แผนการ สอน เคมี ม. 5 หลักสูตร ใหม่ doc

การออกแบบการจัดการเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชาเคมี 4 รหสั วชิ า ว 32204 ระดับชั้น มัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 จัดทำโดย นางสาวกานดา วฒุ ิเศลา ตำแหนง่ ครูผู้ช่วย โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 ตำบลชา่ งเคิง่ อำเภอแมแ่ จ่ม จังหวัดเชยี งใหม่ สำนกั บริหารงานการศกึ ษาพิเศษ สำนักงานการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

วิเคราะหห์ น่วยการเรียนรู้ ชื่อวชิ า เคมี 4 รหสั วชิ า ว 32204 1.5 หนว่ ยกิต ระดับชั้น มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2563 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ชอ่ื แผนการจัดการเรยี นรู้ จำนวน นำ้ หนกั คะแนน ช่ัวโมง (ในการประเมนิ ) 10 กรด-เบส (30) 50 1. ทฤษฎีกรด-เบส 25 2. คกู่ รด-เบส 15 3. การแตกตวั ของกรด เบส และนำ้ 4 7 4. สมบตั ิของกรด-เบสของเกลือ 25 5. pH ของสารละลายกรดและเบส 4 5 6. ปฏกิ ริ ยิ าเคมีระหวา่ งกรดและเบส 2 5 7. การไทเทรตกรก-เบส 10 10 8. สารละลายบัฟเฟอร์ 35 9. การประยกุ ต์ใชค้ วามรูเ้ กย่ี วกับกรด-เบส 2 3 11 เคมีไฟฟา้ (30) 50 10 1. เลขออกชเิ ดชนั และปฏิกิริยารดี อกซ์ 6 2. การดุลสมการรดี อกซ์ 6 10 3. เซลลเ์ คมไี ฟฟ้า 9 13 4. ประโยชนข์ องเซลล์เคมไี ฟฟา้ 6 10 5. เทคโยโลยีท่เี กีย่ วข้องกับเคมไี ฟฟา้ 3 7 รวม 60 100

คำอธิบายรายวิชา รายวชิ า เคมี 4 รหัสวิชา ว 32204 ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5 ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563 เวลา 60 ช่วั โมง จำนวน 1.5 หนว่ ยกิต คำอธบิ ายรายวิชา ศกึ ษา ทฤษฎีกรด-เบสของอารเ์ รเนยี ส เบรนิ สเตด–ลาวรี และ ลวิ อิส ความแรงของกรดหรือเบส รอ้ ย ละการแตกตัว ค่า pH ปฏิกิริยาสะเทินระหว่างกรดกบั เบส ปฏิกิริยาไฮโดรไลซิสของเกลือ การไทเทรตกรด- เบส อินดิเคเตอร์สำหรับกรด-เบส สารละลายบัฟเฟอร์ การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับกรด-เบส ใน ชีวิตประจำวัน ปฏิกิริยารีดอกซ์ ตัวรีดิวซ์ ตัวออกซิไดส์ การดุลสมการรีดอกซ์ แผนภาพเซลล์ ค่าศักย์ไฟฟ้า มาตรฐานของเซลล์กัลวานิก การประยุกต์เซลล์กัลวานิกในชีวิตประจำวัน เซลล์อิเล็กโทรลิติกและการ ประยกุ ต์ใชเ้ ซลลอ์ เิ ล็กโทรไลติกในการแยกสารเคมีดว้ ยกระแสไฟฟ้า การชุบโลหะ การทำโลหะใหบ้ ริสทุ ธ์ิ การ ปอ้ งกนั การกัดกรอ่ นของโลหะ และความกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยีทเ่ี ก่ยี วข้องกับเซลลไ์ ฟฟ้าเคมี โดยใช้การวิเคราะห์ การแก้ปัญหา วิธีการทางวิทยาศาสตร์ การสืบค้นข้อมูล การอภิปราย การทดลอง การสังเกต การสำรวจ การสืบคน้ ขอ้ มูล การสำรวจตรวจสอบ เพอ่ื ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ มีทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ มีสมรรถนะ และคณุ ลักษณะอัน พงึ ประสงค์ และมจี ิตวทิ ยาศาสตร์ ผลการเรยี นรู้ ขอ้ 1-18 รวมท้งั หมด 18 ผลการเรยี นรู้

ผลการเรียนรู้ วิชา เคมี รหัสวิชา ว 32204 กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 5 เวลา 60 ช่ัวโมง/ภาคเรยี น จำนวน 1.5 หน่วยกติ 1. สืบคน้ วเิ คราะห์ กรด - เบส โดยใชท้ ฤษฎีกรด–เบสของอารเ์ รเนยี ส เบรนิ สเตด–ลาวรี และลิวอิส 2. เขยี นแผนภาพคูก่ รด-เบสของสารตามทฤษฎีกรด-เบสของเบรนิ สเตด - ลาวรี 3. เปรียบเทียบความแรงของกรดและเบสจากรอ้ ยละการแตกตวั และคา่ คงท่ีสมดุล 4. คำนวณค่า pH ความเขม้ ข้นของไฮโดรเนียมไอออนหรอื ไฮดรอกไซด์ไอออนของสารละลายกรดและเบส 5. เขียนสมการเคมีแสดงปฏกิ ิริยาสะเทนิ และระบคุ วามเป็นกรด-เบสของสารละลายหลังการสะเทนิ 6. เขยี นปฏกิ ิรยิ าไฮโดรลซิ ิสของเกลอื และระบคุ วามเปน็ กรด-เบสของสารละลายเกลอื 7. ทดลองและอธบิ ายหลกั การการไทเทรต และเลอื กใชอ้ ินดิเคเตอรท์ ีเ่ หมาะสมในการไทเทรตกรด-เบส 8. คำนวณปริมาณกรดหรือเบสจากการไทเทรตกรด-เบส 9. วิเคราะห์ และอธิบายหลกั การควบคมุ ค่า pH ของสารละลายบัฟเฟอรช์ นิดต่าง ๆ 10. สืบค้นข้อมูล และนำเสนอตวั อย่างการใช้ประโยชนก์ รด-เบส และการแก้ปญั หามลพษิ ทเี่ กิดข้นึ 11. ระบุตัวรดี ิวซ์ ตัวออกซไิ ดส์ จากการวเิ คราะห์การเปลยี่ นแปลงเลขออกซเิ ดชันของสารในปฏกิ ิริยา รีดอกซ์ 12. ทดลอง และเปรียบเทียบความสามารถในการเป็นตัวรีดิวซห์ รอื ตวั ออกซไิ ดส์ และเขยี นแสดงปฏกิ ิรยิ า รดี อกซ์ 13. ดลุ สมการรดี อกซ์ดว้ ยการใช้เลขออกซเิ ดชัน และวิธีคร่งึ ปฏิกริ ยิ า 14. ระบุองค์ประกอบของเซลล์ไฟฟ้าเคมี และเขียนสมการเคมขี องปฏกิ ิริยาที่แอโนดและแคโทด ปฏิกิริยา รวม และแผนภาพเซลล์ 15. คำนวณคา่ ศกั ยไ์ ฟฟา้ มาตรฐานของเซลล์ และระบุประเภทของเซลลเ์ คมไี ฟฟา้ ข้วั ไฟฟา้ และปฏกิ ริ ิยา เคมที ี่เกดิ ขนึ้ 16. อธบิ ายหลกั การทำงาน และเขียนสมการแสดงปฏกิ ิรยิ าของเซลลป์ ฐมภมู แิ ละเซลล์ทุตยิ ภมู ิ 17. ทดลองชบุ โลหะและแยกสารเคมีด้วยกระแสไฟฟ้า และอธิบายหลักการทางเคมไี ฟฟา้ ทใ่ี ช้ในการชุบ โลหะ การแยกสารเคมดี ้วยกระแสไฟฟ้า การทำโลหะใหบ้ รสิ ทุ ธิ์ และการปอ้ งกันการกัดกรอ่ นของโลหะ 18. สืบค้นข้อมูล และนำเสนอตวั อยา่ งความกา้ วหน้าทางเทคโนโลยที ี่เก่ยี วข้องกับเซลลเ์ คมีไฟฟ้า ในชีวิต ประจำวนั รวมทั้งหมด 18 ผลการเรียนรู้

โครงสรา้ งรายวิชา เคมี 4 ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 5 ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 ลำดบั ท่ี ช่ือหน่วย มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา 10 การเรยี นรู้ (ชม.) เรยี นรู้/ตัวชว้ี ดั กรด-เบส ผลการเรยี นรู้ สารในชีวิตประจำวันหลายชนิดมีสมบัติเป็นกรด 30 ทีค่ าดหวัง หรือเบส การระบุว่าสารใดเป็นกรดหรือเบสสามารถ ข้อท่ี 1-10 พิจารณาโดยใช้ทฤษฎีกรด-เบสของอาร์เรเนียส เบรินสเตต-ลาวรี หรอื ลิวอสี และการพจิ ารณาคู่กรด- เบส ใชท้ ฤษฎกี รด-เบสของเบรินสเตต-ลาวรี กรดแก่หรือเบสแกเ่ มื่อละลายน้ำถือวา่ แตกตวั ได้ สมบูรณ์ สว่ นกรดออ่ นหรือเบสอ่อนแตกตวั ได้บางส่วน ความสามารถในการแตกตัวหรือความแรงของกรด หรือเบสพิจารณาจากค่าคงที่การแตกตัวหรือร้อยละ ของการแตกตัว นอกจากนเี้ กลอื บางชนดิ สามารถแตก ตัวในน้ำและเกิดปฎิกิริยาไฮโดรไลซีสได้ทำให้ได้ สารละลายทม่ี ีสมบัติเปน็ กรดหรือเบส ความเป็นกรด- เบส ของสารละลายพิจารณาจากความเข้มข้นของ ไฮโดรเนียมไอออน ซึ่งใช้ในการคำนวณ pH ของ สารละลาย ปฏิกิริยาเคมีระหว่างกราดและเบสที่พอดีกัน เรียกว่าปฏิกิริยาสะเทิน ซึ่งให้ผลิตภัณฑ์เป็นเกลือท่ี อาจมีสมบัตนิเป็นกรด กลาง หรือเบส ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ ชนิดของกรดและเบสท่ีทำปฏิกิรยิ ากนั จุดที่สารทำปฏิกิริยากัน เรียกว่าจุดสมมูล สำหรับปฏิกิริยากรดและเบสสามารถสังเกตจุดสมมลู ได้จากการเปลี่ยนสีของอินดิเคเตอร์ที่เหมาะสม ระหว่างการไทเทรตที่เรียกว่า จุดยุติ ซึ่งใกล้เคียงกับ จดุ สมมูล ข้อมูลทไ่ี ลดจ้ ากการไทเทรตสามารถนำมาใช้ คำนวณความเข้มข้นหรือปริมาตรของสารที่เกี่ยวข้อง ในปฏิกริ ิยาได้ สารละลายบัฟเฟอร์มีสมบัติในการควบคุม pH ของสารละลายไม่ให้เปลี่ยนแปลงมากนัก เมื่อมีการ เติมกรด เบส หรือน้ำลงไปเล็กน้อย ความรู้เกี่ยวกับ กรด เบส สามารถนำมาใช้ประโยชน์หรือแกป้ ัญหาใน ชีวิตประจำวนั ได้

ลำดบั ที่ ช่ือหน่วย มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา 11 การเรียนรู้ (ชม.) เรยี นร/ู้ ตวั ช้วี ดั เคมีไฟฟ้า ผลการเรียนรู้ เคมไี ฟฟา้ เป็นการศึกษาปฏกิ ริ ิยาเคมีที่เก่ียวข้องกับ 30 ทคี่ าดหวงั พลังงานไฟฟ้า โดยปฏิกิริยาเคมีที่มีการถ่ายโอน ขอ้ ท่ี 11-18 อิเล็กตรอนระหว่างสาร เรียกว่าปฏิกิริยารีดอกซ์ ประกอบด้วยครงึ่ ปฏกิ ริ ิยาออกชิเดชัน ของตัวรีดวิ ซ์ ซ่ึงให้ อิเล็กตรอน และครง่ึ ปฏิกิริยารีดักชันของตัวออกซิไดส์ซึ่ง รับอิเล็กตรอน ความสามารถในการให้หรือรับอิเล็กตรอน ในปฏิกิริยารีดอกซ์ สังเกตได้จากการทดลอง การดุล สมการรีดอกซ์ทำได้โดยวิธีเลขออกชิเดชันหรือวิธีคร่ึง ปฏกิ ริ ยิ า เซลลเ์ คมีไฟฟ้าประกอบด้วยข้ัวไฟฟ้า และอิเล็กโทร ไลต์ซึ่งอาจเชื่อมต่อแต่ละครึ่งเซลล์ด้วยสะพานเกลือหรือ เยื่อ โดยขั้วไฟฟ้าที่เกิดปฏิกิริยาออกชิเดชัน เรียกว่า แอ โนด และขั้วไฟฟ้าที่เกิดปฏิกิรยิ ารีดกั ชัน เรียกว่า แคโทด เซลลเ์ คมไี ฟฟา้ สามารถเขยี นแสดงได้ด้วยแผนภาพเซลล์ ค่าศกั ยไ์ ฟฟ้าของเซลล์คำนวณได้จากค่าศักย์ไฟฟ้า ของครึ่งเซลล์ ถ้ามีค่าเป็นบวกแสดงว่าปฏิกิริยารีดอกซ์ เกิดขึ้นเองซึ่งพบได้ในเซลล์กัลวานิก แต่ถ้ามีค่าเป็นลบ แสดงว่าปฏิกิริยารีดอกซ์ไม่สามารถเกิดขึ้นเองได้ ต้องมี การให้พลังงานไฟฟ้าจากแหลง่ กำเนิดไฟฟ้าภายนอกจึงจะ สามารถเกดิ ปฏิกริ ิยาได้ พบไดใ้ นเซลล์อิเลก็ โทรไลติก ความรู้เกี่ยวกับเซลล์ไฟฟ้าเคมีทั้งเซลล์กัลป์วานิก และเซลล์อิเล็กโทรไลติก สามารถนำไปใช้ในการผลิต แบตเตอรี การชุบโลหะ การแยกสลายด้วยไฟฟ้า การทำ โลหะให้บริสุทธิ์ การป้องกันการกัดกร่อนของโลหะ และ การพัฒนาเทคโนโลยีที่นำไปสู่นวัตกรรมด้านพลังงานที่ เป็นมิตรต่อสง่ิ แวดล้อม จำนวนชว่ั โมงเรยี น รวมทง้ั หมด 60

ผังมโนทศั น์ รายวิชาเคม ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 ภา รายวิชา ชัน้ มธั ยมศ จำนวน 60 ช่ือหน่วย กรด - เบส จำนวน 30 ชั่วโมง : 50 คะแนน

มี รหัสวชิ า ว 32204 าคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2563 เคมี 4 ศึกษาปีที่ 5 0 ชวั่ โมง ช่ือหน่วยไฟฟ้าเคมี จำนวน 30 ช่วั โมง : 50 คะแนน

ผงั มโนทัศน์ รายวิชา เคมี รหสั วชิ า ว 3 หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 1 เรือ่ ง กรด – เบส ชอ่ื เรื่อง ทฤษฎี กรด-เบส จำนวน 2 ชว่ั โมง : 5 คะแนน ชอื่ เรือ่ งการแตกตวั ของกรด เบส และน้ำ หน่วยการ จำนวน 4 ช่ัวโมง : 5 คะแนน เรื่อง ก ชื่อเรือ่ ง pH ของสารละลายกรดและเบส จำนวน 3 จำนวน 4 ช่ัวโมง : 7 คะแนน ชอ่ื เรอ่ื ง การประยกุ ต์ใช จำนวน 2 ช่วั ชอ่ื เรอื่ ง การไทเทรตกรด-เบส จำนวน 10 ช่วั โมง : 10 คะแนน

32204 ระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 5 จำนวน 30 ชว่ั โมง : 50 คะแนน ชอื่ เร่อื ง คู่กรด – เบส จำนวน 1 ชัว่ โมง : 5 คะแนน รเรียนรทู้ ่ี 1 ชอื่ เรอื่ ง สมบตั ิกรด เบสของเกลือ กรด-เบส จำนวน 2 ชว่ั โมง : 5 คะแนน 30 ช่ัวโมง ชอื่ เรอ่ื ง ปฏกิ ริ ยิ าระหวา่ งกรดและเบส ชค้ วามรู้เกีย่ วกับกรด-เบส จำนวน 2 ชว่ั โมง : 5 คะแนน วโมง : 3 คะแนน ชื่อเร่ือง. สารละลายบฟั เฟอร์ จำนวน 3 ชว่ั โมง : 5 คะแนน

ผงั มโนทัศน์ รายวชิ า เคมี รหัสวชิ า ว 3 หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 เรอ่ื ง เคมไี ฟฟา้ ช่ือเรือ่ ง เลขออกชิเดชันและปฏิกริ ยิ ารดี อกซ์ จำนวน 6 ช่ัวโมง : 10 คะแนน หน่วยการ เรือ่ ง ไฟ จำนวน 3 ช่ือเรื่อง เซลล์ไฟฟา้ เคมี จำนวน 9 ชวั่ โมง : 13 คะแนน ช่ือเรอ่ื ง เทคโนโล จำนวน 3 ช

32204 ระดบั ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ ๕ จำนวน 30 ช่ัวโมง : ๕๐ คะแนน ช่อื เรอื่ ง การดลุ สมการรดี อกซ์ จำนวน 6 ช่วั โมง : 10 คะแนน รเรยี นรทู้ ี่ 2 ฟฟ้าเคมี 30 ชัว่ โมง ชอื่ เรื่อง ประโยชนข์ องเซลล์ไฟฟา้ เคมี จำนวน 6 ชัว่ โมง : 10 คะแนน ลยเี กี่ยวของกับเคมีไฟฟา้ ชั่วโมง : 7 คะแนน

วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ รายวิชา เคมี 4 รห ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 5 กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ผลการเรียนรูท้ ีค่ าดหวัง เน้อื หา/สาระการเรียนรู้ 1. กรด-เบส 1. สืบค้นวิเคราะห์กรด-เบสโดยใช้ทฤษฎี - สสารทกุ ชนดิ ประกอบด้วยอนุภาค โดยสาร กรด–เบสของอาร์เรเนียส เบรินสเตด–ลาวรี ชนิดเดยี วกนั ทีม่ สี ถานะของแข็ง ของเหลว แก และลวิ อิส จะมี การจดั เรียงอนภุ าค แรงยดึ เหนย่ี วระหว่า 2. เขียนแผนภาพคู่กรด-เบสของสารตาม อนุภาค การเคลอื่ นท่ีของอนภุ าคแตกต่างกนั ทฤษฎกี รด-เบสของเบรินสเตด – ลาวรี ซึ่งมผี ลตอ่ รปู รา่ ง และปริมาตรของสสาร 3. เปรียบเทียบความแรงของกรดและเบส - อนุภาคของของแข็งเรียงชดิ กนั มแี รงยึด จากรอ้ ยละการแตกตัวและคา่ คงท่ีสมดุล เหน่ียวระหวา่ งอนภุ าคมากท่ีสดุ อนภุ าคสัน่ อย 4. คำนวณค่า pH ความเข้มข้นของไฮโดร กับที่ ทำใหม้ รี ูปร่างและปรมิ าตรคงท่ี เนียมไอออนหรือไฮดรอกไซด์ไอออนของ - อนุภาคของของเหลวอยู่ใกลก้ นั มแี รงยึด สารละลายกรดและเบส เหน่ยี วระหว่างอนุภาคน้อยกว่าของแข็งแต่ 5. เขียนสมการเคมีแสดงปฏิกิริยาสะเทิน มากกวา่ แกส๊ อนภุ าคเคล่อื นทไ่ี ด้แต่ไมเ่ ป็น และระบุความเป็นกรด-เบสของสารละลาย อิสระเท่าแกส๊ ทำใหม้ รี ปู รา่ งไม่คงท่ี แต่ หลังการสะเทิน ปรมิ าตรคงท่ี 6. เขียนปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสของเกลือ และ - อนุภาคของแกส๊ อยู่ห่างกนั มาก มแี รงยึด ระบคุ วามเปน็ กรด-เบสของสารละลายเกลอื เหนย่ี วระหวา่ งอนภุ าคนอ้ ยทส่ี ุด อนุภาค 7. ทดลองและอธิบายหลักการการไทเทรต เคล่ือนทไ่ี ดอ้ ยา่ งอิสระทุกทิศทาง ทำให้มรี ูปรา่ และเลือกใช้อินดิเคเตอร์ที่เหมาะสมสำหรับ และปริมาตรไมค่ งที่ การไทเทรต กรด-เบส 8. คำนวณปริมาณกรดหรือเบสจากการ ไทเทรตกรด-เบส

หัสวชิ า ว 32204 จำนวน 1.5 หน่วยกิต ทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 ความรคู้ วาม คุณภาพผู้เรยี น สมรรถนะ เข้าใจ (K) ทกั ษะปฏิบัติ คณุ ลกั ษณะนสิ ัย (P) (A) 1) อธิบายการ 2) เปรียบเทยี บ 3) รบั ผิดชอบตอ่ 1. ความสามารถในการ ส่อื สาร ก๊ส จดั เรียงอนุภาค การจัดเรียง หน้าท่ีและงานท่ี 2. ความสามารถในการคิด ไดร้ ับมอบหมาย าง แรงยดึ เหน่ยี ว อนุภาค แรงยดึ 1) ทักษะการสังเกต ระหวา่ งอนภุ าค เหนี่ยวระหวา่ ง 2) ทักษะการจัดกลุ่ม 3) ทักษะการเปรียบเทียบ และการเคลอ่ื นที่ อนภุ าค และการ 4) ทักษะการจำแนก ของอนุภาคของ เคลอื่ นทขี่ อง ประเภท ยู่ สารชนดิ อนภุ าคของ 5) ทกั ษะการสำรวจ เดียวกันในสถานะ สารชนิดเดยี วกัน ต่างๆ ได้ ในสถานะตา่ ง ๆ ได้ 3. ความสามารถในการใช้ ทักษะชีวิต าง

ผลการเรยี นรทู้ ่คี าดหวัง เน้อื หา/สาระการเรียนรู้ 9. วิเคราะห์ และอธิบายหลักการควบคุมคา่ pH ของสารละลายบฟั เฟอร์ชนิดตา่ ง ๆ 10. สบื ค้นขอ้ มูล และนำเสนอตัวอยา่ งการใช้ ประโยชน์กรด-เบส และการแก้ปัญหามลพิษ ท่ีเกดิ ขน้ึ

ความร้คู วาม คุณภาพผ้เู รยี น สมรรถนะ เข้าใจ (K) ทกั ษะปฏบิ ตั ิ คุณลักษณะนสิ ยั (P) (A)

ผลการเรียนร้ทู ่ีคาดหวัง เนอ้ื หา/สาระการเรยี นรู้ 2. ไฟฟา้ เคมี 11. ระบุตัวรีดิวซ์ ตัวออกซิไดส์ จากการ เคมีไฟฟ้าเป็นการศึกษาปฏิกริ ิยาเคมีที่ วิเคราะหก์ ารเปลี่ยนแปลงเลขออกซเิ ดชันของ เกี่ยวข้องกับพลังงานไฟฟา้ โดยปฏกิ ิริยาเคมีที่มีก สารในปฏิกิริยารีดอกซ์ ถ่ายโอนอิเลก็ ตรอนระหวา่ งสาร เรยี กว่าปฏกิ ริ ิย 12. ทดลอง และเปรียบเทียบความสามารถ ดอกซ์ ประกอบดว้ ยคร่ึงปฏกิ ิรยิ าออกชิเดชนั ข ในการเป็นตัวรีดิวซ์หรือตัวออกซิไดส์ และ ตัวรีดิวซ์ซ่ึงใหอ้ ิเล็กตรอนและครงึ่ ปฏิกิริยารีดกั ช เขยี นแสดงปฏิกิรยิ ารดี อกซ์ ของตัวออกซิไดส์ซ่ึงรับอิเลก็ ตรอน ความสามารถ 13. ดุลสมการรีดอกซ์ด้วยการใช้เ ลข การให้หรือรับอิเลก็ ตรอนในปฏกิ ิริยารีดอกซ์ ออกซเิ ดชัน และวิธคี รงึ่ ปฏิกิรยิ า สงั เกตได้จากการทดลองการดุลสมการรีดอกซ์ทำ 14. ระบุองค์ประกอบของเซลล์ไฟฟ้าเคมี โดยวธิ เี ลขออกชิเดชันหรือวธิ ีครง่ึ ปฏิกริ ิยา และเขียนสมการเคมีของปฏิกิริยาที่แอโนด เซลล์เคมีไฟฟ้าประกอบด้วยขั้วไฟฟ้า และ และแคโทด ปฏิกริ ิยารวม และแผนภาพเซลล์ เล็กโทรไลต์ซึ่งอาจเชื่อมต่อแต่ละครึ่งเซลล์ด้ 15. คำนวณค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของเซลล์ สะพานเกลือหรือเยื่อ โดยขั้วไฟฟ้าที่เกิดปฏิกิร และระบุประเภทของเซลล์เคมีไฟฟา้ ขัว้ ไฟฟา้ ออกชิเดชัน เรียกว่า แอ โนด และขั้วไฟฟ้า และปฏิกริ ยิ าเคมีท่เี กิดขึ้น เกิดปฏิกิริยารีดักชัน เรียกว่า แคโทด เซล 16. อธิบายหลักการทำงาน และเขียนสมการ เคมีไฟฟ้าสามารถเขยี นแสดงไดด้ ้วยแผนภาพเซล แสดงปฏิกิริยาของเซลล์ปฐมภูมิและเซลล์ ค่าศักย์ไฟฟ้าของเซลล์คำนวณได้จากค ทุตยิ ภมู ิ ศักย์ไฟฟ้าของครึ่งเซลล์ ถ้ามีค่าเป็นบวกแสดง ปฏกิ ิรยิ ารดี อกซเ์ กิดข้ึนเองซึ่งพบได้ในเซลล์

ความรู้ความ คณุ ภาพผู้เรียน สมรรถนะ เข้าใจ (K) ทกั ษะปฏบิ ตั ิ คณุ ลักษณะนสิ ัย (P) (A) 1) อธิบาย 2) ทดลอง และ 3) รับผดิ ชอบตอ่ 1. ความสามารถในการ การ หลักการทำงาน เปรียบเทียบ หน้าที่และงานที่ ส่ือสาร และเขยี นสมการ ความสามารถใน ได้รับมอบหมาย 2. ความสามารถในการคดิ ยารี แสดงปฏกิ ิรยิ า ของ ของเซลล์ปฐมภูมิ การเป็นตวั รีดวิ ซ์ 1) ทกั ษะการสังเกต ชัน และเซลล์ทุติยภูมิ หรือตัวออกซไิ ดส์ ถใน 2) ทักษะการจัดกล่มุ และเขียนแสดง 3) ทักษะการเปรยี บเทียบ ปฏกิ ิริยารีดอกซ์ ำได้ ดลุ สมการรีดอกซ์ 4) ทักษะการจำแนก ดว้ ยการใช้เลข ละอิ ออกซเิ ดชัน และ ประเภท 5) ทักษะการสำรวจ วย วิธีครงึ่ ปฏกิ ริ ิยา ริยา คำนวณคา่ 3. ความสามารถในการใช้ ศักยไ์ ฟฟา้ ทักษะชวี ติ าที่ ลล์ มาตรฐานของ ลล์ เซลล์ และระบุ ค่า ประเภทของเซลล์ งว่า เคมีไฟฟ้า ข้วั ไฟฟา้ และ ปฏิกิริยาเคมที ี่ เกิดข้ึน

ผลการเรียนรทู้ ีค่ าดหวัง เน้ือหา/สาระการเรยี นรู้ 17. ทดลองชุบโลหะและแยกสารเคมีด้วย กัลวานิก แต่ถ้ามีค่าเป็นลบแสดงว่าปฏิกิริย กระแสไฟฟ้า และอธิบายหลักการทาง ดอกซ์ไม่สามารถเกิดขึ้นเองได้ ต้องมีการใ เคมีไฟฟ้าที่ใช้ในการชุบโลหะ การแยก พลังงานไฟฟ้าจากแหล่งกำเนิดไฟฟ้าภายนอกจึง สารเคมีด้วยกระแสไฟฟ้า การทำโลหะให้ สามารถเกิดปฏิกิริยาได้ พบได้ในเซลล์อิเล็กโทร บริสุทธ์ิ และการป้องกันการกัดกร่อนของ ตกิ โลหะ ความรู้เก่ียวกับเซลล์ไฟฟ้าเคมีท้ังเซลล์กัล 18. สืบค้นข้อมูล และนำเสนอตัวอย่าง วานิกและเซลล์อิเล็กโทรไลติก สามารถนำไปใช ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับ การผลติ แบตเตอรี การชบุ โลหะ การแยกสลายด เซลลเ์ คมไี ฟฟ้าในชีวติ ประจำวนั ไฟฟ้า การทำโลหะให้บริสุทธิ์ การป้องกันการก กรอ่ นของโลหะ และการพัฒนาเทคโนโลยีที่นำไป นวตั กรรมด้านพลงั งานที่เปน็ มิตรต่อส่ิงแวดลอ้ ม

ความร้คู วาม คุณภาพผู้เรยี น สมรรถนะ เขา้ ใจ (K) ทักษะปฏิบตั ิ คุณลักษณะนิสัย ยารี ให้ (P) (A) งจะ รไล ลป์ ช้ใน ด้วย กัด ปสู่

โครงสร้างแผนการจดั การเ จำนวน 6 หน่วยการเรียนรู้ แผนการจดั การเรยี นรู้ วธิ สี อน/วธิ ีการจดั - ทักษะกา 1. กรด-เบส กิจกรรมการเรยี นรู้ - ทกั ษะกา แผนที่ 1 สารละลายอเิ ล็กโทร - ทกั ษะกา ไลต์และนอนอิเล็ก แบบสืบเสาะหาความรู้ - ทักษะกา โทรไลต์ (5Es Instructional Model) - ทักษะกา - ทักษะกา ลงขอ้ สร - ทักษะกา แผนท่ี 2 สารละลายกรดและ แบบสบื เสาะหาความรู้ - ทักษะกา สารละลายเบส (5Es Instructional Model) - ทักษะกา - ทกั ษะกา แผนที่ 3 ทฤษฎีกรด-เบส แบบสบื เสาะหาความรู้ - ทักษะกา (5Es Instructional Model) - ทกั ษะกา - ทกั ษะกา - ทักษะสำ - ทักษะกา - ทักษะกา - ทักษะกา - ทักษะกา ลงขอ้ สร แผนท่ี 4 การแตกตัวของกรด แบบสบื เสาะหาความรู้ - ทกั ษะกา และเบส (5Es Instructional Model) - ทักษะกา - ทกั ษะกา

เรียนรรู้ ายวิชา เคมี 4 60 ช่วั โมง ทกั ษะท่ไี ด้ การประเมิน เวลา (ชวั่ โมง) ารสังเกต - ตรวจแบบทดสอบก่อนเรยี น หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ารสำรวจค้นหา 4 กรด-เบส 2 ารทำงานรว่ มกัน ารวเิ คราะห์ - ตรวจแบบฝึกหดั 1 ารทดลอง - ตรวจสมดุ ประจำตัว 5 ารตีความหมายและ - ประเมนิ การปฏบิ ัติการ เร่อื ง สมบตั ิบางประการ รปุ 4 ารลงความเห็นจากข้อมูล ของสารละลาย - สังเกตพฤติกรรมกสนรายบุคคล ารสงั เกต - สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกลมุ่ ารสำรวจค้นหา - สงั เกตคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ารวิเคราะห์ - ตรวจแบบฝึกหดั ารเชือ่ มโยง - ตรวจสมดุ ประจำตัว ารทำงานรว่ มกนั - สงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล ารสังเกต - สงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม ำรวจคน้ หา - สังเกตคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ารทำงานรว่ มกัน - ตรวจใบงานที่ 4.3.1 เรื่อง ทฤษฎกี รด-เบส ารวิเคราะห์ - ตรวจแบบฝกึ หดั ารทดลอง - ตรวจสมุดประจำตัว ารตคี วามหมายและ - ประเมินการปฏิบัติการ เร่อื ง ปฏิกริ ยิ าการให้ รุป และรบั โปรตอนของโซเดียมไฮโดรเจน ารลงความเหน็ จากขอ้ มูล คารบ์ อเนต ารสงั เกต - สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบคุ คล ารสำรวจค้นหา - สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม - สงั เกตคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ - ตรวจใบงานที่ 4.4.1 เร่อื ง การแตกตัวของกรด และเบส

หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจดั การเรยี นรู้ วิธีสอน/วิธีการจัด กจิ กรรมการเรียนรู้ - ทกั ษะกา - ทกั ษะกา - ทักษะกา แผนท่ี 5 การแตกตวั เป็น แบบสืบเสาะหาความรู้ - ทกั ษะกา ไอออนของน้ำ (5Es Instructional Model) - ทักษะสำ - ทกั ษะกา แผนท่ี 6 pH ของสารละลาย แบบสบื เสาะหาความรู้ - ทักษะกา (5Es Instructional Model) - ทกั ษะกา - ทักษะกา ลงขอ้ สร - ทักษะกา - ทักษะกา - ทกั ษะกา - ทกั ษะกา - ทกั ษะกา - ทักษะกา แผนท่ี 7 อินดิเคเตอร์สำหรับ แบบสืบเสาะหาความรู้ - ทักษะกา - ทักษะกา กรด-เบส (5Es Instructional Model) - ทักษะกา - ทักษะกา แผนที่ 8 ปฏกิ ิริยาระหวา่ งกรด แบบสบื เสาะหาความรู้ - ทักษะกา และเบส (5Es Instructional Model) - ทักษะกา - ทกั ษะกา - ทักษะกา - ทกั ษะกา

ทักษะทีไ่ ด้ การประเมิน เวลา (ช่ัวโมง) ารวเิ คราะห์ - ตรวจแบบฝกึ หดั ารเช่ือมโยง - ตรวจสมุดประจำตวั 2 ารทำงานร่วมกัน - สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล - สงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลุม่ ารสังเกต - สังเกตคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ ำรวจคน้ หา - ตรวจแบบฝกึ หดั ารทำงานรว่ มกนั - ตรวจสมุดประจำตัว ารวิเคราะห์ - ประเมนิ การปฏิบตั ิการ เรอ่ื ง การนำไฟฟา้ ของ ารทดลอง ารตีความหมายและ น้ำ รปุ - สังเกตพฤตกิ รรมรายบุคคล ารลงความเห็นจากข้อมลู - สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกลมุ่ ารสังเกต - สงั เกตคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ารสำรวจคน้ หา ารวิเคราะห์ - ตรวจใบงานท่ี 4.6.1 เร่อื ง pH ของสารละลาย 2 ารเชื่อมโยง - ตรวจแบบฝกึ หัด ารทำงานรว่ มกัน - ตรวจสมุดประจำตวั - สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบุคคล ารสังเกต - สังเกตพฤติกรรมการทำงานกล่มุ ารสำรวจค้นหา - สังเกตคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ ารวิเคราะห์ ารเชอ่ื มโยง - ตรวจแบบฝกึ หดั 1 ารทำงานร่วมกนั - ตรวจสมุดประจำตวั 6 ารสังเกต - สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบคุ คล ารสำรวจคน้ หา - สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม ารทำงานรว่ มกนั - สงั เกตคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ารวิเคราะห์ - ตรวจใบงานที่ 4.8.1 เรื่อง ปฏิกริ ยิ าระหว่างกรด และเบส - ตรวจแบบฝึกหัด - ตรวจสมุดประจำตวั

หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจัดการเรยี นรู้ วิธีสอน/วิธีการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ - ทกั ษะกา - ทักษะกา ลงขอ้ สร - ทักษะกา แผนท่ี 9 การไทเทรตกรด-เบส แบบสืบเสาะหาความรู้ - ทักษะกา (5Es Instructional Model) - ทกั ษะกา - ทักษะกา - ทักษะกา - ทักษะกา - ทักษะกา - ทกั ษะกา

ทกั ษะทีไ่ ด้ การประเมนิ เวลา (ชัว่ โมง) ารทดลอง - ประเมินการปฏบิ ัตกิ าร เร่อื ง ปฏิกริ ิยาระหว่าง 6 ารตคี วามหมายและ กรดซัลฟิวรกิ และแบเรยี มไฮดรอกไซด์ รุป - ประเมินการปฏิบตั ิการ เรอ่ื ง ปฏกิ ริ ยิ าระหวา่ ง ารลงความเห็นจากข้อมูล กรดซัลฟิวริกและโซเดียมไฮดรอกไซด - ประเมินการปฏิบัตกิ าร เรอ่ื ง ปฏกิ ริ ิยาระหว่าง กรดหรือเบสกับสารบางชนดิ - ประเมนิ การปฏิบัตกิ าร การวดั pH ของ สารละลายเกลอื โดยใช้ยูนิเวอรซ์ ลั อนิ ดิเคเตอร์ - ประเมินการนำเสนอผลงาน - สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบคุ คล - สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกลมุ่ - สังเกตคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ารสงั เกต - ตรวจใบงานท่ี 4.9.1 เรอ่ื ง การไทเทรตกรด-เบส ารสำรวจค้นหา - ตรวจแบบฝกึ หดั ารทำงานร่วมกนั - ตรวจสมดุ ประจำตวั ารวิเคราะห์ - ประเมนิ การปฏิบัตกิ าร เรื่อง การไทเทรตหาจดุ ารทดลอง ยตุ ิของปฏกิ ริ ิยาระหวา่ งกรดแก่กบั เบสแก่ ารตีความหมายและลงขอ้ สรปุ - ประเมินการปฏิบัติการ เรอ่ื ง การไทเทรตหาจดุ ารลงความเห็นจากข้อมลู สมมูลของปฏกิ ิรยิ าระหว่างกรดแก่กบั เบสแก่ - ประเมินการปฏิบตั ิการ เรอ่ื ง การเลือกอนิ ดิเค เตอร์ในการไทเทรตกรด-เบส - ประเมินการนำเสนอผลงาน - สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบคุ คล - สงั เกตพฤติกรรมการทำงานกล่มุ - สงั เกตคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์

หน่วยการเรียนรู้ แผนการจดั การเรยี นรู้ วธิ ีสอน/วธิ กี ารจัด แผนที่ 10 สารละลายบฟั เฟอร์ กจิ กรรมการเรยี นรู้ - ทกั ษะกา แบบสบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) - ทกั ษะกา - ทกั ษะกา - ทกั ษะกา - ทักษะกา - ทักษะกา ลงข้อสร - ทักษะกา 2. ไฟฟ้าเคมี แผนที่ 1 เลขออกซเิ ดชัน แบบสืบเสาะหาความรู้ - ทักษะกา (5Es Instructional Model) - ทักษะกา - ทกั ษะกา - ทกั ษะกา - ทกั ษะกา แผนที่ 2 ปฏกิ ิรยิ ารีดอกซ์ แบบสบื เสาะหาความรู้ - ทกั ษะกา (5Es Instructional Model) - ทกั ษะกา - ทักษะกา - ทักษะกา - ทักษะกา - ทักษะกา - ทักษะกา

ทักษะท่ไี ด้ การประเมนิ เวลา (ชั่วโมง) ารสังเกต - ตรวจใบงานท่ี 4.10.1 เรือ่ ง สารละลายบฟั เฟอร์ ารสำรวจค้นหา - ตรวจแบบฝกึ หัด 4 ารทำงานรว่ มกัน - ตรวจสมุดประจำตัว ารวิเคราะห์ - ประเมินการปฏิบัติการ เรื่อง การเปลย่ี นแปลง ารทดลอง ารตคี วามหมายและ pH ของสารละลายบางชนดิ รุป - สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบคุ คล ารลงความเห็นจากข้อมูล - สงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ่ - สังเกตคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ - ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ท่ี 4 กรด-เบส ารสังเกต - ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรียน หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 ารสำรวจคน้ หา 5ไฟฟ้าเคมี 2 ารวิเคราะห์ ารเชอ่ื มโยง - ตรวจใบงานท่ี 5.1.1 เร่ือง เลขออกซเิ ดชัน ารทำงานร่วมกัน - ตรวจแบบฝกึ หดั - ตรวจสมุดประจำตวั ารสังเกต - สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบคุ คล ารสำรวจคน้ หา - สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุ่ม ารทำงานร่วมกัน - สังเกตคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ ารวเิ คราะห์ ารทดลอง - ตรวจใบงานที่ 5.2.1 เรื่อง ปฏิกิรยิ ารดี อกซ์ ารตคี วามหมายและลงข้อสรปุ - ตรวจแบบฝึกหัด ารลงความเหน็ จากขอ้ มูล - ตรวจสมุดประจำตัว - ประเมนิ การปฏบิ ตั กิ าร เรอื่ ง ปฏิกริ ิยาระหว่าง โลหะและไอออนในสารละลาย - สังเกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล - สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุ่ม - สงั เกตคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์

หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจดั การเรยี นรู้ วิธสี อน/วธิ ีการจัด แผนท่ี 3 การดลุ สมการรดี อกซ์ กจิ กรรมการเรียนรู้ - ทักษะกา แบบสบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) - ทักษะกา - ทักษะกา - ทักษะกา - ทกั ษะกา แผนท่ี 4 เซลล์กลั วานกิ แบบสืบเสาะหาความรู้ - ทกั ษะกา (5Es Instructional Model) - ทกั ษะกา - ทกั ษะกา - ทักษะกา - ทักษะกา - ทักษะกา ลงข้อสร - ทกั ษะกา แผนที่ 5 ประเภทของเซลล์ แบบสบื เสาะหาความรู้ - ทักษะกา กลั วานกิ (5Es Instructional Model) - ทกั ษะกา - ทกั ษะกา - ทักษะกา - ทักษะกา

ทักษะทีไ่ ด้ การประเมนิ เวลา (ชวั่ โมง) ารสังเกต - ตรวจใบงานท่ี 5.3.1 เรอ่ื ง การดุลสมการรีดอกซ์ ารสำรวจคน้ หา โดยใช้เลขออกซเิ ดชนั ทเ่ี ปลี่ยนแปลง 3 ารวเิ คราะห์ 6 ารเชื่อมโยง - ตรวจใบงานท่ี 5.3.2 เร่ือง การดุลสมการรดี อกซ์ โดยใชค้ รง่ึ ปฏิกริ ยิ า 4 ารทำงานรว่ มกนั - ตรวจแบบฝกึ หดั ารสังเกต - ตรวจสมดุ ประจำตวั ารสำรวจคน้ หา - สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบุคคล ารทำงานร่วมกนั ารวเิ คราะห์ - สงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ่ ารทดลอง - สงั เกตคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ารตีความหมายและ - ตรวจใบงานที่ 5.4.1 เรอ่ื ง การเขียนแผนภาพ รปุ ารลงความเห็นจากขอ้ มลู เซลล์ กลั วานิก ารสังเกต - ตรวจใบงานที่ 5.4.2 เรือ่ ง ศกั ย์ไฟฟา้ ของเซลล์ ารสำรวจค้นหา กลั วานกิ ารวิเคราะห์ - ตรวจแบบฝึกหัด ารเชือ่ มโยง - ตรวจสมดุ ประจำตัว ารทำงานรว่ มกัน - ประเมนิ การปฏิบัติการ เรอ่ื ง การถา่ ยโอน อิเล็กตรอนในเซลล์กลั วานกิ - สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบุคคล - สงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ่ - สังเกตคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ - ตรวจใบงานที่ 5.5.1 เรอ่ื ง ประเภทของเซลล์กัล วานิก - ตรวจแบบฝึกหดั - ตรวจสมดุ ประจำตัว - ประเมินการนำเสนอผลงาน - สงั เกตพฤติกรรมการทำงานรายบคุ คล - สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุม่ - สงั เกตคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์

หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจดั การเรยี นรู้ วธิ สี อน/วิธกี ารจัด - ทักษะกา แผนท่ี 6 เซลล์อิเลก็ โทรไลตกิ กจิ กรรมการเรยี นรู้ - ทักษะกา แบบสืบเสาะหาความรู้ - ทักษะกา (5Es Instructional Model) - ทักษะกา - ทกั ษะกา - ทกั ษะกา ลงข้อสร - ทักษะก แผนที่ 7 การกัดกร่อนของ แบบสบื เสาะหาความรู้ - ทกั ษะกา โลหะและการปอ้ งกนั (5Es Instructional Model) - ทกั ษะกา - ทกั ษะกา - ทักษะกา - ทกั ษะกา - ทักษะกา - ทักษะกา

ทักษะทไ่ี ด้ การประเมิน เวลา (ช่วั โมง) ารสงั เกต - ตรวจใบงานท่ี 5.6.1 เรอ่ื ง การแยกสารละลาย ารสำรวจคน้ หา ดว้ ยกระแสไฟฟ้า 5 ารทำงานร่วมกัน ารวิเคราะห์ - ตรวจใบงานที่ 5.6.2 เรื่อง การชุบด้วยไฟฟ้า ารทดลอง และการทำโลหะให้บริสุทธิ์ ารตีความหมายและ รุป - ตรวจแบบฝึกหดั การลงความเหน็ จากขอ้ มลู - ประเมินการปฏิบตั ิการ เรื่อง การชบุ ตะปูเหล็ก ด้วยสังกะสี - ประเมนิ การนำเสนอผลงาน - สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบคุ คล - สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม - สงั เกตคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ารสงั เกต - ตรวจใบงานที่ 5.7.1 เรือ่ ง การกดั กร่อนของ 4 ารสำรวจคน้ หา โลหะและการป้องกัน ารทำงานร่วมกนั ารวิเคราะห์ - ตรวจแบบฝึกหดั ารทดลอง - ตรวจสมดุ ประจำตัว ารตคี วามหมายและลงข้อสรปุ - ประเมนิ การปฏบิ ัตกิ าร เรอื่ ง การป้องกันการกดั ารลงความเหน็ จากข้อมลู กรอ่ นของเหลก็ - ประเมนิ การนำเสนอผลงาน - สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบคุ คล - สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุม่ - สงั เกตคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์

หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ วิธีสอน/วธิ ีการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ แผนที่ 8 ความก้าวหนา้ ทาง - ทกั ษะกา เทคโนโลยที ีเ่ ก่ยี วข้อง แบบสบื เสาะหาความรู้ กับเซลลไ์ ฟฟา้ (5Es Instructional Model) - ทกั ษะกา - ทักษะกา - ทกั ษะกา - ทกั ษะกา

ทักษะทไ่ี ด้ การประเมนิ เวลา (ชั่วโมง) ารสังเกต - ตรวจแบบฝกึ หดั ารสำรวจคน้ หา - ตรวจสมดุ ประจำตัว 2 ารวิเคราะห์ - ประเมินการนำเสนอผลงาน ารเชือ่ มโยง - สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบุคคล ารทำงานรว่ มกัน - สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกล่มุ - สังเกตคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ - ตรวจแบบทดสอบหลังเรยี น หน่วยการเรียนรู้ท่ี 5 ไฟฟา้ เคมี

แบบทดสอบกอ่ นเรยี น หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 4 คำชีแ้ จง : ให้นักเรยี นเลือกคำตอบทีถ่ กู ต้องท่ีสุดเพยี งขอ้ เดียว 1. สารละลายในขอ้ ใดไมน่ ำไฟฟ้า 6. สารละลายกรดไฮโดรคลอรกิ เขม้ ขน้ 10-3โมล/ลกู บาศก์ 1. NH3 2. KOH เดซิเมตร ปริมาตร 200 ลูกบาศก์เซนติเมตร จะมี pH 3. HNO3 4. C2H5OH เท่าใด 5. CH3COOH 1. 1 2. 3 2. ขอ้ ใดจดั เปน็ สารละลายกรด 3. 5 4. 9 1. NH3 2. NaCl 5. 11 3. H2SO4 4. NaOH 7. เมือ่ นำสารละลายท่มี ี pH เท่ากับ 9 มาหยดอนิ ดเิ คเตอร์ช 5. CH3COONa นดิ ใด สารละลายจงึ จะมีสชี มพู 3. “กรด คอื สารท่ีละลายนำ้ แล้วแตกตัวใหไ้ ฮโดรเนียม 1. เมทลิ เรด 2. ฟนี อลเรด ไอออน” คำกลา่ วน้ีตรงกับทฤษฎกี รด-เบสของ 3. คองโกเรด 4. เมทิลออเรนจ์ นักวิทยาศาสตรท์ า่ นใด 5. ฟีนอลฟ์ ทาลีน 1. ลาวรี 2. ลิวอสิ 8. ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบสในขอ้ ใดจะเกดิ เกลอื ท่มี ีสมบัติ 3. เบรนิ สเตด 4. อาร์เรเนยี ส เป็นเบส 5. เลอชาเตอลิเอ 1. HCl กบั KOH 4. ขอ้ ใดระบคุ ู่เบสของสารทกี่ ำหนดให้ได้ถูกต้อง 2. HF กบั NaOH สาร คู่เบส 3. HNO3 กบั NH3 1. NH3 NH4+ 4. HClO4 กับ LiOH 2. H3O+ H2O 5. H2SO4 กับ Al(OH)3 3. H2O OH- 9. อนิ ดิเคเตอร์ชนิดใดเหมาะสำหรบั นำมาใช้บอกจดุ ยตุ ิใน 4. HCO3- H2CO3 การไทเทรตระหวา่ งเบสอ่อนกับกรดแก่ 5. SO42- HSO4- 1. เมทลิ เรด 2. ฟีนอลเรด 3. คองโกเรด 4. เมทลิ ออเรนจ์ 5. HX เป็นกรดแก่ สารละลายปริมาตร 3 ลกู บาศก์เดซิเมตร 5. ฟนี อลฟ์ ทาลนี มกี รด HA ละลายอยู่ 0.75 โมล จะมคี วามเข้มขน้ ของ 10. สารละลายในขอ้ ใดจดั เป็นบฟั เฟอรเ์ บส ไฮโดรเนยี มไอออนอยเู่ ท่าใด 1. HF กับ LiF 1. 0.25 mol/dm3 2. 0.50 mol/dm3 2. HCl กับ NaCl 3. 0.75 mol/dm3 4. 1.00 mol/dm3 3. HCN กบั KCN 5. 1.25 mol/dm3 4. NaOH กับ NaBr 5. NH4OH กับ NH4NO3 เฉลย 1. 4 2. 3 3. 4 4. 3 5. 1 6. 2 7. 5 8. 2 9. 2 10. 5

แบบทดสอบหลงั เรยี น หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 4 คำชี้แจง : ใหน้ กั เรยี นเลือกคำตอบทถ่ี กู ตอ้ งท่สี ดุ เพียงขอ้ เดียว 1. สารละลายในขอ้ ใดจัดเปน็ อิเลก็ โทรไลตแ์ ก่ 5. สารละลายเบส C5H5N และ C6H5NH2 มีคา่ Kb เป็น 1.8 × 10-9 และ 4.3 × 10-10 ตามลำดบั ถ้าสารละลายทัง้ สอง 1. H2S 2. HCl เข้มข้น 1 โมล/ลกู บาศกเ์ ดซเิ มตร เทา่ กัน สารละลายของ 3. HNO2 4. HClO เบสใดจะมคี วามเขม้ ข้นของ OH- มากกว่ากัน เพราะเหตุใด 1. C5H5N มคี วามเข้มขน้ ของ OH- น้อยกว่า C6H5NH2 5. NH4OH เนือ่ งจากมีค่า Kb สูงกวา่ 2. ข้อใดจดั เปน็ สารละลายเบส 2. C5H5N มคี วามเข้มข้นของ OH- มากกวา่ C6H5NH2 1. H2O 2. HNO3 เนื่องจากมคี ่า Kb สงู กว่า 3. C6H5NH2 มคี วามเข้มข้นของ OH- มากกวา่ C5H5N 3. NH4Cl 4. Ca(OH)2 เน่อื งจากมคี า่ Kb ตำ่ กว่า 5. CH3COOH 4. C6H5NH2 มีความเข้มขน้ ของ OH- เทา่ กบั C5H5N 3. ข้อใดกลา่ วถกู ต้องเกีย่ วกับทฤษฎีกรด-เบสของลิวอสิ เนื่องจากมีความเข้มข้นเทา่ กัน 1. กรด คอื สารทร่ี บั คู่อิเลก็ ตรอนจากสารอืน่ 2. กรด คอื สารทส่ี ามารถใหโ้ ปรตอนแกส่ ารอื่น 3. เบส คอื สารท่สี ามารถรับโปรตอนจากสารอ่นื 4. กรด คือ สารทลี่ ะลายนำ้ แล้วแตกตัวใหไ้ ฮโดรเจน 5. C6H5NH2 มคี วามเขม้ ข้นของ OH- มากกวา่ C5H5N ไอออน เน่อื งจากมีความเป็นเบสทีแ่ รงกวา่ 5. เบส คอื สารที่ละลายน้ำแลว้ แตกตวั ให้ไฮดรอกไซด์ 6. สารละลายเบสออ่ นเข้มข้น 0.5 โมล/ลกู บาศก์เดซิเมตร ไอออน แตกตัวเปน็ ไอออนไดร้ อ้ ยละ 4 จะมี pH เทา่ กับเทา่ ใด 4. ข้อใดระบคุ ู่กรดของสารท่ีกำหนดใหไ้ ด้ถูกต้อง (กำหนดให้ log 2 = 0.3010) สาร ค่กู รด 1. 1.699 2. 3.010 1. H3O+ H2O 3. 6.796 4. 10.990 2. CO3- 3. NO2- H2CO3 5. 12.301 HNO2 4. HBr Br- 7. เมื่อนำสารละลายที่มี pH เท่ากับ 5 มาหยดเมทลิ เรด สารละลายทไี่ ดจ้ ะมสี ใี ด 5. HClO4 ClO4- 1. สีสม้ 2. สแี ดง 3. สีเขียว 4. สีนำ้ เงิน 9. โบรโมไทมอลบลู เหมาะสำหรบั นำมาใชบ้ อกจุดยตุ ิ 5. สเี หลอื ง ในการไทเทรตระหว่างกรดกับเบสในขอ้ ใด 8. ข้อใดจับคเู่ กลือกบั ไอออนท่ีเกดิ ปฏกิ ริ ิยาไฮโดรลิซิสได้ 1. HBr กับ NH3 ถูกตอ้ ง 1. NH4F – NH4+ 2. HF กบั NaOH 2. NaNO3 – NO3- 3. HNO3 กบั KOH 3. KBr – K+ และ Br- 4. LiCN – Li+ และ CN- 4. HCN กบั Ca(OH)2 5. CH3COONa – CH3COO- 5. CH3COOH กับ NH4OH 10. สารละลายในขอ้ ใดจัดเปน็ บัฟเฟอร์กรด 1. HBr กบั KBr 2. NH3 กับ NH4Cl 3. LiOH กับ LiNO3 4. H2CO3 กบั NaHCO3 5. NH4OH กับ NH4NO3 เฉลย 1. 2 2. 4 3. 1 4. 3 5. 2 6. 5 7. 1 8. 5 9. 3 10. 4

แผนการจัดการเรียนรู้ หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 10 เรื่อง กรด-เบส แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 1 เรอื่ ง สารละลายอเิ ล็กโทรไลต์ รายวิชา เคมี 4 รหัสวชิ า ว 32204 ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563 น้ำหนักเวลาเรยี น 1.5 หนว่ ยกจิ เวลาเรยี น 3 ชั่วโมง/สัปดาห์ เวลาท่ีใช้ในการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ 2 ชั่วโมง 1. ผลการเรียนรู้ ระบุ และอธบิ ายวา่ สารเป็นกรดหรอื เบสโดยใช้ทฤษฎีกรด-เบสของอาร์เรเนียส เบรนิ สเตด-ลาวรี และลวิ อิส 2. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. บอกสมบัติของสารละลายอิเล็กโทรไลต์และสารละลายนอนอิเล็กโทรไลต์ พร้อมทั้งระบุได้ว่าสารใด เป็นอิเล็กโทรไลตแ์ ก่ อเิ ล็กโทรไลตอ์ อ่ น หรือนอนอิเล็กโทรไลต์ได้ (K) 2. ทดลองเพ่ือศกึ ษาสมบตั ิบางประการของสารละลายได้ (P) 3. ใช้เครื่องมอื และอปุ กรณท์ างวิทยาศาสตรไ์ ดอ้ ยา่ งถกู ต้อง (P) 4. ปฏบิ ัติตามขั้นตอนการทดลองได้อยา่ งถูกตอ้ ง (P) 5. ต้ังใจเรยี นรแู้ ละแสวงหาความรู้ รับผิดชอบต่อหน้าท่ที ี่ไดร้ ับมอบหมาย (A) 3. สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรเู้ พ่ิมเติม สาระการเรียนร้ทู อ้ งถ่ิน - สารในชีวติ ประจำวันหลายชนิดมสี มบัติเปน็ กรด พิจารณาตามหลักสูตรของสถานศกึ ษา หรือเบส ซ่งึ พจิ ารณาได้โดยใช้ทฤษฎกี รด-เบส ของอารเ์ รเนียส เบรนิ สเตด-ลาวรี หรือลวิ อิส 4. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด สารละลายอิเล็กโทรไลต์ คือ สารละลายที่นำไฟฟ้า เพราะมีตัวละลาย เป็นสารอิเล็กโทรไลต์ (electrolyte) ซึ่งสามารถแตกตวั เป็นไอออนในสารละลายได้ สารละลายนอนอิเล็กโทรไลต์ คือ สารละลายทไี่ มน่ ำไฟฟ้า เพราะมีตัวละลายเป็นสารนอนอิเล็กโทรไลต์ (non-electrolyte) ซ่งึ ไมส่ ามารถแตกตัวเป็นไอออนในสารละลายได้ 5. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียนและคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 1. มวี นิ ัย รับผดิ ชอบ 2. ความสามารถในการคิด 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. มงุ่ มัน่ ในการทำงาน 1) ทกั ษะการสังเกต 2) ทกั ษะการสำรวจค้นหา 3) ทักษะการทำงานรว่ มกัน

สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รยี น คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ 4) ทกั ษะการวิเคราะห์ 5) ทักษะการทดลอง 6) ทักษะการตคี วามหมายและลงขอ้ สรปุ 7) ทกั ษะการลงความเห็นจากข้อมูล 3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 6. กจิ กรรมการเรยี นรู้  แนวคดิ /รูปแบบการสอน/วธิ ีการสอน/เทคนิค : แบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) ชั่วโมงที่ 1 ข้ันนำ ขัน้ ที่ 1 กระตุ้นความสนใจ (Engage) 1. ครูใหน้ ักเรยี นทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี น หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 4 กรด-เบส และ Understanding Check เพ่อื วดั ความรเู้ ดิมของนกั เรยี นกอ่ นเข้าสกู่ ิจกรรม 2. ครูถามคำถาม BIG QUESTION จากหนงั สือเรียนรายวชิ าเพ่ิมเติมวิทยาศาสตร์ เคมี ม.5 เล่ม 2 หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 4 กรด-เบส ดังน้ี • สารละลายกรดและเบสแต่ละชนดิ จะสามารถแตกตัวไดเ้ ท่ากันหรือไม่ อยา่ งไร • เมอื่ อณุ หภมู ิสงู ขึน้ หรือความเขม้ ขน้ ของสารละลายเพิม่ ขึ้น การแตกตวั ของสารละลาย กรดและเบสจะเป็นอยา่ งไร • เมอื่ นำสารละลายกรดและเบสมาทำปฏกิ ิรยิ ากัน จะทราบได้อยา่ งไรวา่ สารทั้งสองทำ ปฏกิ ิรยิ าพอดีกนั จากนั้นให้นักเรยี นในหอ้ งรว่ มกนั แสดงความคดิ เห็น โดยครยู งั ไม่ตอ้ งเฉลย ซงึ่ เมอื่ เรยี นจบใน เนอื้ หาท่สี ามารถเฉลยคำถามแต่ละข้อได้ จึงให้ครูถามคำถามขอ้ นั้นแล้วให้นกั เรียนตอบอกี คร้งั หน่งึ 3. ครใู ห้นักเรียนยกตัวอยา่ งสารที่มสี มบัติเปน็ กรด เป็นเบส หรือเป็นกลางทพี่ บในชีวิตประจำวัน จากนัน้ ร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกบั สมบตั ิและวธิ กี ารทีใ่ ช้ตรวจสอบวา่ สารใดเป็นกรด เป็นเบส หรือ เป็นกลาง ขั้นสอน ขน้ั ที่ 2 สำรวจค้นหา (Explore) 1. ครูถามคำถาม Prior Knowledge จากหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวทิ ยาศาสตร์ เคมี ม.5 เล่ม 2 หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 4 กรด-เบส วา่ “สารละลายกรด-เบส เมอ่ื ละลายนำ้ แล้ว สามารถนำ ไฟฟ้าไดห้ รอื ไม”่ ใหน้ ักเรยี นรว่ มกนั ตอบคำถาม จากนัน้ ครูและนักเรยี นรว่ มกนั อภิปราย (แนวตอบ : สารละลายกรด-เบส เมือ่ ละลายน้ำแล้วบางชนดิ สามารถนำไฟฟา้ ได้ แตบ่ างชนดิ จะ ไม่นำไฟฟ้า) 2. นักเรยี นแบ่งกล่มุ กลุ่มละ 5 คน เพอื่ ทำการทดลอง เรอื่ ง สมบตั บิ างประการของสารละลาย จาก หนังสือเรยี นรายวิชาเพมิ่ เติมวทิ ยาศาสตร์ เคมี ม.5 เล่ม 2 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 4 กรด-เบส 3. ครูใช้รปู แบบการเรยี นรู้แบบร่วมมือ เทคนคิ LT มาจัดกระบวนการเรียนรู้ โดยกำหนดให้สมาชิก แตล่ ะคนภายในกลุ่มมีบทบาทหน้าที่ของตนเอง ดังนี้

• สมาชกิ คนที่ 1 : ทำหน้าทเ่ี ตรยี มวสั ดุ-อุปกรณ์ท่ีใชใ้ นการทดลอง เร่อื ง สมบตั ิบาง ประการของสารละลาย • สมาชิกคนท่ี 2 : ทำหนา้ ท่อี า่ นวธิ ีการทดลอง ทำความเขา้ ใจ และอธิบายให้สมาชกิ ใน กลมุ่ ฟัง • สมาชกิ คนท่ี 3 : ทำหน้าทบ่ี ันทึกผลการทดลอง • สมาชกิ คนท่ี 4 และ 5 : ทำหนา้ ทนี่ ำเสนอผลการทดลอง 4. สมาชกิ ทุกคนในกลมุ่ ชว่ ยกนั ลงมือทำการทดลอง (หมายเหตุ : ครเู รม่ิ ประเมินนักเรียน โดยใชแ้ บบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม) 5. นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทน (สมาชิกคนที่ 4 และ 5 ของกลุ่ม) ออกมานำเสนอผลการทดลอง จากนั้นใหน้ กั เรยี นทุกคนร่วมกันอภปิ รายผลการทดลองจนมคี วามเขา้ ใจท่ตี รงกัน (หมายเหตุ : ครเู รม่ิ ประเมินนักเรยี น โดยใชแ้ บบประเมินปฏิบตั ิการ) 6. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายและหาขอ้ สรุปจากการปฏบิ ัติการทดลอง โดยใชแ้ นวคำถาม ดังนี้ 1) เมื่อใช้การเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสเป็นเกณฑ์จะจำแนกสารละลายออกได้เป็นก่ีประเภท อะไรบ้าง (แนวตอบ : 3 ประเภท คือ สารละลายที่เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีน้ำเงินเป็นแดง แสดงว่ามีสมบัติเป็นกรด สารละลายที่เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีแดงเป็นสีน้ำเงิน แสดงว่ามีสมบัติเป็นเบส และสารละลายที่ไม่เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัส แสดงว่ามีสมบัติ เป็นกลาง) 2) เมอื่ ใชส้ มบตั กิ ารนำไฟฟ้าเป็นเกณฑ์จะจำแนกสารละลายออกไดเ้ ป็นกป่ี ระเภท อะไรบา้ ง (แนวตอบ : 2 ประเภท คอื สารละลายทนี่ ำไฟฟ้าไดแ้ ละสารละลายท่ีนำไฟฟา้ ไม่ได)้ 3) สารละลายทน่ี ำไฟฟ้าได้ สามารถนำไฟฟา้ ไดด้ เี ทา่ กนั หรอื ไม่ (แนวตอบ : ไมเ่ ท่ากนั บางชนดิ นำไฟฟา้ ได้ดี ส่วนบางชนดิ นำไฟฟา้ ไดเ้ ล็กน้อย) (หมายเหตุ : ครเู ร่มิ ประเมนิ นักเรยี น โดยใช้แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบุคคล) 7. นกั เรียนและครรู ว่ มกนั สรุปผลจากการทำการทดลอง ซ่ึงไดข้ ้อสรุปว่า “สารละลายที่มีสมบัติกรด และเบสทุกชนิดสามารถนำไฟฟ้าได้ ส่วนสารละลายที่มีสมบัติเป็นกลาง บางชนิดสามารถนำ ไฟฟา้ ได้ แต่บางชนิดไม่นำไฟฟ้า โดยสารละลายท่นี ำไฟฟ้าไดแ้ ต่ละชนิดจะมคี วามสามารถในการ นำไฟฟา้ ไดไ้ มเ่ ท่ากัน บางชนิดนำไฟฟา้ ไดด้ ี บางชนดิ นำไฟฟา้ ได้นอ้ ย” ชว่ั โมงท่ี 2 ขั้นที่ 2 สำรวจค้นหา (Explore) 8. นักเรียนแต่ละคนศึกษาขอ้ มูลเกี่ยวกับสารละลายอิเล็กโทรไลต์แก่ สารละลายอิเล็กโทรไลต์อ่อน และสารนอนอเิ ล็กโทรไลต์ จากหนงั สอื เรียนรายวิชาเพิม่ เติมวิทยาศาสตร์ เคมี ม.5 เลม่ 2 หน่วย การเรียนรู้ท่ี 4 กรด-เบส (หมายเหตุ : ครูเร่มิ ประเมินนักเรยี น โดยใช้แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบคุ คล) ข้นั ที่ 3 อธิบายความรู้ (Explain) 9. ครูต้งั คำถามให้นักเรยี นรว่ มกันอภปิ รายวา่ “สารละลายอเิ ลก็ โทรไลต์แก่ สารละลายอเิ ลก็ โทรไลต์ ออ่ น และสารนอนอเิ ลก็ โทรไลต์ มีลักษณะอย่างไร”

(แนวตอบ : สารละลายอิเล็กโทรไลต์แก่ คือ สารละลายที่สามารถแตกตัวเป็นไอออนได้หมด หรือเกือบหมด สารละลายอิเล็กโทรไลต์อ่อน คือ สารละลายที่แตกตัวเป็นไอออนได้น้อย หรือ แตกตัวได้ไม่หมด ส่วนสารนอนอิเล็กโทรไลต์แก่ คือ สารที่ไม่แตกตัวเป็นไอออน หรือแตกตัว เป็นไอออนไดน้ อ้ ยมาก) 10. ครูยกตัวอย่างโจทย์เกี่ยวกับ สารละลายอิเล็กโทรไลต์และนอนอิเล็กโทรไลต์ โดยครูเขียนโจทย์ และแสดงวธิ ที ำใหน้ กั เรยี นดบู นกระดาน ดังนี้ จงเขียนสมการแสดงการแตกตัวเป็นไอออนในน้ำของสารต่อไปนี้ HCN HCl NH4OH และ NaOH วิธที ำ HCN (aq) + H2O (l) ⇌ H+ (aq) + CN- (aq) H2O HCl (aq) ⟶ H+ (aq) + Cl- (aq) NH4OH (aq) + H2O (l) ⇌ HH4+ (aq) + OH- (aq) H2O NaOH (aq) ⟶ Na+ (aq) + Cl- (aq) (หมายเหตุ : ครูเร่มิ ประเมินนกั เรยี น โดยใช้แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบคุ คล) ขัน้ ที่ 4 ขยายความเข้าใจ (Elaborate) 11. ครเู ปดิ โอกาสให้นักเรียนซกั ถามขอ้ สงสยั ในเนอ้ื หา เรือ่ ง สารละลายอเิ ลก็ โทรไลตแ์ ละ นอนอิเล็กโทรไลต์ ว่ามีส่วนไหนที่ยังไม่เข้าใจ และให้ความรู้เพิ่มเติมในส่วนนั้น เพื่อจะใช้เป็น ความรู้เบ้ืองต้นสำหรับการเรยี นในเนือ้ หาตอ่ ๆ ไป 12. นักเรียนทำแบบฝึกหัดในหนังสือแบบฝึกหัดรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ เคมี ม.5 เล่ม 2 หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 4 กรด-เบส 13. นักเรียนทำ Topic Question จากหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ เคมี ม.5 เล่ม 2 หน่วยการเรยี นรู้ที่ 4 กรด-เบส ลงในสมดุ ประจำตัว (หมายเหตุ : ครเู ริ่มประเมนิ นกั เรียน โดยใชแ้ บบสังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล) ขั้นสรปุ ขั้นที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครูประเมนิ ผลนกั เรยี น โดยการสังเกตพฤตกิ รรมการตอบคำถาม พฤตกิ รรมการทำงานรายบุคคล พฤติกรรมการทำงานกลมุ่ 2. ครตู รวจสอบผลจากการทำแบบทดสอบกอ่ นเรียน หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 4 กรด-เบส 3. ครูตรวจสอบผลจากการทำแบบฝกึ หดั 4. ครูตรวจสอบผลจากการทำ Topic Question 5. ครูวัดและประเมินผลจากการนำเสนอผลการทดลอง เรื่อง สมบัตบิ างประการของสารละลาย 6. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปเกีย่ วกบั สารละลายอเิ ล็กโทรไลต์และนอนอิเลก็ โทรไลต์ซ่ึงไดข้ ้อสรปุ ดงั นี้ • อิเล็กโทรไลต์แก่ (stong electrolyte) คือ สารที่สามารถแตกตัวเป็นไอออนได้หมดหรือ เกอื บหมด ทำให้ในสารละลายนัน้ มีไอออนเป็นจำนวนมาก จงึ นำไฟฟา้ ไดแ้ ก่ กรดแก่ เบส แก่ และเกลอื ที่ละลายน้ำได้ดี

• อิเลก็ โทรไลต์อ่อน (weak electrolyte) คอื สารทีแ่ ตกตวั ใหไ้ อออนไดน้ ้อย หรือแตกตัวได้ ไม่หมด แสดงว่ามีโมเลกุลของตัวละลายบางส่วนเท่านั้นที่สามารถแตกตัวเป็นไอออนได้ โดยส่วนใหญย่ งั คงอยู่เป็นโมเลกลุ จึงนำไฟฟ้าได้น้อย • สารนอนอิเล็กโทรไลต์ (non-electrolyte) คือ สารที่ไม่แตกตัวเป็นไอออน หรือแตกตัว เปน็ ไอออนไดน้ อ้ ยมาก 7. การวดั และประเมนิ ผล รายการวดั วิธกี าร เคร่ืองมอื เกณฑก์ ารประเมิน 7.1 การประเมินก่อน เรียน - แบบทดสอบกอ่ น - ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบกอ่ นเรยี น - ประเมนิ ตามสภาพจรงิ เรียน หน่วยการ กอ่ นเรยี น หนว่ ยการ หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 4 เรยี นรทู้ ่ี 4 เรยี นรูท้ ่ี 4 กรด-เบส กรด-เบส กรด-เบส 7.2 ประเมินระหว่าง การจัดกิจกรรม การเรียนรู้ 1) สารละลายอิเลก็ - ตรวจแบบฝึกหดั - แบบฝกึ หัด - รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ โทรไลต์และ - ตรวจสมุดประจำตัว - สมุดประจำตวั - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ นอนอิเลก็ โทรไลต์ 2) การทดลอง เร่ือง - ประเมนิ การปฎิบตั ิ - แบบประเมินการปฎบิ ัติ - ระดับคุณภาพ 2 สมบตั ิบางประการ การ การ ผ่านเกณฑ์ ของสารละลาย 3) พฤตกิ รรม - สังเกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม - ระดบั คุณภาพ 2 การทำงาน การทำงานรายบุคคล การทำงานรายบคุ คล ผ่านเกณฑ์ รายบคุ คล 4) พฤตกิ รรมการ - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม - ระดับคุณภาพ 2 ทำงานกลุ่ม การทำงานกลุ่ม การทำงานกลุ่ม ผ่านเกณฑ์ 5) คุณลักษณะ - สงั เกตความมวี ินัย - แบบประเมนิ - ระดบั คุณภาพ 2 อันพงึ ประสงค์ รบั ผิดชอบ ใฝ่เรียนรู้ คณุ ลักษณะ ผ่านเกณฑ์ และมงุ่ ม่นั ในการทำงาน อันพึงประสงค์ 8. สอ่ื /แหลง่ การเรยี นรู้ 8.1 สอื่ การเรยี นรู้ 1) หนังสอื เรยี นรายวชิ าเพม่ิ เตมิ วิทยาศาสตร์ เคมี ม.5 เลม่ 2 หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 4 กรด-เบส 2) หนังสือแบบฝึกหัดรายวชิ าเพ่มิ เติมวทิ ยาศาสตร์ เคมี ม.5 เลม่ 2 หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 4 กรด-เบส 3) วสั ด-ุ อุปกรณท์ ใ่ี ชใ้ นการทดลอง เรอื่ ง สมบตั ิบางประการของสารละลาย 4) สมดุ ประจำตวั 8.2 แหล่งการเรยี นรู้ - ห้องเรียน

9. กิจกรรมเสนอแนะ ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ลงช่ือ.................................................. (นางสาวกานดา วุฒิเศลา) ผูเ้ ขยี นแผนการจัดการเรียนรู้ ข้อเสนอแนะของหวั หน้ากลมุ่ สาระการเรียนรู้ ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ลงชอื่ ......................................................... (นางกมลชนก เทพบุ) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ขอ้ เสนอแนะของรองผู้อำนวยการกลุม่ บริหารงานวิชาการ ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ลงช่ือ...................................................... (นายวิเศษ ฟองตา) รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารงานวิชาการ ข้อเสนอแนะของผู้อำนวยการโรงเรียน ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ลงชือ่ .................................................... (นายอดิศร แดงเรอื น) ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31

วช-ร 06 แบบบนั ทกึ หลงั การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ชื่อหน่วยการเรียนรทู้ ่ี 10 เรอ่ื ง กรด-เบส แผนการเรยี นรู้ที่ 1 เรอ่ื ง สารละลายอเิ ลก็ โทรไลต์ รายวชิ า เคมี 4 ชั้น มธั ยมศึกษาปที ่ี 5 รหสั วชิ า ว 32204 ครูผ้สู อน นางสาวกานดา วุฒเิ ศลา ตำแหนง่ ครูผูช้ ่วย เวลาที่ใช้ 2 ชัว่ โมง ************************* ผลการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ข้อคน้ พบระหวา่ ง ปญั หาที่พบ แนวทางแกไ้ ข ทมี่ กี ารจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ เนื้อหา กิจกรรมการเรยี นรู้ สื่อประกอบการเรียนรู้ พฤตกิ รรม/การมีสว่ นรว่ มของผู้เรียน ลงชื่อ ครูผูจ้ ัดกิจกรรมการเรียนรู้ (นางสาวกานดา วฒุ เิ ศลา) ตำแหนง่ ครผู ู้ชว่ ย

แผนการจดั การเรยี นรู้ หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 10 เร่อื ง กรด-เบส แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่ี 2 เร่ือง สารละลายกรดสารละลายเบส รายวิชา เคมี 4 รหัสวชิ า ว 32204 ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 5 ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2563 นำ้ หนกั เวลาเรยี น 1.5 หนว่ ยกจิ เวลาเรียน 3 ชั่วโมง/สัปดาห์ เวลาท่ีใช้ในการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ 1 ช่ัวโมง 1. ผลการเรียนรู้ ระบุ และอธบิ ายว่าสารเป็นกรดหรือเบสโดยใช้ทฤษฎกี รด-เบสของอารเ์ รเนยี ส เบรินสเตด-ลาวรีและลิวอสิ 2. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. บอกชนิดของไอออนท่ีทำใหส้ ารละลายแสดงสมบตั ิเป็นกรดหรอื เบสได้ (K) 2. เขยี นสมการแสดงการแตกตัวของกรดและเบสในนำ้ ได้ (P) 3. ตัง้ ใจเรียนรแู้ ละแสวงหาความรู้ รับผดิ ชอบตอ่ หนา้ ที่ท่ไี ด้รบั มอบหมาย (A) 3. สาระการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้เพมิ่ เตมิ สาระการเรยี นรู้ท้องถนิ่ - สารในชวี ิตประจำวันหลายชนดิ มีสมบัติเปน็ กรด พจิ ารณาตามหลักสูตรของสถานศกึ ษา หรือเบส ซ่งึ พิจารณาไดโ้ ดยใชท้ ฤษฎีกรด-เบส ของอารเ์ รเนยี ส เบรินสเตด-ลาวรี หรอื ลวิ อสิ 4. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด สารละลายกรดทุกชนิดมีไอออนที่เหมือนกัน คือ H3O+ ซึ่งเป็นไอออนที่แสดงสมบัติของกรด ทำให้ สารละลายกรดเปลี่ยนสกี ระดาษลิตมสั จากสีน้ำเงนิ เปน็ สีแดง สารละลายเบสทุกชนิดมีไอออนที่เหมือนกัน คือ OH- ซึ่งเป็นไอออนที่แสดงสมบัติของเบส ทำให้ สารละลายกรดเปล่ยี นสกี ระดาษลติ มัสจากสแี ดงเปน็ สีน้ำเงนิ 5. สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รียนและคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ สมรรถนะสำคัญของผ้เู รียน คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 1. มีวินยั รบั ผิดชอบ 2. ความสามารถในการคิด 2. ใฝเ่ รยี นรู้ 3. มุ่งมั่นในการทำงาน 1) ทักษะการสงั เกต 2) ทักษะการสำรวจคน้ หา 3) ทกั ษะการวเิ คราะห์ 4) ทกั ษะการเชือ่ มโยง 5) ทักษะการทำงานรว่ มกนั 3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ

6. กิจกรรมการเรยี นรู้  แนวคิด/รปู แบบการสอน/วธิ ีการสอน/เทคนิค : แบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) ชว่ั โมงที่ 1 ขั้นนำ ขั้นท่ี 1 กระตนุ้ ความสนใจ (Engage) 1. ครถู ามคำถามเพอ่ื กระตุ้นความสนใจนกั เรยี นว่า “นกั เรยี นคิดว่าสารละลายกรดและสารละลาย เบสแตกตัวให้ไอออนทีแ่ ตกต่างกนั หรอื ไม่ อยา่ งไร” ซึ่งครูยงั ไมต่ ้องเฉลยคำตอบท่ถี ูกต้องกบั นักเรียน 2. ครูถามคำถาม Prior Knowledge จากหนงั สอื เรียนรายวชิ าเพ่ิมเติมวิทยาศาสตร์ เคมี ม.5 เลม่ 2 หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 4 กรด-เบส ว่า “สารละลายกรดและสารละลายเบสมีลกั ษณะอย่างไร” ให้ นกั เรยี นร่วมกนั ตอบคำถาม จากน้นั ครูและนักเรยี นรว่ มกนั อภิปราย (แนวตอบ : สารละลายกรดเป็นสารละลายท่ีเปลี่ยนสกี ระดาษลติ มัสจากสนี ้ำเงนิ เป็นสแี ดง สามารถนำไฟฟ้าได้ โดยบางชนดิ จะนำไฟฟา้ ได้ดี สว่ นบางชนดิ จะนำไฟฟา้ ไดน้ อ้ ย สว่ น สารละลายเบสเป็นสารละลายท่ีเปลยี่ นสีกระดาษลิตมสั จากสีแดงเป็นสีนำ้ เงิน สามารถนำไฟฟ้า ได้ โดยบางชนิดจะนำไฟฟา้ ได้ดี ส่วนบางชนดิ จะนำไฟฟ้าได้นอ้ ยเชน่ เดยี วกับสารละลายกรด) ข้ันสอน ข้นั ที่ 2 สำรวจค้นหา (Explore) 1. นักเรยี นจบั คู่กบั เพื่อน โดยให้คนหนงึ่ ศกึ ษาเกย่ี วกับไอออนในสารละลายกรด สว่ นอีกคนศกึ ษา เกย่ี วกบั ไอออนในสารละลายเบส จากหนังสือเรียนรายวิชาเพ่มิ เตมิ วิทยาศาสตร์ เคมี ม.5 เลม่ 2 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 4 กรด-เบส จากนนั้ นำเร่ืองทต่ี นเองศึกษามาอธบิ ายและแลกเปลีย่ น ความรูก้ ับเพอื่ นทเี่ ป็นคูก่ ัน แล้วร่วมกันอภิปรายจนเกิดความเข้าใจท่ีตรงกัน (หมายเหตุ : ครเู ริ่มประเมนิ นักเรยี น โดยใช้แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม) ข้นั ท่ี 3 อธิบายความรู้ (Explain) 2. ครตู งั้ คำถามใหน้ ักเรียนรว่ มกนั อภปิ ราย เรื่อง สารละลายกรดและสารละลายเบส ดงั น้ี 1) สารละลายกรดทุกชนิดจะมไี อออนชนิดใดทเ่ี หมอื นกัน (แนวตอบ : ไฮโดรเนยี มไอออน (H3O+)) 2) สารละลายเบสทุกชนดิ จะมไี อออนชนิดใดทเ่ี หมือนกัน (แนวตอบ : ไฮดรอกไซด์ไอออน (OH-)) 3) จงเขียนสมการแสดงการแตกตวั ในน้ำของ HClO และ Ba(OH)2 พรอ้ มระบุวา่ ใน สารละลายมีไอออนและโมเลกุลใดบ้าง (แนวตอบ : HClO เป็นสารละลายอิเลก็ โทรไลตอ์ ่อน เมอ่ื ละลายน้ำจะแตกตัวเปน็ ไอออนไดบ้ างส่วน ดงั สมการ HClO (aq) + H2O (l) ⇌ H3O+ (aq) + ClO- (aq) ในสารละลายจงึ มี H3O+ ClO- HClO และ H2O อยู่ Ba(OH)2 เป็นสารละลายอิเล็กโทรไลต์แก่ เม่อื ละลายนำ้ จะแตกตวั เป็นไอออนได้หมด ดงั สมการ

H2O Ba(OH)2 (s) ⟶ Ba2+ (aq) + 2OH- (aq) ในสารละลายจงึ มี Ba2+ OH- และ H2O อย)ู่ (หมายเหตุ : ครเู ร่ิมประเมินนักเรยี น โดยใช้แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบุคคล) ขน้ั ท่ี 4 ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate) 3. ครเู ปดิ โอกาสให้นักเรียนซกั ถามข้อสงสยั ในเนอื้ หา เรื่อง สารละลายกรดและสารละลายเบส วา่ มสี ่วนไหนทย่ี ังไมเ่ ข้าใจ และให้ความรเู้ พิ่มเติมในสว่ นนนั้ เพือ่ จะใชเ้ ปน็ ความรเู้ บอื้ งต้นสำหรบั การเรียนในเนื้อหาตอ่ ๆ ไป 4. นกั เรยี นทำแบบฝกึ หดั ในหนงั สอื แบบฝกึ หัดรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ เคมี ม.5 เลม่ 2 หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 4 กรด-เบส 5. นกั เรียนทำ Topic Question จากหนังสือเรียนรายวชิ าเพ่มิ เตมิ วิทยาศาสตร์ เคมี ม.5 เลม่ 2 หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 4 กรด-เบส ลงในสมดุ ประจำตัว (หมายเหตุ : ครเู รมิ่ ประเมินนักเรียน โดยใช้แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบคุ คล) ขน้ั สรุป ขัน้ ที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครปู ระเมินผลนักเรยี น โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคำถาม พฤติกรรมการทำงานรายบุคคล พฤตกิ รรมการทำงานกลมุ่ 2. ครตู รวจสอบผลจากการทำแบบฝึกหัด 3. ครตู รวจสอบผลจากการทำ Topic Question 4. นักเรียนและครูรว่ มกันสรปุ เกีย่ วกับสารละลายกรดและสารละลายเบสซง่ึ ไดข้ ้อสรุป ดงั นี้ • สารละลายกรดทุกชนดิ มีไอออนที่เหมือนกัน คือ H3O+ ซงึ่ เป็นไอออนทแ่ี สดงสมบัติของ กรด ทำให้สารละลายกรดเปล่ียนสกี ระดาษลิตมัสจากสีนำ้ เงนิ เป็นสีแดง • สารละลายเบสทกุ ชนดิ มไี อออนทีเ่ หมอื นกัน คือ OH- ซ่ึงเปน็ ไอออนทแ่ี สดงสมบัติของเบส ทำให้สารละลายกรดเปลยี่ นสีกระดาษลติ มัสจากสีแดงเป็นสีนำ้ เงนิ 7. การวัดและประเมนิ ผล รายการวดั วิธีการ เครอ่ื งมือ เกณฑ์การประเมิน 7.1 ประเมนิ ระหวา่ ง - ตรวจแบบฝกึ หดั - แบบฝึกหัด - รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ การจัดกจิ กรรม - ตรวจสมุดประจำตวั - สมดุ ประจำตวั - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ การเรียนรู้ - สังเกตพฤติกรรม 1) สารละลายกรด การทำงานรายบุคคล - แบบสงั เกตพฤติกรรม - ระดบั คณุ ภาพ 2 และสารละลาย การทำงานรายบคุ คล ผา่ นเกณฑ์ เบส 2) พฤติกรรม การทำงาน รายบุคคล

รายการวดั วธิ กี าร เคร่ืองมอื เกณฑก์ ารประเมนิ 3) พฤติกรรมการ - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม - ระดับคณุ ภาพ 2 ทำงานกล่มุ ผ่านเกณฑ์ การทำงานกลุม่ การทำงานกลมุ่ 4) คุณลกั ษณะ - ระดบั คุณภาพ 2 อันพึงประสงค์ - สงั เกตความมวี นิ ัย - แบบประเมิน ผา่ นเกณฑ์ รับผิดชอบ ใฝ่เรยี นรู้ คุณลกั ษณะ และมุ่งมัน่ ในการทำงาน อนั พงึ ประสงค์ 8. ส่อื /แหล่งการเรียนรู้ 8.2 สอ่ื การเรียนรู้ 1) หนังสอื เรยี นรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ เคมี ม.5 เลม่ 2 หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 4 กรด-เบส 2) หนงั สอื แบบฝกึ หัดรายวิชาเพิ่มเตมิ วทิ ยาศาสตร์ เคมี ม.5 เล่ม 2 หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 4 กรด-เบส 3) สมุดประจำตวั 8.2 แหล่งการเรยี นรู้ - 9. กิจกรรมเสนอแนะ ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ลงช่ือ.................................................. (นางสาวกานดา วฒุ เิ ศลา) ผเู้ ขยี นแผนการจัดการเรียนรู้ ข้อเสนอแนะของหัวหน้ากล่มุ สาระการเรียนรู้ ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ลงชอ่ื ......................................................... (นางกมลชนก เทพบ)ุ หวั หนา้ กลุม่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ขอ้ เสนอแนะของรองผ้อู ำนวยการกลุ่มบริหารงานวชิ าการ ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ลงชอื่ ...................................................... (นายวิเศษ ฟองตา) รองผ้อู ำนวยการกลุ่มบริหารงานวชิ าการ ขอ้ เสนอแนะของผู้อำนวยการโรงเรยี น ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ลงชอื่ .................................................... (นายอดิศร แดงเรอื น) ผู้อำนวยการโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31

วช-ร 06 แบบบนั ทึกหลงั การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ช่อื หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 10 เรอื่ ง กรด-เบส แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรอื่ ง สารละลายกรดสารละลายเบส รายวชิ า เคมี 4 ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 5 รหัสวิชา ว 32204 ครผู ูส้ อน นางสาวกานดา วฒุ เิ ศลา ตำแหน่ง ครผู ู้ช่วย เวลาท่ใี ช้ 1 ชวั่ โมง ************************* ผลการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ข้อคน้ พบระหวา่ ง ปญั หาที่พบ แนวทางแกไ้ ข ทม่ี กี ารจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ เนอ้ื หา กจิ กรรมการเรยี นรู้ สอ่ื ประกอบการเรยี นรู้ พฤติกรรม/การมีสว่ นรว่ มของผูเ้ รยี น ลงชือ่ ครูผูจ้ ดั กิจกรรมการเรยี นรู้ (นางสาวกานดา วฒุ เิ ศลา) ตำแหน่ง ครผู ูช้ ่วย

แผนการจัดการเรยี นรู้ หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 10 เร่อื ง กรด-เบส แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 3 เร่อื ง ทฤษฎีกรด-เบส รายวชิ า เคมี 4 รหสั วิชา ว 32204 ระดบั ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5 ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563 น้ำหนักเวลาเรยี น 1.5 หน่วยกิจ เวลาเรยี น 3 ชว่ั โมง/สัปดาห์ เวลาทีใ่ ช้ในการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ 5 ชั่วโมง 1. ผลการเรียนรู้ 1. ระบุ และอธิบายวา่ สารเปน็ กรดหรอื เบสโดยใชท้ ฤษฎกี รด-เบสของอาร์เรเนยี ส เบรินสเตด-ลาวรี และลิวอิส 2. ระบคุ ูก่ รด-เบสของสารตามทฤษฎกี รด-เบสของเบรินสเตด-ลาวรี 2. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. อธบิ ายความหมายของกรดและเบสตามทฤษฎกี รด-เบสของอาร์เรเนยี ส เบรนิ สเตด-ลาวรี และลิวอิส ได้ (K) 2. บอกได้วา่ สารใดเป็นกรดและสารใดเปน็ เบสตามทฤษฎีกรด-เบสของเบรินสเตด-ลาวรไี ด้ (K) 3. อธิบายความหมายของคู่กรด-เบส และระบุคู่กรด-เบสในปฏิกริ ิยาทก่ี ำหนดให้ได้ (K) 4. อธิบายเหตผุ ลที่สารบางชนดิ แสดงสมบัตเิ ป็นทง้ั กรดและเบส รวมทง้ั เขียนสมการแสดงการถา่ ยโอน โปรตอนได้ (K) 5. บอกความแตกต่างของจำนวนโปรตอนของสารที่เป็นคูก่ รด-เบสกนั พรอ้ มทง้ั เขียนแสดงปฏกิ ริ ยิ าการ ถา่ ยโอนโปรตอนของสารได้ (K) 6. ทดลองเพือ่ ศกึ ษาปฏิกริ ิยาการใหแ้ ละรบั โปรตอนของโซเดยี มไฮโดรเจนคาร์บอเนตได้ (P) 7. ใช้เครอ่ื งมือและอปุ กรณ์ทางวิทยาศาสตรไ์ ด้อย่างถกู ตอ้ ง (P) 8. ปฏบิ ตั ิตามขั้นตอนการทดลองไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง (P) 9. ตง้ั ใจเรียนร้แู ละแสวงหาความรู้ รับผิดชอบตอ่ หนา้ ที่ทไี่ ด้รบั มอบหมาย (A) 3. สาระการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรเู้ พม่ิ เตมิ สาระการเรยี นรทู้ ้องถ่ิน - สารในชวี ิตประจำวนั หลายชนิดมีสมบตั ิเปน็ กรด พจิ ารณาตามหลักสูตรของสถานศึกษา หรอื เบส ซ่ึงพจิ ารณาได้โดยใชท้ ฤษฎกี รด-เบส ของอารเ์ รเนียส เบรนิ สเตด-ลาวรี หรือลิวอิส - ตามทฤษฎีกรด-เบสของเบรินสเตด-ลาวรี เมือ่ กรดหรอื เบสละลายน้ำหรือทำปฏกิ ริ ยิ ากับ สารอื่นจะมีการถ่ายโอนโปรตอนระหวา่ ง สารต้ังตน้ ท่ีเปน็ กรดและเบส เกิดเปน็ ผลิตภณั ฑ์ ซงึ่ เปน็ โมเลกุลหรือไอออนทเี่ ป็นคกู่ รด-เบส