แสดงถึงความพอใจและเห็นคุณค่าในการค้นพบความรู้ พบคำตอบ หรือแก้ปัญหาได้ ทำงาน
ร่วมกับผู้อ่ืนอย่างสร้างสรรค์ แสดงความคิดเห็นโดยมีข้อมูลอ้างอิงและเหตุผลประกอบ เก่ียวกับผลของการ
พัฒนาและการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างมีคุณธรรมต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม และยอมรับฟังความ
คดิ เหน็ ของผ้อู น่ื

❖ เข้าใจความสัมพันธ์ของความรู้วิทยาศาสตร์ท่ีมีผลต่อการพัฒนาเทคโนโลยีประเภทต่าง ๆ และ
การพัฒนาเทคโนโลยีท่สี ่งผลให้มีการคิดคน้ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ท่ีกา้ วหน้า ผลของเทคโนโลยีต่อชีวิต สังคม
และสิง่ แวดล้อม

❖ ตระหนักถึงความสำคัญและเห็นคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีท่ีใช้ใน
ชีวติ ประจำวัน ใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการดำรงชีวิต และการประกอบ
อาชีพ แสดงความช่ืนชม ภูมิใจ ยกย่อง อ้างอิงผลงาน ชิ้นงานท่ีเป็นผลมาจากภูมิปัญญาท้องถ่ิน และการ
พัฒนาเทคโนโลยีทีท่ ันสมัย ศกึ ษาหาความรู้เพ่ิมเตมิ ทำโครงงานหรือสรา้ งชิ้นงานตามความสนใจ

❖ แสดงความซาบซึ้ง ห่วงใย มีพฤติกรรมเกี่ยวกับการใช้และรักษาทรัพยากรธรรมชาติและ
ส่ิงแวดล้อมอย่างรู้คุณค่า เสนอตัวเองร่วมมือปฏิบัติกับชุมชนในการป้องกัน ดูแลทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอ้ มของทอ้ งถ่นิ

❖ วิเคราะห์แนวคิดหลักของเทคโนโลยี ได้แก่ ระบบทางเทคโนโลยีท่ีซับซ้อน การเปลี่ยนแปลงของ
เทคโนโลยี ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่น โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ หรือคณิตศาสตร์ วเิ คราะห์
เปรียบเทียบ และตัดสินใจเพ่ือเลือกใช้เทคโนโลยี โดยคำนึงถึงผลกระทบต่อชีวิต สังคม เศรษฐกิจ และ
สิ่งแวดล้อม ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ทรัพยากรเพ่ือออกแบบ สร้างหรือพัฒนาผลงาน สำหรับแก้ปัญหาที่มี
ผลกระทบต่อสังคม โดยใช้กระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม ใช้ซอฟต์แวร์ช่วยในการออกแบบและนำเสนอ
ผลงาน เลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ และเคร่อื งมือได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม ปลอดภัย รวมท้งั คำนึงถึงทรัพย์สินทาง
ปญั ญา

❖ ใช้ความรู้ทางด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ สื่อดิจิทัล เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อ
รวบรวมข้อมูลในชีวิตจริงจากแหล่งต่าง ๆ และความรู้จากศาสตร์อ่ืน มาประยุกต์ใช้ สร้างความรู้ใหม่ เข้าใจ
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีที่มีผลต่อการดำเนินชีวิต อาชีพ สังคม วัฒนธรรม และใช้อย่างปลอดภัย มี
จริยธรรม

7

ขอบข่ายสาระวทิ ยาศาสตร์

สาระที่ 2 วทิ ยาศาสตร์กายภาพ
มาตรฐาน ว 2.1 - ว 2.3

สาระที่ 1 วทิ ยาศาสตร์ชีวภาพ กลุม่ สาระการเรียนรู้ สาระที่ 3 วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว 1.1 - ว 1.3 วทิ ยาศาสตร์ มาตรฐาน ว 3.1 - ว 3.2

สาระที่ 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.1 - ว 4.2

วิทยาศาสตร์เพ่มิ เติม - สาระชวี วิทยา - สาระเคมี - สาระฟสิ กิ ส์ - สาระโลก ดาราศาสตร์
และอวกาศ

8

รูปแบบการสอน

สื่อการเรียนรู้รายวิชาเคมี (ว30225) ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ผู้จัดทำได้ออกแบบการสอน
(Instructional Design) อันเป็นวธิ ีการจัดการเรียนรู้และเทคนคิ การสอนที่เปี่ยมด้วยประสิทธภิ าพและมีความ
หลากหลายให้กับผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนสามารถบรรลุผลสัมฤทธ์ิตามผลการเรียนรู้ รวมถึงสมรรถนะและ
คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนท่ีหลักสูตรกำหนดไว้ โดยครูสามารถนำไปใช้จดั การเรียนรู้ในช้ันเรียนได้
อย่างมีประสิทธิภาพ ซ่ึงในรายวิชาน้ี ได้ นำรูปแบบการสอนแบบ Concept Based Teaching มาใช้ในการ
ออกแบบการสอน ดงั นี้

รูปแบบการสอนแบบ Concept Based Teaching

ผู้จัดทำเลือกใช้รปู แบบการสอนโดยยึดผเู้ รยี นเป็นศนู ย์กลาง : Concept Based Teaching เนอื่ งจาก
ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายมุ่งเน้นให้ผู้เรียนเข้าใจหลักการและความคิดรวบ
ยอดต่าง ๆ เพ่ือประยุกต์ใช้ ดังนั้น Concept Based Teaching เป็นการจัดการเรียนการสอนที่นําพา
ผูเ้ รียน เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ มีทักษะ และเกิดความคิดรวบยอด ผลของการจัดการเรียนการสอน
ในลักษณะน้ีจะทําให้ผูเ้ รียนไดค้ วามรู้และมีทกั ษะในการค้นหาความคดิ รวบยอด ซ่ึงจะเป็นทักษะสำคญั ติด
ตัวผู้เรยี นไปตลอดชวี ิต

วธิ สี อน (Teaching Method)

ผู้จัดทำเลือกใช้วิธีสอนท่ีหลากหลาย เช่น อุปนัย นิรนัย การสาธิต การทดลอง แบบแก้ปัญหา
แบบบรรยาย ซงึ่ สนับสนุนการจดั การเรียนการสอนแบบ Concept Based Teaching ทที่ ําใหผ้ เู้ รียนได้
เรียนรู้กระบวนการ ซึ่งทําให้ได้ความคิดรวบยอดท่ีสำคัญ อีกทั้งเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และเกิดความ
เข้าใจในเนอื้ หาวทิ ยาศาสตรอ์ ยา่ งถ่องแท้

เทคนิคการสอน (Teaching Technique)

ผจู้ ัดทำเลือกใช้เทคนิคการสอนทห่ี ลากหลายและเหมาะสมกับเร่ืองที่เรยี น เช่น การใช้คำถาม การ
ใช้ตัวอย่างกระตุ้นความคิด การใช้สื่อการเรียนรู้ทนี่ ่าสนใจ เพื่อสง่ เสรมิ วิธีการสอนและรปู แบบการสอน
ให้มีประสิทธิภาพในการจัดการเรียนรู้ให้มากยง่ิ ขน้ึ ซ่ึงช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรยี นรู้อย่างมคี วามสุข และ
สามารถฝกึ ฝนทักษะการเรียนร้ใู นศตวรรษท่ี 21 ได้

9

คำอธบิ ายรายวชิ า

รหสั วชิ า ว30225 รายวิชา เคมี

กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6

เวลา 3 ช่ัวโมง/สัปดาห์ (1.5 หนว่ ยกิต) ภาคเรียนท่ี 1

*********************************************************************************************

ศึกษาเคมี เก่ียวกับสารประกอบอินทรีย์ โครงสร้างของสารประกอบอินทรีย์ สูตรโครงสร้างลิว

อิส สูตรโครงสร้างแบบย่อ หรือสูตรโครงสร้างแบบเส้น ประเภทของสารประกอบอินทรีย์ การเรียกชื่อ

สารประกอบอินทรีย์ การเกิดไอโซเมอริซึม จุดเดือดและการละลายในน้ำของสารประกอบอินทรีย์ การ

เกิดปฏิกิริยาการเผาไหม้ ปฏิกิริยากับโบรมีนและปฏิกิริยากับโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต ของแอลเคน แอ

ลคีน แอลไคน์ อะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน การเกิดปฏิกิริยา เอสเทอริฟิเคชัน ปฏิกิริยาการสังเคราะห์เอ

ไมด์ ปฏิกิริยาไฮโดรลิซิส และปฏิกิริยาสะปอนนฟิ ิเคชัน และการนำสารประกอบอินทรีย์ไปใช้ประโยชน์

อย่างหลากหลาย ปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอร์ โครงสร้างและสมบัติของพอลิเมอร์ การปรับเปล่ียน

โครงสร้าง และการสังเคราะห์พอลิเมอร์ ผลิตภัณฑ์พอลิเมอร์ ระบุประเภทของพลาสติกและผลิตภัณฑ์

ยาง ผลกระทบจากการใช้และการกำจัดผลิตภัณฑ์พอลิเมอร์ต่อส่ิงมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ความรู้ทางเคมีใน

การประกอบอาชพี หรืออุตสาหกรรม

โดยใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพ่ือฝึกทักษะสืบค้นข้อมูล นำเสนอ เขียนสูตร

วิเคราะห์ ระบุ เรียกชื่อ เขียนไอโซเมอร์ เปรียบเทียบ เขียนผลิตภัณฑ์ เขียนสมการ อธิบาย ทดสอบ

สืบคน้ และนำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์

เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ได้อย่างถูกต้องและ

เหมาะสม เกิดความสามารถในการคิด ความสามารถในการส่ือสาร ความสามารถในการแก้ปัญหา

ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีและความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ได้อย่างมีประสิทธิภาพและ

นำมาประยกุ ตใ์ ชใ้ หเ้ กิดประโยชน์ในชีวิตประจำวัน โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

ผลการเรยี นรู้
ขอ้ 1 ม.6/1, ม.6/2, ม.6/3, ม.6/4, ม.6/5, ม.6/6, ม.6/7, ม.6/7, ม.6/8, ม.6/9,
ม.6/10, ม.6/11, ม.6/12, ม.6/13, ม.6/14, ม.6/15

รวม 15 ผลการเรยี นรู้

10

ผลการเรยี นรู้

รหัสวิชา ว30225 รายวิชา เคมี

กลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

เวลา 3 ชั่วโมง/สปั ดาห์ (1.5 หนว่ ยกติ ) ภาคเรียนท่ี 1

*********************************************************************************************

สาระเพ่ิมเตมิ เคมี

ข้อ 1. เข้าใจโครงสร้างอะตอม การจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ สมบัติของธาตุ พันธะเคมีและสมบัติของ

สาร แก๊สและสมบัติของแกส๊ ประเภทและสมบัติของ สารประกอบอินทรีย์และพอลิเมอร์ รวมท้ังการนำ

ความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

ม.6/1 สืบค้นขอ้ มูลและนำเสนอตัวอย่างสารประกอบอินทรีย์ทมี่ ีพนั ธะเดี่ยว พนั ธะคู่ หรอื พันธะสาม.ที่

พบในชวี ิตประจำวนั

ม.6/2 เขียนสูตรโครงสร้างลิวอิส สูตรโครงสร้างแบบย่อ และสูตรโครงสร้างแบบเส้นของสารประกอบ

อนิ ทรยี ์

ม.6/3 วเิ คราะหโ์ ครงสร้าง และระบปุ ระเภทของสารประกอบอนิ ทรียจ์ ากหมู่ฟงั ก์ชนั

ม.6/4 เขียนสูตรโครงสร้างและเรียกชื่อสารประกอบอินทรีย์ประเภทต่าง ๆ ท่ีมีหมู่ฟังก์ชันไม่เกิน 1

หมู่ ตามระบบ IUPAC

ม.6/5 เขยี นไอโซเมอรโ์ ครงสร้างของสารประกอบอนิ ทรีย์ประเภทตา่ ง ๆ

ม.6/6 วเิ คราะห์ และเปรียบเทยี บจดุ เดือดและการละลายในน้ำของสารประกอบอินทรีย์ทีม่ ีหมู่ฟังก์ชัน

ขนาดโมเลกลุ หรือโครงสรา้ งตา่ งกนั

ม.6/7 ระบปุ ระเภทของสารประกอบไฮโดรคารบ์ อนและเขียนผลิตภณั ฑ์จากปฏิกิรยิ าการเผาไหม้

ปฏิกริ ิยากบั โบรมีน หรือปฏิกิรยิ ากับโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต

ม.6/8 เขยี นสมการเคมแี ละอธิบายการเกิดปฏิกิรยิ า เอสเทอริฟเิ คชนั ปฏกิ ริ ิยาการสังเคราะหเ์ อไมด์

ปฏกิ ิรยิ าไฮโดรลซิ สิ และปฏิกิริยาสะปอนนิฟิเคชนั

ม.6/9 ทดสอบปฏิกริ ิยาเอสเทอรฟิ ิเคชนั ปฏกิ ริ ิยาไฮโดรลซิ สิ และปฏิกิรยิ า สะปอนนิฟเิ คชัน

ม.6/10 สืบค้นข้อมูลและนำเสนอตัวอย่างการนำสารประกอบอินทรีย์ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน

และอุตสาหกรรม

ม.6/11 ระบุประเภทของปฏิกริ ิยาการเกิดพอลเิ มอรจ์ ากโครงสร้างของมอนอเมอรห์ รือพอลิเมอร์

ม.6/12 วิเคราะห์ และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างและสมบัติของพอลิเมอร์ รวมท้ังการ

นำไปใช้ประโยชน์

ม.6/13 ทดสอบ และระบปุ ระเภทของพลาสตกิ และผลิตภณั ฑ์ยาง รวมทง้ั การนำไปใชป้ ระโยชน์

ม.6/14 อธบิ ายผลของการปรบั เปล่ยี นโครงสร้าง และการสังเคราะหพ์ อลิเมอร์ทีม่ ีต่อสมบัติของ

พอลเิ มอร์

ม.6/15 สืบค้นข้อมูล และนำเสนอตัวอย่างผลกระทบจากการใช้และการกำจัดผลิตภัณฑ์พอลิเมอร์และ

แนวทางแก้ไข

11

โครงสร้างรายวิชา

รหสั วชิ า ว30225 รายวิชา เคมี

กล่มุ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 6

เวลา 3 ชั่วโมง/สัปดาห์ (1.5 หนว่ ยกิต) ภาคเรียนที่ 1

*********************************************************************************************

หน่วย ช่อื หน่วย ผลการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้ เวลา นำ้ หนัก
ท่ี การเรียนรู้ (ช่ัวโมง) (คะแนน)

1 เคมอี นิ ทรีย์ ขอ้ 1

ม.6/1 สบื ค้นข้อมูลและนำเสนอ 1. สารประกอบอินทรีย์ท่ีมี 3 5

ตัวอยา่ งสารประกอบอนิ ทรยี ์ทม่ี ี พนั ธะเด่ียว พันธะคู่ หรือ

พันธะเดีย่ ว พนั ธะคู่ หรอื พนั ธะ พันธะสาม

สาม.ทพี่ บในชีวิตประจำวนั

ม.6/2 เขยี นสตู รโครงสรา้ งลิวอสิ 1. สูตรโครงสรา้ งลิวอสิ สตู ร 5 8

สตู รโครงสร้างแบบย่อ และสตู ร โครงสร้างแบบย่อ และสูตร

โครงสรา้ งแบบเสน้ ของ โครงสรา้ งแบบเส้น

สารประกอบอนิ ทรยี ์

ม.6/3 วิเคราะห์โครงสร้าง และระบุ 1. ประเภทของสารประกอบ 3 5

ประเภทของสารประกอบอินทรยี ์ อินทรีย์

จากหมฟู่ ังก์ชนั

ม.6/4 เขียนสูตรโครงสร้างและ 1. เขียนสตู รโครงสรา้ งและ 4 7

เรียกชอื่ สารประกอบอินทรีย์ เรียกชอ่ื สารประกอบอนิ ทรยี ์

ประเภทตา่ ง ๆ ที่มีหมู่ฟังก์ชนั ไม่ ท่มี ีหมู่ฟังกช์ นั ไม่เกนิ 1 หมู่

เกิน 1 หมู่ ตามระบบ IUPAC ตามระบบ IUPAC

ม.6/5 เขียนไอโซเมอร์โครงสร้าง 1. ไอโซเมอร์โครงสร้างของ 5 8

ของสารประกอบอนิ ทรีย์ประเภท สารประกอบอนิ ทรีย์

ตา่ ง ๆ

ม.6/6 วเิ คราะห์ และเปรยี บเทยี บ 1. จดุ เดอื ดและการละลายใน 4 7

จดุ เดอื ดและการละลายในน้ำของ นำ้ ของสารประกอบอินทรยี ์

สารประกอบอินทรยี ท์ ่ีมหี มู่ฟงั ก์ชัน ที่มีหมู่ฟังกช์ ัน ขนาดโมเลกุล

ขนาดโมเลกลุ หรอื โครงสร้าง หรือโครงสรา้ งต่างกนั

ตา่ งกัน

ม.6/7 ระบปุ ระเภทของ 1. ประเภทของสารประกอบ 6 10

สารประกอบไฮโดรคาร์บอนและ ไฮโดรคาร์บอนและ

เขียนผลติ ภณั ฑ์จากปฏิกริ ิยาการ ผลติ ภัณฑ์จากปฏกิ ริ ิยาการ

เผาไหม้ ปฏกิ ิริยากบั โบรมีน หรอื เผาไหม้ ปฏิกิรยิ ากับโบรมนี

ปฏกิ ิรยิ ากบั โพแทสเซียมเปอร์แมง หรือปฏิกริ ิยากับโพแทสเซยี ม

กาเนต เปอร์แมงกาเนต

12

หน่วย ชอื่ หน่วย ผลการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้ เวลา น้ำหนกั
ท่ี การเรยี นรู้ (ชว่ั โมง) (คะแนน)

ม.6/8 เขยี นสมการเคมีและอธบิ าย 1. เขียนสมการเคมแี ละ 3 5

การเกดิ ปฏกิ ริ ยิ า เอสเทอริฟเิ คชนั ทดสอบการเกดิ ปฏิกิรยิ า

ปฏกิ ิริยาการสงั เคราะหเ์ อไมด์ เอสเทอริฟเิ คชัน ปฏกิ ิรยิ า

ปฏิกิริยาไฮโดรลซิ ิส และปฏิกิริยา การสังเคราะหเ์ อไมด์

สะปอนนิฟิเคชัน ปฏกิ ิรยิ าไฮโดรลซิ ิส และ

ม.6/9 ทดสอบปฏิกิริยา ปฏิกิรยิ าสะปอนนิฟิเคชนั 3 5

เอสเทอริฟิเคชัน ปฏกิ ิริยาไฮโดรลิซิส

และปฏิกิรยิ า สะปอนนฟิ ิเคชัน

ม.6/10 สบื คน้ ข้อมูลและนำเสนอ 1. การนำสารประกอบ 47

ตัวอยา่ งการนำสารประกอบอินทรยี ์ อนิ ทรยี ไ์ ปใชป้ ระโยชน์ใน

ไปใช้ประโยชนใ์ นชีวติ ประจำวัน ชวี ิตประจำวันและ

และอตุ สาหกรรม อุตสาหกรรม

2 พอลิเมอร์ ม.6/11 ระบปุ ระเภทของปฏิกิริยา 1. ประเภทของปฏิกริ ิยาการ 4 7

การเกิดพอลิเมอรจ์ ากโครงสร้าง เกิดพอลเิ มอร์จากโครงสรา้ ง

ของมอนอเมอรห์ รือพอลิเมอร์ ของมอนอเมอร์หรือพอลิเมอร์

ม.6/12 วิเคราะห์ และอธิบาย 1. โครงสรา้ งและสมบัตขิ อง 4 7
5 8
ความสมั พนั ธร์ ะหว่างโครงสร้างและ พอลเิ มอร์ 3 5
4 6
สมบัตขิ องพอลเิ มอร์ รวมทั้งการ 60 100

นำไปใชป้ ระโยชน์

ม.6/13 ทดสอบ และระบปุ ระเภท 1. ประเภทของพลาสติกและ

ของพลาสติกและผลติ ภณั ฑ์ยาง ผลิตภัณฑย์ าง

รวมทัง้ การนำไปใชป้ ระโยชน์

ม.6/14 อธบิ ายผลของการ 1. การปรับเปลี่ยนโครงสรา้ ง

ปรบั เปล่ยี นโครงสร้าง และการ และการสังเคราะห์พอลเิ มอร์

สังเคราะห์พอลเิ มอร์ท่ีมตี ่อสมบตั ิ ท่มี ีต่อสมบัตขิ องพอลเิ มอร์

ของพอลเิ มอร์

ม.6/15 สบื ค้นข้อมลู และนำเสนอ 1. ผลกระทบจากการใช้และ

ตัวอย่างผลกระทบจากการใช้และ การกำจัดผลติ ภัณฑ์พอลิ

การกำจดั ผลิตภณั ฑพ์ อลิเมอร์และ เมอรแ์ ละแนวทางแก้ไข

แนวทางแก้ไข

รวม

13

การวัดผลและประเมินผล

การวัดผลการเรียนรู้ 60 คะแนน
1. การวดั ผลระหวา่ งเรยี น 20 คะแนน
2. การวัดผลกลางภาคเรยี น 20 คะแนน
3. การวัดผลปลายภาคเรยี น 100 คะแนน
4. รวมการวัดผลตลอดภาคเรียน

การประเมนิ ผลการเรียนรู้
1. เกณฑ์การตดั สนิ ผลการประเมินผล การเรียนรู้กล่มุ สาระการเรยี นรู้

ระดับผลการเรียน ความหมาย ชว่ งคะแนนเป็นร้อยละ

4 ดเี ย่ยี ม 80 – 100

3.5 ดีมาก 75 – 79

3 ดี 70 – 74

2.5 ค่อนข้างดี 65 – 69

2 น่าพอใช้ 60 – 64

1.5 พอใช้ 55 – 59

1 ผา่ น 50 – 54

0 ต่ำกวา่ เกณฑ์ 0 – 49

2. เกณฑก์ ารตัดสนิ ผลการประเมินผล การอา่ น คดิ วเิ คราะห์ เขียนส่ือความ

2.1 ผลการประเมิน “ผา่ น” และ “ไม่ผา่ น”

2.2 เกณฑ์การตัดสนิ

ระดับคุณภาพ ความหมาย ช่วงคะแนนเปน็ ร้อยละ

3 ดเี ยย่ี ม 80 – 100

2 ดี 70 – 79

1 ผ่านเกณฑ์ 50 – 69

0 ไมผ่ า่ นเกณฑ์ ตำ่ กว่า 50

3. เกณฑก์ ารตดั สนิ ผลการประเมินผล คุณลักษณะอนั พึงประสงค์
3.1 ผลการประเมิน “ผา่ น” และ “ไม่ผ่าน”
3.2 เกณฑ์การตัดสนิ

14

ระดบั คุณภาพ ความหมาย ชว่ งคะแนนเป็นร้อยละ
3 ดเี ย่ียม 80 – 100
2 ดี 70 – 79
1 ผ่านเกณฑ์ 50 – 69
0 ตำ่ กวา่ 50
ไมผ่ ่านเกณฑ์

การคิดเวลาเรยี น

จำนวน จำนวน เวลาเรียน 60 %ของ 80 %ของ จำนวน
หนว่ ยกิต ชัว่ โมงต่อ เต็ม (ชม.) เวลาเรยี น เวลาเรียน ชั่วโมง
สัปดาห์ เต็ม (ชม.) เต็ม (ชม.) ทขี่ าดได้
0.5 ตลอดปี
1.0 1 20 12 16
1.5 2 40 24 32 4
2.0 3 60 36 48
2.5 4 80 48 64 8
3.0 5 100 60 80
6 120 72 96 12

16

20

24

เกณฑก์ ารจบหลกั สูตรระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย
1) ผเู้ รยี นเรียนรายวชิ าพนื้ ฐานและเพิ่มเตมิ ไมน่ ้อยกวา่ 85 หนว่ ยกิต โดยเปน็ รายวชิ าพื้นฐาน 41

หน่วยกติ และรายวิชาเพิ่มเติมตามที่สถานศึกษากำหนด
2) ผเู้ รยี นต้องได้หน่วยกิตตลอดหลักสตู รไม่น้อยกวา่ 77 หน่วยกิต โดยเปน็ รายวชิ าพื้นฐาน 41

หน่วยกิต และรายวิชาเพ่มิ เติมไม่น้อยกวา่ 36 หนว่ ยกติ
3) ผู้เรยี นมผี ลการประเมินการอา่ น คิดวเิ คราะห์ และเขียนในระดับผ่านขึ้นไป
4) ผ้เู รยี นมีผลการประเมนิ คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ในระดบั ผ่านขน้ึ ไป
5) ผเู้ รยี นเขา้ ร่วมกิจกรรมพัฒนาผ้เู รียนและมีผลการประเมินในระดับผา่ น

การตดั สินการเรียนรู้ ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 – 6
1. ผู้เรียนต้องเรยี นรู้ตามกลมุ่ สาระการเรยี นร้ทู ั้ง 8 กลุ่ม ได้หนว่ ยกติ ครบตามโครงสรา้ งทั้ง

รายวชิ าพนื้ ฐานและเพ่ิมเตมิ
2. ผเู้ รียนตอ้ งผา่ นการประเมินการอ่าน คดิ วิเคราะห์ เขียนสือ่ ความ ใหไ้ ด้รับ ผลการประเมิน

“ผ่าน”

3. ผู้เรียนตอ้ งผา่ นการประเมินคุณลักษณะอนั พงึ ประสงคห์ มาย ได้รบั ผลการประเมิน “ผ่าน”
4. ผูเ้ รียนตอ้ งเขา้ รว่ มกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและได้รับการตดั สนิ ผลการเรยี น “ ผ่าน” ทุก
กิจกรรม

15

โครงการสอน

รหสั วชิ า ว30225 รายวชิ า เคมี จำนวน 1.5 หนว่ ยการเรยี น ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 6/1

ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564

สัปดาห์ที่ แผนที่ วัน เดอื น ปี เร่อื ง คาบท่ี
1 1–3
2 1 14 – 18 มิ.ย. 64 พนั ธะและการเขยี นสตู รโครงสรา้ งของสารประกอบอินทรีย์ 4–6

3 2 21 – 25 ม.ิ ย. 64 ไอโซเมอรแ์ ละหมูฟ่ ังกช์ นั 7–9

4 2, 3 28 มิ.ย. – 2 ก.ค. 64 ไอโซเมอรแ์ ละหมฟู่ ังก์ชนั , สมบัตบิ างประการของสารประกอบ 10 – 12
ไฮโดรคารบ์ อน
5 13 – 15
3, 4 5 – 9 ก.ค. 64 สมบัตบิ างประการของสารประกอบไฮโดรคารบ์ อน,
6 สารประกอบแอลเคนและสารประกอบแอลคนี 16 – 18
7 19 – 21
8 4, 5 12 – 16 ก.ค. 64 สารประกอบแอลเคนและสารประกอบแอลคีน, สารประกอบ 22 – 24
9 แอลไคน์และอะโรมาตกิ ไฮโดรคาร์บอน 25 – 27
10 28 – 30
11 5 19 – 23 ก.ค. 64 สารประกอบแอลไคน์และอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน 31 – 33
12 34 – 36
13 6 26 – 30 ก.ค. 64 แอลกอฮอล์ ฟีนอล และอีเทอร์ 37 – 39

14 6, 7 2 – 6 ส.ค. 64 แอลกอฮอล์ ฟีนอล และอีเทอร์, แอลดไี ฮด์และคีโตน 40 – 42

15 7, 8 9 – 13 ส.ค. 64 แอลดไี ฮดแ์ ละคีโตน, กรดคาร์บอกซลิ ิกและเอสเทอร์ 43 – 45
16 46 – 48
17 8 16 – 20 ส.ค. 64 กรดคารบ์ อกซิลิกและเอสเทอร์, สอบกลางภาค 49 – 51
18 52 – 54
19 8, 9 23 – 27 ส.ค. 64 กรดคารบ์ อกซิลิกและเอสเทอร์, เอมีน 55 – 57
20 58 – 60
9, 10 30 ส.ค. – 3 ก.ย. 64 เอมนี , เอไมด์

11 6 – 10 ก.ย. 64 การใช้ประโยชนข์ องสารประกอบอนิ ทรยี ์

11, 12 13 – 17 ก.ย. 64 การใช้ประโยชน์ของสารประกอบอินทรยี ์, ปฏิกริ ิยาการเกิด
พอลิเมอร์

12, 13 20 – 24 ก.ย. 64 ปฏิกริ ิยาการเกิดพอลิเมอร์, โครงสร้างและสมบตั ิของพอลิเมอร์

13 27 ก.ย. – 1 ต.ค. 64 โครงสรา้ งและสมบัติของพอลิเมอร์

14 4 – 8 ต.ค. 64 พลาสติก

14, 15 11 – 15 ต.ค. 64 พลาสตกิ , ยาง

15, 16 18 – 22 ต.ค. 64 ยาง, ผลกระทบท่ีเกดิ จากการใช้และกำจัดผลติ ภณั ฑพ์ อลิเมอร์

16 25 – 29 ต.ค. 64 ผลกระทบทเ่ี กิดจากการใช้ผลิตภณั ฑ์พอลิเมอร์, สอบปลายภาค

ลงชอ่ื ……………………..…………… ลงช่ือ………………….……………….….
(นางสาวมยุลี นันดี) (นางสายทิพย์ ทิพย์รักษ์)
ครปู ระจำวชิ า
หวั หน้ากลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ลงชอ่ื ………….……..…………....... ลงชอื่ ……………….……………………
( นางธณต เลศิ ล้ำ) (นายชยั วฒั น์ สุมี )

หวั หนา้ งานพัฒนากระบวนการเรยี นรู้ รองผอู้ ำนวยสถานศกึ ษา ฝา่ ยบรหิ ารวิชาการ

16

ลงชือ่ ……………………………………..
(นางสาวนฤมล วิทยาวุฒริ ตั น์)

รองผ้อู ำนวยสถานศึกษา รักษาราชการแทน
ผ้อู ำนวยการสถานศกึ ษาโรงเรยี นหนองยางพิทยาคม

17

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1

เคมีอินทรยี ์

เวลา 40 ช่ัวโมง
1. ผลการเรียนรู้

เข้าใจโครงสร้างอะตอม การจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ สมบัติของธาตุ พันธะเคมีและสมบัติของสาร แก๊ส
และสมบัติของแก๊ส ประเภทและสมบัติของสารประกอบอินทรีย์และพอลิเมอร์ รวมทั้งการนำความรู้ไปใช้
ประโยชน์

1. สืบค้นขอ้ มูลและนำเสนอตัวอย่างสารประกอบอนิ ทรีย์ท่ีมพี ันธะเดีย่ ว พันธะคู่ หรอื พนั ธะสามท่พี บใน
ชวี ิตประจำวัน

2. เขยี นสูตรโครงสร้างลวิ อิส สตู รโครงสรา้ งแบบย่อและสตู รโครงสรา้ งแบบเส้นของสารประกอบอินทรีย์
3. วิเคราะห์โครงสร้าง และระบุประเภทของสารประกอบอินทรยี จ์ ากหมู่ฟงั ก์ชัน
4. เขียนสูตรโครงสรา้ งและเรียกช่อื สารประกอบอินทรยี ์ประเภทตา่ งๆ ที่มีหมู่ฟังกช์ ันไม่เกนิ 1 หมู่ ตาม
ระบบ IUPAC
5. เขียนไอโซเมอร์โครงสร้างของสารประกอบอนิ ทรยี ์ประเภทต่างๆ
6. วเิ คราะห์ และเปรยี บเทียบจุดเดือดและการละลายในนำ้ ของสารประกอบอินทรียท์ ม่ี หี มู่ฟังก์ชนั ขนาด
โมเลกุล หรือโครงสรา้ งตา่ งกัน
7. ระบปุ ระเภทของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนและเขียนผลิตภณั ฑจ์ ากปฏกิ ิรยิ าการเผาไหม้ ปฏิกริ ยิ ากับ
โบรมีน หรอื ปฏกิ ริ ยิ ากับโพแทสเซยี มเปอร์แมงกาเนต
8. เขียนสมการเคมีและอธบิ ายการเกดิ ปฏกิ ิริยาเอสเทอริฟิเคชัน ปฏิกิริยาการสังเคราะห์เอไมด์ ปฏิกริ ยิ า
ไฮโดรลซิ ิส และปฏกิ ิรยิ าสะปอนนฟิ เิ คชัน
9. ทดสอบปฏิกิริยาเอสเทอริฟเิ คชัน ปฏกิ ิรยิ าไฮโดรลซิ ิส และปฏิกริ ิยาสะปอนนฟิ เิ คชัน
10. สบื คน้ ขอ้ มูล และนำเสนอตวั อยา่ งการนำสารประกอบอินทรยี ไ์ ปใชป้ ระโยชน์ในชีวิตประจำวนั และ
อตุ สาหกรรม

2. สาระการเรียนรู้
2.1 สาระการเรยี นรู้เพ่มิ เติม
1) สารประกอบอนิ ทรยี เ์ ป็นสารประกอบของคารบ์ อนส่วนใหญ่พบในสิ่งมีชีวติ มีโครงสรา้ งหลากหลาย

และแบ่งได้หลายประเภท เนื่องจากธาตุคาร์บอนสามารถเกิดพันธะโคเวเลนต์กับธาตุคาร์บอนดว้ ยพันธะเดี่ยว
พันธะคู่ พันธะสาม นอกจากนี้ยังสามารถเกิดพันธะโคเวเลนต์กับธาตุอื่น ๆ ได้อีกด้วย และมีการนำ
สารประกอบอนิ ทรียไ์ ปใชป้ ระโยชน์อยา่ งหลากหลาย

2) โครงสร้างของสารประกอบอินทรีย์แสดงได้ด้วยสูตรโครงสร้างลิวอิส สูตรโครงสร้างแบบย่อหรือ
สูตรโครงสร้างแบบเส้น

3) สารประกอบอินทรีย์มีหลายประเภท การพิจารณาประเภทของสารประกอบอินทรีย์อาจใช้หมู่
ฟังก์ชันเปน็ เกณฑไ์ ด้เป็นแอลเคน แอลคนี แอลไคน์ อะโรมาตกิ ไฮโดรคารบ์ อน แอลกอฮอล์ อเี ทอร์ เอมีน แอล
ดีไฮด์ คีโตน กรดคาร์บอกซลิ ิก เอสเทอร์ เอไมด์

18

4) การเรียกชื่อสารประกอบอินทรีย์ประเภทแอลเคน แอลคีน แอลไคน์ แอลกอฮอล์ อีเทอร์ เอมีน
แอลดไี ฮด์ คีโตน กรดคารบ์ อกซลิ กิ เอสเทอร์ และเอไมด์ จะเรยี กตามระบบ IUPAC หรืออาจเรียกโดยใช้ ช่ื อ
สามญั

5) ปรากฏการณ์ทส่ี ารมีสูตรโมเลกลุ เหมือนกันแต่มสี มบตั ิแตกตา่ งกนั เรยี กวา่ ไอโซเมอริซึม และเรียก
สารแต่ละชนดิ วา่ ไอโซเมอร์ ไอโซเมอร์ท่มี สี ตู รโมเลกลุ เหมือนกนั แตม่ ีสูตรโครงสรา้ งต่างกัน เรยี กว่า ไอโซเมอร์
โครงสรา้ ง

6) สารประกอบอินทรีย์ที่มีหมู่ฟังก์ชัน ขนาดโมเลกุลหรือโครงสร้างของสารต่างกันจะมีจุดเดือดและ
การละลายในน้ำต่างกัน สำหรับการละลายของสารพิจารณาได้จากความมีขั้วของตัวละลายและตัวทำละลาย
โดยสารสามารถละลายไดใ้ นตัวทำละลายทม่ี ขี ั้วใกล้เคยี งกัน

7) สารประกอบอินทรีย์ประเภทแอลเคน แอลคีน แอลไคน์ อะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน เป็น
สารประกอบไฮโดรคารบ์ อน ซึ่งเมอื่ เกิดปฏกิ ิรยิ าการเผาไหม้ ปฏิกริ ยิ ากบั โบรมีนและปฏิกิริยากบั โพแทสเซียม
เปอรแ์ มงกาเนต จะให้ผลของปฏิกิริยาต่างกัน จงึ สามารถใชเ้ ปน็ เกณฑ์ในการจำแนกประเภทของสารประกอบ
ไฮโดรคาร์บอนได้

8) กรดคาร์บอกซิลิกทำปฏิกิริยากับแอลกอฮอล์ได้เป็นเอสเทอร์ เรียกว่า ปฏิกิริยาเอสเทอริฟิเคชัน
กรดคาร์บอกซิลิกทำปฏิกิริยากับเอมีนเกิดเป็นเอไมด์ เอสเทอร์และเอไมด์สามารถเกิดปฏิกิริยาไฮโดรลิซิส
ปฏิกริ ยิ าไฮโดรลิซิสของเอสเทอรใ์ นเบสแอลคาไล เรยี กวา่ ปฏิกิรยิ าสะปอนนิฟเิ คชัน

9) สารประกอบอนิ ทรยี ์สามารถนำไปใชป้ ระโยชน์ไดม้ ากมายในชีวติ ประจำวัน รวมทั้งนำไปใชเ้ ปน็ สาร
ตง้ั ตน้ และตวั ทำละลายในอุตสาหกรรมดา้ นต่าง ๆ เชน่ อตุ สาหกรรมเชอื้ เพลิงและพลังงานอุตสาหกรรมอาหาร
และยา อุตสาหกรรมเกษตร

3. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด
สารประกอบอินทรีย์ คือ สารประกอบที่มีธาตุคาร์บอนเป็นองค์ประกอบ ส่วนใหญ่พบในสิ่งมีชีวิต มี

โครงสร้างหลากหลายและแบ่งได้หลายประเภท เนื่องจากธาตุคาร์บอนสามารถเกิดพันธะโคเวเลนต์กับธาตุ
คาร์บอนด้วยพันธะเดี่ยว พันธะคู่ พันธะสาม และยังสามารถเกิดพันธะโคเวเลนต์กับธาตุอื่น ๆ ได้ เช่น
ไนโตรเจน ออกซิเจน กำมะถัน ฟอสฟอรัส การเขียนสูตรของสารประกอบอินทรีย์ อาจเขียนเป็นสูตรโมเลกลุ
สตู รโครงสรา้ งลวิ อิส สตู รโครงสร้างแบบยอ่ และสูตรโครงสร้างแบบเสน้ และมุม

สารประกอบอินทรีย์ มีหมู่อะตอมที่ทำหน้าที่แสดงสมบัติของสารประกอบนั้น ๆ ทำให้สามารถจัด
สารประกอบอินทรียต์ ามสมบตั ิของหม่อู ะตอมที่ทำหนา้ ที่แสดงสมบตั ิ เรียกว่า หมฟู่ ังกช์ ัน เช่น โมเลกลุ ของ
สารอนิ ทรยี ์ใดมหี มู่ -OH จัดเป็นสารประกอบแอลกอฮอล์ ไอโซเมอรซิ มึ เปน็ ปรากฏการณท์ ี่ สารประกอบ
อินทรยี ม์ สี ตู รโมเลกลุ เหมือนกนั แตม่ สี ตู รโครงสรา้ งตา่ งกัน และสารที่มีสูตรโมเลกลุ เหมือนกัน แ ต ่ ส ู ต ร
โครงสร้างแตกต่างกัน เรยี กวา่ ไอโซเมอร์

สารประกอบไฮโดรคาร์บอน คือ สารประกอบอินทรีย์ที่มีเฉพาะธาตุคาร์บอนและธาตุไฮโดรเจนเป็น
องค์ประกอบ แบ่งได้ 4 ประเภท คือ สารประกอบแอลเคน สารประกอบแอลคีน สารประกอบแอลไคน์
และอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน เมื่อสารประกอบไฮโดรคาร์บอนแต่ละประเภทเกิดปฏิกิริยาการเผาไหม้
ปฏิกิริยากับโบรมีน ปฏิกิริยากับโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต จะให้ผลที่แตกต่างกัน ใช้เป็นเกณฑ์ในการ
จำแนกประเภทของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนได้

สารประกอบแอลเคนเป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนประเภทอ่ิมตัว มีสตู รทว่ั ไปคอื CnH2n+2 เรยี กชอื่ ไ ด้
ตามระบบ IUPAC หรืออาจจะเรียกชื่อโดยระบบชื่อสามัญ ส่วนสารประกอบแอลคีนเป็นสารประกอบ

19

ไฮโดรคาร์บอนประเภทไม่อิ่มตัว มีสูตรทั่วไปคือ CnH2n เรียกชื่อตามระบบ IUPAC ได้โดยใช้หลักการเดียวกับ
แอลเคน แอลเคนและแอลคีนจะมีสมบัตแิ ละการเกิดปฏิกิรยิ าที่แตกต่างกนั เช่น แอลเคนเกิดปฏิกิริยาการเผา
ไหมไ้ ด้ดีกวา่ แอลคีน

สารประกอบแอลไคน์เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนประเภทไม่อิ่มตัว มีสูตรทั่วไปคือ CnH2n-2 เรียกชื่อ
ได้ตามระบบ IUPAC ส่วนสารประกอบอะโรมาตกิ ไฮโดรคารบ์ อนเป็นสารประกอบ ไฮโดรคาร์บอนที่มีวง
เบนซนี (C6H6) เป็นองค์ประกอบ

แอลกอฮอล์ ฟีนอล และอเี ทอร์ เปน็ สารประกอบอนิ ทรยี ์ท่มี ีธาตุคาร์บอน ธาตุไฮโดรเจนและธาตุออกซเิ จน
เป็นองคป์ ระกอบ แอลกอฮอล์และฟีนอลมหี มูไ่ ฮดรอกซลิ เป็นหมู่ฟังกช์ ัน อเี ทอร์มหี มู่ออกซีเป็นหมู่ฟังก์ชัน และ
เป็นไอโซเมอร์กับแอลกอฮอล์และฟีนอล โดยที่อีเทอร์จะมีจุดเดือดต่ำกว่าแอลกอฮอล์ เนื่องจากโมเลกุลของ
อีเทอร์ไมส่ ามารถเกดิ พันธะไฮโดรเจนไดเ้ หมือนกับแอลกอฮอล์

สารประกอบแอลดีไฮด์ เป็นสารประกอบอินทรีย์ที่มีหมู่คาร์บอกซาลดีไฮด์เป็นหมู่ฟังก์ชัน ส่วน
สารประกอบคีโตนเป็นสารประกอบอินทรีย์ที่มีหมู่คาร์บอนิลเป็นหมู่ฟังก์ชัน โดยคีโตนจะมีจุดเดือดมากกว่า
แอลดไี ฮด์

กรดคารบ์ อกซลิ ิกเปน็ สารประกอบอินทรยี ท์ ่ีมีหมู่คารบ์ อกซิลเป็นหมู่ฟังกช์ นั ส่วนเอสเทอร์เป็นอนุพันธ์ของ
กรดคาร์บอกซิลิกเกิดจากหมู่แทนที่ด้วยหมู่แอลคอกซี โดยกรดคาร์บอกซิลิกจะมีจุดเดือดสูงกว่าแอลกอฮอล์
แอลดีไฮด์ และคโี ตน

เอมีนเป็นสารประกอบอินทรีย์ที่เกิดจากหมู่แอลคิลหรือหมู่แอริลเข้าแทนที่ไฮโดรเจนในโมเลกุล
แอมโมเนีย มหี มฟู่ งั กช์ นั คือหมู่อะมิโน เอมนี แบง่ เปน็ 3 ชนดิ คือ เอมนี ปฐมภูมิ เอมนี ทตุ ยิ ภูมิ เอมนี ตติยภูมิ

สารประกอบเอไมด์เป็นสารประกอบอินทรีย์ที่ประกอบด้วยธาตุคาร์บอน ไฮโดรเจน ออกซิเจนและ
ไนโตรเจน เกิดจากหมู่อะมิโนเข้าไปแทนที่หมู่คาร์บอกซิลในกรดคาร์บอกซิลิก ดังนั้นเอไมด์จึงจัดเป็นอนุพันธ์
ของกรดคารบ์ อกซลิ กิ เอไมด์แบง่ ได้ 3 ชนิด คือ เอไมดป์ ฐมภูมิ เอไมด์ทตุ ิยภูมิ เอไมดต์ ตยิ ภูมิ

สารประกอบอินทรีย์สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้มากมาย เช่น แก๊สปิโตรเลียม นำไปใช้เป็น
เชื้อเพลิง ทำแก๊สหุงต้ม น้ำมันเบนซิน นำไปใช้เป็นเชื้อเพลิงในยานยนต์ แก๊สธรรมชาติก็ถูกนำไปใช้เป็น
เชื้อเพลิงสำหรับยานยนต์ และสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่ได้จากการกลั่นน้ำมันดิบยังนำไปเป็นวัตถุดิบใน
การผลิตมอนอเมอรห์ รือพอลเิ มอร์ในอุตสาหกรรมปิโตรเคมี

4. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี นและคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์

สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์

1. ความสามารถในการส่ือสาร 1. มวี ินยั

2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝ่เรียนรู้

1) ทักษะการสังเกต 3. มงุ่ มัน่ ในการทำงาน

2) ทกั ษะการสำรวจค้นหา

3) ทักษะการวเิ คราะห์

4) ทกั ษะการทดลอง

5) ทักษะการลงความเหน็ จากข้อมูล

6) ทักษะการตีความหมายและลงข้อสรุป

3. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

20

5. ช้นิ งาน/ภาระงาน (รวบยอด)
- ผงั มโนทัศน์ เรื่อง ไอโซเมอริซึมและหมู่ฟงั ก์ชัน
- รายงานการทดลอง เรอ่ื ง สมบตั บิ างประการของเอทานอลและกรดแอซตี ิก
- ผงั มโนทัศน์ เรอ่ื ง สมบัตบิ างประการของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน
- รายงานการทดลอง เรือ่ ง สมบตั ิบางประการของสารประกอบไฮโดรคารบ์ อน
- ผงั มโนทัศน์ เรื่อง แอลไคน์และอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน
- ผงั มโนทัศน์ เร่อื ง แอลกอฮอล์ ฟีนอล และอเี ทอร์
- ผังมโนทศั น์ เรื่อง แอลดีไฮด์และคีโตน
- รายงานการทดลอง เรอ่ื ง ปฏิกิรยิ าระหว่างกรดคารบ์ อกซิลกิ และแอลกอฮอล์
- รายงานการทดลอง เรื่อง ปฏกิ ริ ิยาของเอสเทอร์
- ผังมโนทศั น์ เรอื่ ง กรดคาร์บอกซิลิกและเอสเทอร์
- ผงั มโนทศั น์ เรอ่ื ง เอมนี
- ผงั มโนทัศน์ เรือ่ ง เอไมด์
- แบบจำลอง เร่ือง ผลติ ภัณฑ์ทีไ่ ดจ้ ากกระบวนการกลั่นลำดบั สว่ นน้ำมนั ดบิ

6. การวัดและการประเมนิ ผล

รายการวัด วธิ วี ดั เครอ่ื งมือ เกณฑ์การประเมิน
- ระดับคุณภาพดี
6.1 การประเมนิ - ผงั มโนทัศน์ เรื่อง ไอโซเมอริ - แบบประเมนิ ชิน้ งาน/
ผา่ นเกณฑ์
ช้นิ งาน/ภาระ ซมึ และหมู่ฟงั กช์ ัน ภาระงาน - ระดบั คุณภาพดี

งาน (รวบยอด) - รายงานการทดลอง เรอ่ื ง - แบบประเมินการ ผา่ นเกณฑ์

สมบัติบางประการของเอทา ปฏบิ ัติการ - ระดบั คุณภาพดี
ผา่ นเกณฑ์
นอลและ
- ระดับคุณภาพดี
กรดแอซีตกิ - แบบประเมินชน้ิ งาน/ ผา่ นเกณฑ์

- ผังมโนทัศน์ เรือ่ ง สมบัติบาง ภาระงาน - ระดับคุณภาพดี
ผ่านเกณฑ์
ประการของสารประกอบ
- ระดับคุณภาพดี
ไฮโดรคารบ์ อน - แบบประเมนิ การ ผ่านเกณฑ์

- รายงานการทดลอง เรอื่ ง ปฏบิ ตั ิการ - ระดับคุณภาพดี
ผ่านเกณฑ์
สมบตั บิ างประการของ
- ระดับคุณภาพดี
สารประกอบไฮโดรคารบ์ อน - แบบประเมินช้ินงาน/ ผา่ นเกณฑ์

- ผงั มโนทัศน์ เรอ่ื ง แอลไคน์ ภาระงาน

และอะโรมาตกิ - แบบประเมนิ ชิ้นงาน/

ไฮโดรคาร์บอน ภาระงาน

- ผังมโนทัศน์ เรื่อง แอลกอฮอล์ - แบบประเมินช้นิ งาน/

ฟีนอล และอีเทอร์ ภาระงาน

- ผงั มโนทศั น์ เร่ือง แอลดไี ฮด์ - แบบประเมนิ การ

และคีโตน ปฏบิ ัตกิ าร

21

รายการวดั วิธวี ดั เคร่ืองมอื เกณฑก์ ารประเมนิ
- รายงานการทดลอง เร่ือง - แบบประเมนิ การ - ระดบั คุณภาพดี
ปฏบิ ัตกิ าร
ปฏกิ ิรยิ าระหว่างกรดคารบ์ อก ผา่ นเกณฑ์
ซลิ กิ และแอลกอฮอล์ - แบบประเมินชิ้นงาน/
- รายงานการทดลอง เร่ือง ภาระงาน - ระดบั คุณภาพดี
ปฏกิ ิรยิ าของเอสเทอร์ ผา่ นเกณฑ์
- ผังมโนทัศน์ เร่อื ง กรดคาร์ - แบบประเมินชน้ิ งาน/
บอก- ภาระงาน - ระดับคุณภาพดี
ซลิ กิ และเอสเทอร์ ผา่ นเกณฑ์
- ผงั มโนทัศน์ เรอื่ ง เอมนี - แบบประเมนิ ชิน้ งาน/
ภาระงาน - ระดบั คุณภาพดี
- ผังมโนทศั น์ เรอื่ ง เอไมด์ ผ่านเกณฑ์
- แบบประเมินช้ินงาน/
ภาระงาน - ระดับคุณภาพดี
ผ่านเกณฑ์

6.2 การประเมิน - แบบจำลอง เรอ่ื ง ผลิตภณั ฑท์ ี่ - แบบทดสอบก่อน - ประเมนิ ตาม
กอ่ นเรียน ได้จากกระบวนการกลัน่ ลำดับ เรียน สภาพ
- แบบทดสอบ สว่ นนำ้ มนั ดิบ
กอ่ นเรยี น หน่วย - ใบงานท่ี 1.1 จรงิ
การเรยี นรู้ท่ี 1 - ตรวจแบบทดสอบก่อนเรยี น - ใบงานท่ี 1.2
เร่อื ง - แบบฝึกหดั - รอ้ ยละ 60
เคมีอนิ ทรยี ์ - ตรวจใบงานท่ี 1.1 - ใบงานที่ 1.3 ผา่ นเกณฑ์
- ตรวจใบงานท่ี 1.2 - แบบฝึกหดั
6.3 การประเมนิ - ตรวจแบบฝกึ หัด - ร้อยละ 60
ระหวา่ งการจดั - ตรวจใบงานท่ี 2 ผ่านเกณฑ์
กิจกรรม - ตรวจแบบฝกึ หัด
1)
สารประกอบ
อินทรีย์

2) ไอโซเมอ-
ริซึมและหมู่
ฟังก์ชัน

3) สมบตั บิ าง - ตรวจแบบฝกึ หัด - แบบฝกึ หัด - รอ้ ยละ 60
ประการของ ผา่ นเกณฑ์
สารประกอบ
ไฮโดรคาร์-
บอน

รายการวัด วธิ วี ดั เครอ่ื งมือ 22
- ตรวจใบงานท่ี 1.4 - ใบงานที่ 1.4
4) แอลเคนและ เกณฑ์การประเมิน
แอลคีน - ตรวจใบงานที่ 1.5 - ใบงานที่ 1.5 - ร้อยละ 60

- ตรวจแบบฝึกหดั - แบบฝึกหดั ผ่านเกณฑ์
- รอ้ ยละ 60
5) แอลไคน์ - ตรวจ Topic Questions - สมดุ บนั ทึกของ
และอะโร - ตรวจแบบฝกึ หดั นกั เรียน ผ่านเกณฑ์
มาติกไฮโดร - ตรวจใบงานที่ 1.6 - รอ้ ยละ 60
คารบ์ อน - ตรวจแบบฝกึ หัด - แบบฝึกหดั
ผ่านเกณฑ์
6) แอลกอฮอล์ - ใบงานท่ี 1.6 - ร้อยละ 60
ฟนี อล และ
อีเทอร์ - แบบฝกึ หัด ผา่ นเกณฑ์
- ร้อยละ 60
7) แอลดไี ฮด์ - ตรวจใบงานท่ี 1.7 - ใบงานท่ี 1.7
และคโี ตน - ตรวจแบบฝึกหดั ผา่ นเกณฑ์
- แบบฝกึ หดั - ร้อยละ 60
8) กรด - ตรวจใบงานท่ี 1.8
คารบ์ อกซิลกิ - ใบงานที่ 1.8 ผา่ นเกณฑ์
และเอสเทอร์ - ตรวจ Topic Questions - ร้อยละ 60
- สมุดบนั ทกึ ของ
- ตรวจแบบฝึกหัด นกั เรยี น ผ่านเกณฑ์
- รอ้ ยละ 60
9) เอมนี - ตรวจใบงานที่ 1.9 - แบบฝกึ หัด
ผ่านเกณฑ์
- ตรวจ Topic Questions - ใบงานที่ 1.9 - ร้อยละ 60

- ตรวจแบบฝกึ หดั - สมุดบนั ทึกของ ผ่านเกณฑ์
นักเรยี น - ร้อยละ 60
10) เอไมด์ - ตรวจใบงานที่ 1.10
- แบบฝกึ หดั ผา่ นเกณฑ์
- ตรวจ Topic Questions - ร้อยละ 60
- ใบงานท่ี 1.10
- ตรวจแบบฝกึ หดั ผา่ นเกณฑ์
- สมุดบนั ทึกของ - รอ้ ยละ 60
นกั เรียน
ผ่านเกณฑ์
- แบบฝึกหดั - ร้อยละ 60

ผา่ นเกณฑ์
- ร้อยละ 60

ผ่านเกณฑ์
- รอ้ ยละ 60

ผ่านเกณฑ์
- ร้อยละ 60

ผา่ นเกณฑ์
- รอ้ ยละ 60

ผ่านเกณฑ์
- รอ้ ยละ 60

ผา่ นเกณฑ์

23

รายการวัด วิธวี ดั เครื่องมือ เกณฑก์ ารประเมิน
- ตรวจใบงานท่ี 1.11 - ใบงานท่ี 1.11
11) การใช้ - ร้อยละ 60
ประโยชนข์ อง - ตรวจ Topic Questions - สมดุ บนั ทึกของ ผา่ นเกณฑ์
สารประกอบ นกั เรียน
อินทรีย์ - ตรวจแบบฝึกหัด - ร้อยละ 60
- แบบฝึกหัด ผ่านเกณฑ์
8) การนำเสนอ - ประเมนิ การนำเสนอผลงาน
ผลงาน - แบบประเมิน - รอ้ ยละ 60
การนำเสนอผลงาน ผ่านเกณฑ์
9) พฤตกิ รรม - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม
การทำงาน การทำงานรายบุคคล การทำงานรายบุคคล ระดบั คุณภาพดี
รายบุคคล ผ่านเกณฑ์

10) พฤติกรรม - สงั เกตพฤติกรรม ระดับคุณภาพดี
การทำงาน การทำงานกลุ่ม ผ่านเกณฑ์
กลุ่ม
- แบบสังเกตพฤตกิ รรม ระดบั คุณภาพดี
11) คณุ ลักษณะ - สังเกตความมีวนิ ยั การทำงานกลุ่ม ผา่ นเกณฑ์
อนั พึง ใฝ่เรยี นรู้ และม่งุ ม่นั ในการ
ประสงค์ ทำงาน - แบบประเมิน ระดับคุณภาพดี
คุณลักษณะ ผา่ นเกณฑ์
6.4 การประเมิน อนั พึงประสงค์
หลงั เรยี น
1) Test for - ตรวจ Test for U - สมดุ บนั ทึกของ - รอ้ ยละ 60
U หน่วย นกั เรียน ผ่านเกณฑ์
การเรียนรู้
ที่ 2 - แบบทดสอบหลงั - ประเมินตาม
เรียน สภาพจรงิ
2) แบบ - ตรวจแบบทดสอบหลงั เรียน
ทดสอบ
หลังเรียน
หน่วย
การเรียนรู้
ที่ 1 เรื่อง

เคมีอินทรยี ์

7. กิจกรรมการเรียนรู้ เวลา 3 ชั่วโมง
เวลา 5 ช่ัวโมง
• แผนฯ ที่ 1 : พันธะและการเขยี นสตู รโครงสรา้ งของสารประกอบอินทรีย์
วิธสี อนแบบเน้นมโนทัศน์ (Concept-Based Instruction)

• แผนฯ ที่ 2 : ไอโซเมอร์และหม่ฟู ังก์ชัน
วิธีสอนแบบนริ นัย (Deductive Method)

24

• แผนฯ ท่ี 3 : สมบตั ิบางประการของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน เวลา 2 ช่วั โมง
วธิ สี อนแบบอปุ นัย (Inductive Method) เวลา 4 ช่วั โมง
เวลา 4 ชัว่ โมง
• แผนฯ ที่ 4 : สารประกอบแอลเคนและสารประกอบแอลคีน เวลา 4 ช่ัวโมง
วิธีสอนแบบเนน้ มโนทัศน์ (Concept-Based Instruction) เวลา 4 ชว่ั โมง
เวลา 6 ชั่วโมง
• แผนฯ ที่ 5 : สารประกอบแอลไคนแ์ ละอะโรมาติกไฮโดรคารบ์ อน เวลา 2 ชัว่ โมง
วธิ สี อนแบบเน้นมโนทศั น์ (Concept-Based Instruction) เวลา 2 ชั่วโมง
เวลา 4 ชั่วโมง
• แผนฯ ที่ 6 : แอลกอฮอล์ ฟีนอล และอเี ทอร์
วิธีสอน 5Es Instructional Model

• แผนฯ ที่ 7 : แอลดีไฮด์และคโี ตน
วิธีสอน 5Es Instructional Model

• แผนฯ ท่ี 8 : กรดคาร์บอกซิลิกและเอสเทอร์
วิธสี อน 5Es Instructional Model

• แผนฯ ที่ 9 : เอมีน
วิธีสอนแบบนริ นัย (Deductive Method)

• แผนฯ ที่ 10 : เอไมด์
วธิ สี อน 5Es Instructional Model

• แผนฯ ที่ 11 : การใช้ประโยชนข์ องสารประกอบอนิ ทรีย์
วธิ สี อนแบบเนน้ มโนทศั น์ (Concept-Based Instruction)

(รวมเวลา 40 ชั่วโมง)
8. สอ่ื /แหล่งการเรยี นรู้

8.1 สื่อการเรียนรู้
1) หนังสือเรียน รายวชิ าเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เคมี ม.6 เลม่ 1 หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 1 เคมี

อินทรีย์
2) หนังสอื แบบฝึกหดั รายวชิ าเพ่ิมเติมวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี เคมี ม.6 เล่ม 1 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่

1 เคมอี ินทรยี ์
3) แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 เคมีอนิ ทรีย์
4) แบบทดสอบหลงั เรยี น หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 1 เคมีอินทรียื
5) ใบงานที่ 1.1 เร่ือง สูตรโครงสร้างของสารประกอบอินทรยี ์
6) ใบงานที่ 1.2 เรื่อง การเขียนสูตรโครงสร้างของสารประกอบอินทรีย์
8) ใบงานท่ี 1.3 เรื่อง หมู่ฟังก์ชนั
9) ใบงานท่ี 1.4 เร่ือง สารประกอบแอลเคน
10) ใบงานที่ 1.5 เร่ือง สารประกอบแอลคีน
11) ใบงานท่ี 1.6 เรื่อง แอลกอฮอล์ ฟนี อล และอีเทอร์
12) ใบงานท่ี 1.7 เรื่อง แอลดีไฮด์และคโี ตน
13) ใบงานที่ 1.8 เรื่อง กรดคาร์บอกซลิ ิกและเอสเทอร์
14) ใบงานท่ี 1.9 เรื่อง เอมีน

25

15) ใบงานที่ 1.10 เรอื่ ง เอไมด์
16) ใบงานท่ี 1.11 เรอื่ ง การใชป้ ระโยชน์ของสารประกอบอินทรยี ์
17) PowerPoint เร่ือง สารประกอบอินทรีย์
8.2 แหล่งการเรียนรู้
1) หอ้ งสมดุ
2) หอ้ งปฏิบัติการทางวทิ ยาศาสตร์
3) แหลง่ ขอ้ มูลสารสนเทศ

26

แบบทดสอบก่อนเรยี น
หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 1

คำช้แี จง : ให้นักเรยี นเลือกคำตอบที่ถูกต้องท่ีสุดเพียงข้อเดียว

1. สารในข้อใดไม่ใชส่ ารประกอบอินทรยี ์ 7. ข้อใดเรยี กช่ือสารตอ่ ไปนี้ได้ถูกต้อง

1. เพชร 2. น้ำตาล

3. น้ำส้มสายชู 4. นำ้ ยาล้างเลบ็

5. แอลกอฮอล์ลา้ งแผล

2. สารประกอบประเภทใดทมี่ ีพันธะระหว่าง

คาร์บอนเป็นพันธะเดยี่ วทั้งหมด 1. 5–ไดเมทิล–2-เฮกซีน

1. แอลคีน 2. แอลเคน 2. 2–ไดเมทลิ –4–เฮกซีน

3. แอลไคน์ 4. ไซโคลแอลคีน 3. 5,5–ไดเมทลิ –2-เฮกซีน

5. อะโรมาติกไฮโดรคารบ์ อน 4. 2,2–ไดเมทิล–5–เฮกซีน

3. ขอ้ ใดคอื หมู่ฟงั ก์ชันของสารประกอบแอลกอฮอล์ 5. 2,2–ไดเมทลิ –4–เฮกซีน

1. แอลคอกซี 2. ไฮดรอกซิล 8. ข้อใดคือโครงสร้างของสาร 4–เมทิล–2–เพน

3. คาร์บอกซลิ 4. คาร์บอกซาลดีไฮด์ ไทน์

5. แอลคอกซคี ารบ์ อนลิ 1.

4. สาร CH3CH2NH2 ประกอบด้วยหมูฟ่ ังกช์ ันใด

1. เอไมด์ 2. อะมิโน 2.

3. คารบ์ อนลิ 4. คาร์บอกซิล 3.

5. คาร์บอกซาลดไี ฮด์

5. สารประกอบแอลเคน เมื่อมีจำนวนอะตอมของ 4.

คาร์บอนเพมิ่ ขึ้น จะสง่ ผลตอ่ จุดเดอื ดและจดุ 5.

หลอมเหลวอย่างไร

1. จดุ เดอื ดและจุดหลอมเหลวสูงข้นึ กำหนดสารประกอบอนิ ทรยี ต์ ่อไปนี้ สำหรบั คำถาม

2. จุดเดอื ดและจดุ หลอมเหลวลดลง ข้อ 9. และขอ้ 10.

3. จดุ เดอื ดสูงขน้ึ จดุ หลอมเหลวลดลง ก. ข. ค.

4. จุดเดือดลดลง จุดหลอมเหลวสงู ข้ึน

5. จุดเดือดและจุดหลอมเหลวมคี า่ เทา่ เดิม ง.

6. จากปฏกิ ริ ยิ าดงั ภาพ คือ ปฏกิ ิริยาใด

9. สารประกอบอินทรียใ์ ดมีจุดเดือดสูงสุด

1. ข้อ ก. 2. ข้อ ข. 3. ขอ้ ค.

4. ขอ้ ง. 5. ข้อ ก. และข้อ ข.

10. สารประกอบในข้อ ข. เรยี กช่อื ได้อยา่ งไร

1. แฮโลจเี นชัน 2. ไฮโดรจีเนชัน 1. เอทานอล 2. เอทานาล

3. ไฮเดรชนั 4. ไฮโดรแฮโลจีเนชนั 3. บวิ ทาโนน 4. โพรพาโนน

5. ออกซเิ ดชนั 5. 2-เพนทาโนน

เฉลย 1. 1 2. 2 3. 2 4. 2 5. 1 6. 2 7. 3 8. 1 9. 1 10. 4

27

แบบทดสอบหลงั เรียน

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1

คำช้ีแจง : ใหน้ ักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว

1. สารประกอบประเภทใดที่มีพันธะระหวา่ ง 7. ขอ้ ใดเรียกชือ่ สารตอ่ ไปน้ีได้ถกู ต้อง

คารบ์ อนเปน็ พนั ธะเดย่ี วทั้งหมด

1. แอลคีน 2. แอลเคน 3. แอลไคน์

4. ไซโคลแอลคีน 5. อะโรมาติกไฮโดรคารบ์ อน

2. สารในขอ้ ใดไม่ใชส่ ารประกอบอนิ ทรยี ์ 1. 5–ไดเมทลิ –2-เฮกซีน

1. เพชร 2. น้ำตาล 2. 2–ไดเมทลิ –4–เฮกซนี

3. นำ้ ส้มสายชู 4. นำ้ ยาล้างเล็บ 3. 5,5– ไดเมทิล–2-เฮกซีน

5. แอลกอฮอล์ล้างแผล 4. 2,2–ไดเมทลิ –5–เฮกซีน

3. สาร CH3CH2NH2 ประกอบด้วยหมูฟ่ ังก์ชันใด 5. 2,2–ไดเมทิล–4–เฮกซีน

1. เอไมด์ 2. อะมโิ น 8. ข้อใดคือโครงสรา้ งของสาร 4–เมทิล–2–เพน

3. คาร์บอนิล 4. คาร์บอกซลิ ไทน์

5. คาร์บอกซาลดไี ฮด์ 1.

4. สารประกอบแอลเคน เม่ือมจี ำนวนอะตอมของ

คารบ์ อนเพ่ิมข้นึ จะสง่ ผลตอ่ จุดเดอื ดและจดุ 2.

หลอมเหลวอยา่ งไร 3.

1. จดุ เดอื ดและจดุ หลอมเหลวสงู ข้ึน

2. จุดเดือดและจดุ หลอมเหลวลดลง 4.

3. จุดเดอื ดสูงข้นึ จดุ หลอมเหลวลดลง 5.

4. จดุ เดอื ดลดลง จดุ หลอมเหลวสูงขนึ้

5. จดุ เดือดและจดุ หลอมเหลวมีค่าเทา่ เดิม 9. ข้อใดคอื หมู่ฟงั กช์ ันของสารประกอบแอลกอฮอล์

กำหนดสารประกอบอนิ ทรีย์ต่อไปน้ี สำหรับคำถาม 1. แอลคอกซี 2. ไฮดรอกซิล

ขอ้ 5. และข้อ 6. 3. คาร์บอกซิล 4. คารบ์ อกซาลดไี ฮด์

ก. ข. ค. 5. แอลคอกซีคาร์บอนลิ

10.จากปฏกิ ริ ิยาดงั ภาพ คอื ปฏกิ ิรยิ าใด

ง.

5. สารประกอบอนิ ทรยี ์ใดมจี ุดเดอื ดสูงสุด

1. ข้อ ก. 2. ขอ้ ข. 3. ขอ้ ค.

4. ข้อ ง. 5. ข้อ ก. และข้อ ข.

6. สารประกอบในข้อ ข. เรียกชอ่ื ได้อยา่ งไร 1. แฮโลจีเนชัน 2. ไฮโดรจีเนชนั
3. ไฮเดรชนั 4. ไฮโดรแฮโลจีเนชนั
1. เอทานอล 2. เอทานาล 5. ออกซเิ ดชนั

3. บวิ ทาโนน 4. โพรพาโนน

5. 2-เพนทาโนน

เฉลย 1. 2 2. 1 3. 2 4. 1 5. 1 6. 4 7. 3 8. 1 9. 2 10. 2

28

แบบประเมนิ การปฏิบัตกิ าร แผนฯ ท่ี 2, 3 และ 8

คำชีแ้ จง : ให้ผู้สอนประเมินการปฏิบตั กิ ารของนักเรียนตามรายการที่กำหนด แล้วขดี ✓ ลงในชอ่ งท่ตี รงกับ
ระดบั คะแนน

ลำดับที่ รายการประเมิน 4 ระดบั คะแนน 1
รวม 32

1 การออกแบบการทดลอง
2 การดำเนนิ การทดลอง
3 การนำเสนอ

ลงช่ือ ................................................... ผปู้ ระเมนิ
................./................/...............

29

เกณฑก์ ารประเมินการปฏบิ ตั ิการ

ประเดน็ ท่ี ระดับคะแนน

ประเมิน 4 3 2 1

1. การออกแบบ เขา้ ใจปัญหาตัง้ สมมติฐาน เข้าใจปัญหาตงั้ สมมตฐิ าน เข้าใจปญั หาตัง้ สมมติฐาน เข้าใจปญั หาตัง้ สมมตฐิ าน
การทดลอง ไดส้ อดคลอ้ งกับปญั หา ไดถ้ ูกตอ้ ง ออกแบบการ ไดถ้ ูกต้อง ออกแบบการ ไดถ้ ูกต้อง ต้องอาศัยการ
ทดลองและใชเ้ ทคนิควธิ ี ทดลองและใชเ้ ทคนิควธิ ี แนะนำในการออกแบบ
ออกแบบการทดลองและ ถูกตอ้ ง ยงั ไมถ่ กู ตอ้ ง การทดลอง

ใช้เทคนิควิธถี ูกต้อง

แสดงถึงความคิดรเิ รมิ่

2. การ การดำเนนิ การทดลอง การดำเนินการทดลอง การดำเนินการทดลอง การดำเนินการทดลอง
ดำเนนิ การ มขี ้ันตอนครบถว้ นถูกต้อง มขี น้ั ตอนครบถว้ นถกู ตอ้ ง มขี ้นั ตอนถกู ต้องเป็นส่วน ไม่ถูกตอ้ งเป็นสว่ นใหญ่
ทดลอง มกี ารทำซ้ำ และการเก็บ แต่ไมม่ ีการทำซ้ำ และการ ใหญ่ และการเก็บข้อมลู และการเก็บขอ้ มูล
ขอ้ มูลได้ละเอียดรอบคอบ เกบ็ ข้อมลู ได้ครบถ้วน ได้ครบถ้วนตามท่ตี ้องการ ไมค่ รบถว้ น
3. การนำเสนอ ครบถว้ นตามทต่ี อ้ งการ ตามท่ีต้องการ

เหมาะสมกับลักษณะของ นำเสนอขอ้ มลู ถกู ตอ้ ง นำเสนอข้อมูลถูกตอ้ ง นำเสนอข้อมลู ถูกตอ้ ง
ขอ้ มูล แสดงถงึ ความคดิ ครบถ้วน วเิ คราะหข์ อ้ มลู วิเคราะหข์ อ้ มลู ได้ครบถว้ น วเิ คราะห์ข้อมูล
สรา้ งสรรคใ์ นการนำเสนอ ได้ครบถ้วน สรปุ ผลการ นำเสนอผลการทดลอง ไมค่ รบถ้วน สรปุ ผลการ
วเิ คราะหข์ อ้ มูลได้ ทดลองถูกต้อง มีการนำ ถูกตอ้ ง ทดลองไมถ่ กู ต้อง
ครบถว้ นเหมาะสม เหตุผลและความรมู้ า
สรุปผลการทดลองถูกต้อง อ้างองิ ประกอบการ
มกี ารนำเหตผุ ลและ สรุปผลการทดลอง
ความรู้มาอ้างองิ
ประกอบการสรปุ

เกณฑ์การตดั สินคณุ ภาพ

ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ

11-12 ดีมาก

9-10 ดี

6-8 พอใช้

ตำ่ กวา่ 6 ปรับปรงุ

30

แบบประเมนิ ช้นิ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) แผนฯ ท่ี 2-3 และ 5-10

แบบประเมนิ ผังมโนทัศน์/แผน่ พบั

คำชีแ้ จง : ใหผ้ ู้สอนประเมนิ ช้ินงาน/ภาระงานของนักเรียนตามรายการทีก่ ำหนด แลว้ ขดี ✓ ลงในช่องที่ตรง
กับระดับคะแนน

ลำดบั ท่ี รายการประเมิน ระดบั คะแนน
4321
1 ความสอดคล้องกบั จดุ ประสงค์
2 ความถูกตอ้ งของเนอื้ หา รวม
3 ความคดิ สร้างสรรค์
4 ความตรงต่อเวลา

ลงชื่อ ................................................... ผปู้ ระเมนิ
................./................../..................

เกณฑก์ ารประเมนิ ผังมโนทัศน์/แผน่ พับ

ประเดน็ ท่ีประเมนิ 4 ระดับคะแนน 1
32 ผลงานไมส่ อดคล้องกบั
1. ความ ผลงานสอดคล้องกบั ผลงานสอดคลอ้ งกบั ผลงานสอดคล้องกับ จุดประสงค์
สอดคล้องกบั จดุ ประสงคท์ ุกประเด็น จุดประสงคเ์ ปน็ สว่ น จุดประสงค์บางประเดน็
จดุ ประสงค์ ใหญ่

2. ความถูกตอ้ ง เน้อื หาสาระของผลงาน เน้อื หาสาระของผลงาน เน้อื หาสาระของผลงาน เนอื้ หาสาระของผลงาน
ของเนอื้ หา ถกู ตอ้ งครบถ้วน ถูกตอ้ งเป็นสว่ นใหญ่ ถกู ตอ้ งบางประเด็น ไม่ถกู ต้องเปน็ สว่ นใหญ่

3. ความคดิ ผลงานแสดงถงึ ความคิด ผลงานแสดงถึงความคดิ ผลงานมคี วามน่าสนใจ ผลงานไมม่ คี วาม
สร้างสรรค์ สรา้ งสรรค์ แปลกใหม่ สร้างสรรค์ แปลกใหม่ แต่ยงั ไมม่ แี นวคดิ แปลก นา่ สนใจ และไมแ่ สดง
และเปน็ ระบบ แตย่ ังไมเ่ ปน็ ระบบ ใหม่ ถึงแนวคิดแปลกใหม่
4. ความตรงต่อ ส่งชิ้นงานช้ากว่าเวลาที่
เวลา สง่ ช้ินงานภายในเวลาที่ สง่ ช้ินงานช้ากว่าเวลาท่ี ส่งชน้ิ งานชา้ กว่าเวลาที่ กำหนด 3 วันขึน้ ไป
กำหนด กำหนด 1 วัน กำหนด 2 วนั

เกณฑ์การตดั สินคุณภาพ

ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ

14-16 ดมี าก

11-13 ดี

8-10 พอใช้

ตำ่ กว่า 8 ปรับปรุง

31

แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบุคคล

คำชแี้ จง : ให้ผู้สอนสงั เกตพฤตกิ รรมของนักเรยี นในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขดี ✓ลงในชอ่ งที่

ตรงกับระดบั คะแนน

ลำดับที่ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน 1
32

1 การแสดงความคิดเหน็  

2 การยอมรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของผู้อนื่  

3 การทำงานตามหน้าที่ท่ไี ดร้ ับมอบหมาย  

4 ความมีนำ้ ใจ  

5 การตรงต่อเวลา  

รวม

เกณฑก์ ารให้คะแนน ลงช่ือ ................................................... ผปู้ ระเมิน
ปฏิบัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมอย่างสมำ่ เสมอ ............/.................../................
ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมบ่อยคร้ัง
ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมบางครัง้ ให้ 3 คะแนน
ให้ 2 คะแนน
ให้ 1 คะแนน

เกณฑก์ ารตัดสนิ คุณภาพ

ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ

14–15 ดมี าก

11–13 ดี

8–10 พอใช้

ต่ำกวา่ 8 ปรบั ปรงุ

32

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกล่มุ

คำช้ีแจง : ใหผ้ สู้ อนสังเกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรยี น แล้วขีด ✓ลงในช่องท่ี
ตรงกับระดับคะแนน

ลำดับท่ี ชอ่ื –สกลุ การแสดง การยอมรับ การทำงาน ความมี การมี รวม
ของนักเรียน ความ ฟงั คนอนื่ ตามท่ไี ดร้ ับ นำ้ ใจ ส่วนร่วมใน 15
คิดเหน็ มอบหมาย คะแนน
การ
ปรบั ปรงุ
ผลงานกลุ่ม

321321321321321

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ลงชือ่ ................................................... ผูป้ ระเมนิ
ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ............./.................../...............
ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมบ่อยคร้ัง
ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤติกรรมบางครัง้ ให้ 3 คะแนน
ให้ 2 คะแนน
ให้ 1 คะแนน

เกณฑ์การตดั สนิ คุณภาพ

ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ

14–15 ดมี าก

11–13 ดี

8–10 พอใช้

ตำ่ กวา่ 8 ปรบั ปรงุ

33

แบบประเมินคุณลักษณะอนั พึงประสงค์

คำชแี้ จง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขดี ✓ลงในชอ่ งท่ี

ตรงกับระดบั คะแนน

คุณลกั ษณะ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน
อนั พึงประสงค์ดา้ น 321

1. รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ 1.1 ยนื ตรงเคารพธงชาติ และร้องเพลงชาตไิ ด้

1.2 เขา้ ร่วมกจิ กรรมท่ีสรา้ งความสามคั คปี รองดอง และเปน็ ประโยชน์

ต่อโรงเรยี น

1.3 เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาทีต่ นนับถือ ปฏบิ ัตติ ามหลกั ศาสนา

1.4 เข้าร่วมกิจกรรมทเี่ ก่ยี วกับสถาบันพระมหากษัตริย์ตามที่โรงเรียนจดั ขนึ้

2. ซอื่ สัตย์ สจุ ริต 2.1 ให้ข้อมลู ทถี่ ูกต้องและเปน็ จริง

2.2 ปฏิบัตใิ นสิ่งที่ถูกต้อง

3. มีวนิ ยั รับผดิ ชอบ 3.1 ปฏิบตั ติ ามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ข้อบังคบั ของครอบครัว

มคี วามตรงต่อเวลาในการปฏิบตั ิกจิ กรรมต่าง ๆ ในชวี ติ ประจำวัน

4. ใฝเ่ รียนรู้ 4.1 รู้จักใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ ป็นประโยชน์ และนำไปปฏิบตั ไิ ด้

4.2 รจู้ ักจัดสรรเวลาใหเ้ หมาะสม

4.3 เชอ่ื ฟังคำส่งั สอนของบดิ า-มารดา โดยไม่โต้แย้ง

4.4 ตงั้ ใจเรียน

5. อยอู่ ย่างพอเพยี ง 5.1 ใชท้ รพั ย์สินและสง่ิ ของของโรงเรียนอย่างประหยัด

5.2 ใช้อปุ กรณก์ ารเรยี นอย่างประหยดั และรคู้ ุณค่า

5.3 ใช้จา่ ยอยา่ งประหยดั และมกี ารเก็บออมเงิน

6. มุ่งมนั่ ในการทำงาน 6.1 มคี วามตั้งใจและพยายามในการทำงานทไี่ ด้รบั มอบหมาย

6.2 มคี วามอดทนและไม่ทอ้ แทต้ อ่ อุปสรรคเพือ่ ให้งานสำเรจ็

7. รกั ความเป็นไทย 7.1 มีจติ สำนึกในการอนุรักษว์ ัฒนธรรมและภมู ปิ ญั ญาไทย

7.2 เห็นคณุ คา่ และปฏบิ ตั ิตนตามวฒั นธรรมไทย

8. มีจติ สาธารณะ 8.1 ร้จู กั ช่วยพอ่ แม่ ผู้ปกครอง และครทู ำงาน

8.2 รู้จักการดูแลรกั ษาทรพั ยส์ มบตั ิและสิง่ แวดล้อมของห้องเรียนและโรงเรียน

ลงช่ือ .................................................. ผู้ประเมนิ
............/.................../................

เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 3 คะแนน เกณฑก์ ารตัดสนิ คุณภาพ ระดบั คุณภาพ
พฤติกรรมทีป่ ฏบิ ัตชิ ดั เจนและสม่ำเสมอ ให้ 2 คะแนน ดมี าก
พฤติกรรมทป่ี ฏบิ ัติชดั เจนและบ่อยคร้งั ให้ 1 คะแนน ช่วงคะแนน ดี
พฤติกรรมทปี่ ฏบิ ัติบางคร้ัง 51–60 พอใช้
41–50 ปรับปรงุ
30–40
ตำ่ กวา่ 30

34

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 1

กล่มุ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชาเคมี รหัสวิชา ว30225

หน่วยท่ี 1 เรื่อง เคมีอนิ ทรีย์ เรือ่ ง พนั ธะและการเขยี นสตู รโครงสร้างของสารประกอบอนิ ทรยี ์

เวลา 3 ช่ัวโมง

***********************************************************************************************

กำหนดการใชแ้ ผนการสอน รายการนิเทศตรวจสอบ

สัปดาหท์ ่ี 1

จำนวนคาบ 3 คาบ ……………………………………………….……………………………

ใชส้ อนคาบท่ี 1 – 3 ……………………………………………………………………………

วัน / เดอื น / ปี 14 – 18 มิ.ย. 64 ……………………………………………………………………………

ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 6/1

ลงช่ือ………………………… ลงช่อื …………………………

(นางสาวมยุลี นันดี) (นางสายทิพย์ ทิพยร์ ักษ)์

ผู้จดั ทำ / ผใู้ ช้แผน หวั หน้ากลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ฯ

รายการตรวจสอบและกลน่ั กรอง

…………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………
…………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………
……………………………………..…..………………………… ……………………...……………………………………………………

ลงชือ่ ………………………… ลงช่อื …………………..………
(นางธณต เลิศล้ำ) (นายชยั วฒั น์ สุมี)

หัวหน้างานพฒั นากระบวนการเรียนรู้ รองผู้อำนวยการสถานศึกษา ฝา่ ยบริหารวิชาการ

การพิจารณา/อนุมตั ิ / สง่ั การ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงช่อื …………………….………………
(นางสาวนฤมล วิทยาวุฒิรัตน์)
รองผอู้ ำนวยการสถานศึกษา รักษาราชการแทน
ผ้อู ำนวยการสถานศึกษา โรงเรยี นหนองยางพทิ ยาคม

35

แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 1

กลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รายวชิ าเคมี รหัสวิชา ว30225

หนว่ ยท่ี 1 เรอื่ ง เคมีอนิ ทรยี ์ เร่อื ง พนั ธะและการเขยี นสตู รโครงสร้างของสารประกอบอนิ ทรีย์

เวลา 3 ชั่วโมง

***********************************************************************************************

1. ผลการเรยี นรู้

1. สบื ค้นขอ้ มลู และนำเสนอตัวอยา่ งสารประกอบอินทรีย์ที่มพี นั ธะเด่ยี ว พันธะคู่ หรอื พันธะสาม ทพี่ บใน

ชวี ติ ประจำวนั

2. เขยี นสตู รโครงสรา้ งลิวอิส สตู รโครงสรา้ งแบบยอ่ และสตู รโครงสร้างแบบเสน้ ของสารประกอบอนิ ทรีย์

2. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. อธบิ ายการเกิดพันธะของคาร์บอนและธาตุชนิดอ่ืนได้ (K)
2. เขียนสูตรโครงสร้างลิวอิส สูตรโครงสร้างแบบย่อ และสูตรโครงสร้างแบบเส้นของสารประกอบอินทรีย์

ได้ (P)
3. ต้งั ใจเรยี นร้แู ละแสวงหาความรู้ (A)

3. สาระการเรยี นรู้
- สารประกอบอินทรีย์เป็นสารประกอบของคาร์บอน ส่วนใหญ่พบในส่ิงมีชีวิต มีโครงสร้างหลากหลาย

และแบ่งได้หลายประเภท เน่ืองจากธาตุคาร์บอนสามารถเกิดพันธะโคเวเลนต์กับธาตุคาร์บอนด้วยพันธะเด่ียว
พันธะคู่ พันธะสาม นอกจากนี้ยังสามารถเกิดพันธะโคเวเลนต์กับธาตุอ่ืน ๆ ได้อีกด้ว ย และมีการนำ
สารประกอบอนิ ทรีย์ไปใชป้ ระโยชนอ์ ย่างหลากหลาย

- โครงสรา้ งของสารประกอบอนิ ทรยี ์แสดงได้ดว้ ยสตู รโครงสรา้ งลวิ อสิ สตู รโครงสร้างแบบยอ่ หรือสตู ร
โครงสร้างแบบเส้น

4. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด
สารประกอบอินทรีย์ คือ สารประกอบท่ีมีธาตุคาร์บอนเป็นองค์ประกอบ ส่วนใหญ่พบในสิ่งมีชีวิต มี

โครงสร้างหลากหลายและแบ่งได้หลายประเภท เน่ืองจากธาตุคาร์บอนสามารถเกิดพันธะโคเวเลนต์กับธาตุ
คาร์บอนด้วยพันธะเดี่ยว พันธะคู่ พันธะสาม และยังสามารถเกิดพันธะโคเวเลนต์กับธาตุอ่ืน ๆ ได้ เช่น
ไนโตรเจน ออกซเิ จน กำมะถนั ฟอสฟอรสั

การเขยี นสูตรของสารประกอบอนิ ทรยี ์ อาจเขยี นเปน็ สตู รโมเลกลุ สตู รโครงสร้างลวิ อิส สูตร โค ร ง ส ร้ า ง
แบบยอ่ และสตู รโครงสร้างแบบเสน้ และมุม

36

5. สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รยี นและคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์

สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์

1. ความสามารถในการส่ือสาร 1. มวี นิ ัย

2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝ่เรียนรู้

1) ทกั ษะการสงั เกต 3. มุง่ ม่ันในการทำงาน

2) ทักษะการสำรวจคน้ หา

3) ทกั ษะการวิเคราะห์

4) ทักษะการลงความเหน็ จากข้อมลู

5) ทกั ษะการตคี วามหมายและลงขอ้ สรุป

3. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

6. กิจกรรมการเรยี นรู้
 แนวคิด/รปู แบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนคิ : แบบเนน้ มโนทัศน์ (Concept Based Teaching)

ชัว่ โมงที่ 1

ขน้ั นำ

การใช้ความร้เู ดมิ เช่ือมโยงความรใู้ หม่ (Prior Knowledge)
1. นกั เรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 1 เคมีอินทรีย์
2. นกั เรียนทำ Check For Understanding จากหนงั สือเรียนรายวชิ าเพิ่มเติมวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เคมี ม.6 เลม่ 1 เพอ่ื ตรวจสอบความเข้าใจของตนเองก่อนเรยี น
3. ครูทบทวนความรู้เดิมของนักเรียน โดยให้นักเรียนจับคู่รูปภาพของธาตุที่สามารถสรา้ งพันธะโคเวเลนต์

ได้ และนำรปู ภาพไปตดิ บนกระดาน พร้อมทั้งบอกว่าเกิดพนั ธะเดี่ยว พันธะคู่ หรอื พันธะสาม
4. ครูถามคำถามต่อว่า นักเรียนคิดว่า สารประกอบอินทรีย์เก่ียวข้องกับการสร้างพันธะของธาตุคาร์บอน

อย่างไร
(แนวตอบ สารประกอบอนิ ทรีย์ เปน็ สารประกอบที่มีธาตุคารบ์ อนเป็นองค์ประกอบ และธาตุคาร์บอน

สามารถเกิดพนั ธะโคเวเลนต์ได้กับธาตคุ าร์บอนหรือธาตุอน่ื ๆ เชน่ ธาตุไฮโดรเจน ธาตุไนโตรเจน)
5. ครูถามคำถาม Big Question เพื่อกระตุ้นความสนใจของนักเรียนว่า น้ำส้มสายชูแท้กับน้ำส้มชายชู

ปลอมแตกต่างกนั อยา่ งไร
(แนวตอบ น้ำส้มสายชแู ท้มีกรดแอซตี ิก (CH3COOH) เป็นองคป์ ระกอบ ซ่ึงกรดแอซตี ิกจดั เป็นสารประ

กออินทรีย์ ประเภทกรดคาร์บอกซิลิก เนื่องจากประกอบด้วยธาตุคาร์บอน ธาตุไฮโดรเจน และธาตุออกซิเจน
ส่วนน้ำส้มสายชูปลอมจะมีกรดซัลฟิวริก (H2SO4) หรือกรดไฮโดรคลอริก (HCl) เป็นองค์ประกอบ ซ่ึงกรด
ซัลฟิวริกและกรดไฮโดรคลอริกจัดเป็นสารประกอบอนินทรีย์ เนื่องจากกรดซัลฟิวริกประกอบด้วยธาตุ
ไฮโดรเจน ธาตุออกซิเจนและกำมะถนั สว่ นกรดไฮโดรคลอรกิ ประกอบดว้ ยธาตไุ ฮโดรเจนและธาตุคลอรนี )

6. ถามคำถาม Key Question จากหนังสือเรียนเคมี ม.6 เล่ม 1 เพ่ือนำเข้าสู่บทเรียนว่า สารประกอบ
อนิ ทรีย์คืออะไร และส่งิ ใดใชร้ ะบปุ ระเภทของสารประกอบอินทรีย์

37

(แนวตอบ สารประกอบอินทรยี ์ คอื สารประกอบท่ีมีธาตุคารบ์ อนเปน็ องค์ประกอบหลกั และประเภท
ของสารประกอบอินทรีย์ระบุได้จากหมู่ฟังก์ชัน เช่น หมู่ฟังก์ชันไฮดรอกซิล (-OH) เป็นประเภทของ
สารประกอบแอลกอฮอล์)

ช่วั โมงที่ 2

ขัน้ สอน

รู้ (Knowing)
1. ครูเตรยี มรูปภาพสารเคมตี ่าง ๆ ในชีวติ ประจำวนั ทัง้ ที่เป็นสารประกอบอินทรยี แ์ ละสารประกอบอนินท

รีย์ เช่น แอลกอฮอล์ล้างแผล น้ำส้มสายชู น้ำยาล้างห้องน้ำ สบู่ น้ำมันพืช เกลือแกง ด่างทับทิม แล้วให้
นกั เรียนระบุว่า สารใดเป็นสารประกอบอินทรีย์ และสารใดเปน็ สารประกอบอนินทรีย์

2. เม่ือนักเรียนสามารถระบุได้ว่าสารประกอบอินทรีย์มีลักษณะอยา่ งไร ครูให้นักเรยี นดูรูปภาพโครงสร้าง
ของสารประกอบอินทรีย์แต่ละประเภท แล้วให้นักเรียนศึกษาความแตกต่างของโครงสร้างของสารประกอบ
อินทรีย์จากหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เคมี ม.6 เล่ม 1 หรือจาก PowerPoint
เรื่อง สารประกอบอนิ ทรยี ์

3. นักเรียนร่วมกนั วเิ คราะห์และสรปุ ความแตกต่างของโครงสรา้ งของสารประกอบอนิ ทรยี ์แตล่ ะประเภท

เขา้ ใจ (Understanding)
4. นกั เรยี นรว่ มกันสำรวจและยกตวั อยา่ งสารประกอบอนิ ทรีย์ทีม่ ีพันธะเด่ียว พันธะคู่ และพันธะสาม ท่พี บ

ในชีวิตประจำวัน และบอกสูตรโครงสร้างแบบลิวอิส สูตรโครงสร้างแบบย่อ และสูตรโครงสร้างแบบเส้นและ
มุม

5. ถามคำถามว่า C6H14 สามารถเขียนสูตรโครงสร้างลิวอิส สูตรโครงสร้างแบบย่อ สูตรโครงสร้างแบบ
เสน้ และมมุ ได้อยา่ งไร

(แนวตอบ สตู รโครงสร้างลวิ อิสเปน็ ดงั นี้

สูตรโครงสร้างแบบยอ่ เป็น ดังนี้
CH3(CH2)4CH3

สูตรโครงสรา้ งแบบเสน้ และมุมเปน็ ดงั นี้

6. นักเรียนกลุ่มเดิมร่วมกันทำกิจกรรม Extra Activity เร่ือง การจัดเรียงโครงสร้างของสารประกอบ
อนิ ทรีย์ โดยศึกษาวิธีการทำกิจกรรมในหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เคมี ม.6 เล่ม
1 หน้า 9 แล้วให้นักเรียนสุ่มจับสลากสารประกอบอินทรีย์ข้ึนมาคนละ 2 ชนิด แล้วให้นักเรียนบอกสูตร
โครงสร้างแบบย่อ สูตรโครงสรา้ งลิวอิส สูตรโครงสรา้ งแบบเส้นและมุม พร้อมท้ังต่อแบบจำลองโมเลกุล 3 มิติ
แล้วบันทกึ ลงในใบงานท่ี 1.1 เรอื่ ง สูตรโครงสรา้ งของสารประกอบอินทรยี ์

38

7. นักเรียนตรวจสอบความถูกต้องของการทำกิจกรรมผ่านการใช้ QR Code เร่ือง สูตรโครงสร้างของ
สารประกอบอินทรีย์

8. นกั เรียนทำใบงานที่ 1.2 เรอื่ ง การเขียนสตู รโครงสรา้ งของสารประกอบอินทรีย์
9. นกั เรยี นทำแบบฝกึ หัดในแบบฝกึ หดั รายวิชาเพม่ิ เติมวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี เคมี ม.6 เลม่ 1

ลงมือทำ (Doing)

10. นักเรียนจับคู่กับเพื่อนที่นั่งข้างกัน แล้วสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับสารประกอบอินทรีย์ที่พบใน

ชีวิตประจำวนั จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เช่น อินเทอรเ์ น็ต หนังสือในห้องสมุด พร้อมท้งั เขยี นสูตรโครงสร้างของ