ตัวอย่างสภาพแวดล้อมที่ไม่ปลอดภัย

3.  Enforcement (การออกกฎข้อบังคับ) คือการกำหนดวิธีการทำงานอย่างปลอดภัย และมาตรการบังคับควบคุมให้คนงานปฏิบัติตาม เป็นระเบียบปฏิบัติที่ต้องประกาศให้ทราบทั่วกัน หากผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามจะต้องถูกลงโทษ เพื่อให้เกิดความสำนึกและหลีกเลี่ยงการทำงานที่ไม่ถูกต้อง หรือเป็นอันตราย

อัตราค่าบริการสัมภาระส่วนเกินนี้ใช้เฉพาะช่วงของการเดินทางในประเทศเท่านั้นภายใต้เกณฑ์พิจารณาตามน้ำหนักและเป็นอัตราตายตัวดังนี้
บาทต่อกิโลกรัม (ระหว่าง...และ...)กรุงเทพฯเชียงใหม่เชียงใหม่60-เชียงราย70-หาดใหญ่80-ขอนแก่น55-กระบี่70-ภูเก็ต70125สุราษฎร์ธานี65-อุบลราชธานี60-อุดรธานี55-

หมายเหตุ
1. “ตารางค่าบริการสัมภาระส่วนเกินสำหรับเที่ยวบินในประเทศ” ข้างต้นนี้ให้ใช้ได้กับการเดินทางในวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 เป็นต้นไปจนกว่าจะมีการประกาศเปลี่ยนแปลง
2. อัตราค่าบริการสัมภาระส่วนเกินคิดตามน้ำหนักที่เกินเป็นกิโลกรัมและเป็นสกุลเงินบาท
3. ค่าบริการสัมภาระส่วนเกินต่อกิโลกรัมสำหรับบริการในประเทศใดๆของการบินไทยคือ 1.5% ของค่าบัตรโดยสารชั้นประหยัดแบบบินตรงเที่ยวเดียวปกติสูงสุด
4. ไม่อนุญาตให้ใช้อัตราส่วนลดของเด็กและเด็กเล็กได้
5. อัตราค่าบริการสัมภาระส่วนเกินสำหรับเที่ยวบินระหว่างประเทศจะแสดงแยกไว้เป็นสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐ
6.หากมีการฝากสัมภาระผ่านตั้งแต่เที่ยวบินในประเทศของการบินไทยต่อเนื่องไปยังช่วงของการเดินทางระหว่างประเทศกับการบินไทย การคิดค่าบริการสัมภาระส่วนเกินจะแบ่งคิดตามโซน
7. ช่วงของการเดินทางในประเทศกับการบินไทยคือโซน 1 (โปรดดูนิยามโซนต่างๆในตารางค่าบริการสัมภาระส่วนเกินสำหรับการเดินทางระหว่างประเทศ)
8. เงื่อนไขสำหรับข้อ 5 ในเรื่องการแปลงค่าเงิน ค่าบริการสัมภาระส่วนเกินที่ประกาศเป็นสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐจะแปลงเป็นสกุลเงินท้องถิ่นโดยใช้อัตราขายของธนาคารในวันที่มีการคิดค่าบริการสัมภาระส่วนเกินดังกล่าว

ค่าบริการสัมภาระส่วนเกิน (ภายในทีซี 3 และ ระหว่างทีซี 2 และทีซี 3)  
สัมภาระน้ำหนักเกินทั้งหมดจะต้องถูกชั่งและเก็บค่าบริการก่อนที่ผู้โดยสารจะขึ้นเครื่อง น้ำหนักสัมภาระที่อนุญาตอาจเปลี่ยนแปลงได้ตามเคบิน ระดับสถานะ สถานะทางการทหาร เอกสารเดินทางและวันที่ซื้อ ค่าบริการสัมภาระส่วนเกินจะเรียกเก็บดังต่อไปนี้โดยไม่คำนึงถึงคลาสของตั๋ว

อัตราค่าบริการสัมภาระส่วนเกินนี้ใช้เฉพาะช่วงของการเดินทางภายในทีซี 3 และ ระหว่างทีซี 2 และทีซี 3 ภายใต้เกณฑ์พิจารณาตามน้ำหนักและเป็นอัตราตามโซนดังนี้

ดอลลาร์สหรัฐต่อกิโลกรัมไปยัง โซน1ไปยัง โซน2ไปยัง โซน3ไปยัง โซน4
ไปยัง โซน5ไปยัง โซน6ออกจากโซน11215404570-ออกจากโซน21540455570-ออกจากโซน34045556070-ออกจากโซน44555607070-ออกจากโซน57070707070-ออกจากโซน6------

หมายเหตุ
1. “ตารางค่าบริการสัมภาระส่วนเกินสำหรับเที่ยวบินภายในทีซี 3 และ ระหว่างทีซี 2 และทีซี 3” ข้างต้นนี้ให้ใช้ได้กับการเดินทางในวันที่ 1 กันยายน 2561 เป็นต้นไปจนกว่าจะมีการประกาศเปลี่ยนแปลง
2. อัตราค่าบริการสัมภาระส่วนเกินคิดตามน้ำหนักที่เกินเป็นกิโลกรัมสำหรับโซน 1-5
3. ไม่อนุญาตให้ใช้อัตราส่วนลดของเด็กและเด็กเล็กได้
4. อัตราค่าบริการสัมภาระส่วนเกินไปยัง/มาจากโซน 6 หรือสหรัฐอเมริกา/แคนาดาคำนวณตามเกณฑ์พิจารณาตามจำนวนชิ้น (ข้อมูลเพิ่มเติมในหน้า “ค่าบริการสัมภาระส่วนเกิน (ไปยัง/มาจากสหรัฐอเมริกา/แคนาดา)
5. หากมีการฝากสัมภาระผ่านตั้งแต่เที่ยวบินในประเทศของการบินไทยต่อเนื่องไปยังช่วงของการเดินทางระหว่างประเทศกับการบินไทย การคิดค่าบริการสัมภาระส่วนเกินจะแบ่งคิดตามโซน ช่วงของการเดินทางในประเทศกับการบินไทยคือโซน 1 (โปรดดูนิยามโซนต่างๆในตารางค่าบริการสัมภาระส่วนเกินสำหรับการเดินทางระหว่างประเทศ)
6. การแปลงค่าเงิน – ค่าบริการสัมภาระส่วนเกินที่ประกาศเป็นสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐจะแปลงเป็นสกุลเงินท้องถิ่นโดยใช้อัตราขายของธนาคารในวันที่มีการคิดค่าบริการสัมภาระส่วนเกินดังกล่าว
7. นิยามของโซนต่างๆ

โซน

นิยาม

โซน 1

บังคลาเทศ/ กัมพูชา/ จีน (คุนหมิง)/ ลาว/ มาเลเซีย/ พม่า/ สิงคโปร์/ ไทยและเที่ยวบินในประเทศไทยของการบินไทย/ เวียดนาม/ เส้นทางระหว่างฮ่องกง - จีนและไทเป/ เส้นทางระหว่าง ไทเปและเกาหลีใต้/ เส้นทางระหว่างการาจีและมัสกัต/ เส้นทางระหว่าง ภูเก็ตและสิงคโปร์/ เส้นทางระหว่าง ภูเก็ตและกัวลาลัมเปอร์

โซน 2

บรูไนดารุสซาลาม/ จีน (ปักกิ่ง เซี่ยงไฮ้ เฉิงตู กวางโจว เซี่ยเหมิน ฉงชิ่ง ฉางซา)/ฮ่องกง - จีน/ อินเดีย/ อินโดนีเซีย/ มาเก๊า/ เนปาล/ ฟิลิปปินส์/ ศรีลังกา/ ไต้หวัน - จีน/ เส้นทางระหว่าง ฮ่องกงและเกาหลีใต้/ เส้นทางระหว่าง ภูเก็ตและฮ่องกง - จีน/ เส้นทางระหว่างภูเก็ตและปักกิ่ง

โซน 3

ออสเตรเลีย (เพิร์ท)/ บาห์เรน/ ญี่ปุ่น/ เกาหลี/ โอมาน/ ปากีสถาน/ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์/ อิหร่าน/ เส้นทางระหว่าง ภูเก็ตและเกาหลีใต้/ เส้นทางระหว่าง ภูเก็ตและเพิร์ท/ เส้นทางระหว่างภูเก็ตและไทเป

โซน 4

ออสเตรเลีย (ซิดนีย์ บริสเบน เมลเบิร์น)/อียิปต์/ อิสราเอล/ มาดากัสการ์/ ตุรกี/ รัสเซีย (มอสโก)/ เส้นทางระหว่าง ซิดนีย์และภูเก็ต

โซน 5

ออสเตรีย/ เบลเยียม/ เดนมาร์ค/ เชโกสโลวาเกีย/ ฟินแลนด์/  ฝรั่งเศส/ ฮังการี/ เยอรมัน/ อิตาลี/ เนเธอร์แลนด์/ นิวซีแลนด์/ นอร์เวย์/ โปแลนด์/ โปรตุเกส/ แอฟริกาใต้/ สเปน/ สวีเดน/ สวิตเซอร์แลนด์/ สหราชอาณาจักร/ เส้นทางระหว่าง สตอกโฮล์มและภูเก็ต/ เส้นทางระหว่าง โคเปนเฮเกนและ ภูเก็ต/ เส้นทางระหว่าง แฟรงก์เฟิร์ตและภูเก็ต/ เส้นทางระหว่าง ลอนดอนและภูเก็ต/ เส้นทางระหว่าง ปารีสและภูเก็ต/ เส้นทางระหว่าง ซูริกและภูเก็ต/ เส้นทางระหว่าง มิวนิกและภูเก็ต

หลักสูตร ความปลอดภัยในการทํางานบนที่สูง ที่ เซฟตี้อินไทย ใครบ้างที่ต้องอบรมที่สูง ผู้ทำงานที่มีความเสี่ยงกับการตกจากที่สูง งานก่อสร้าง งานบำรุงรักษา งานในระบบอุตสาหกรรม งานสายส่งไฟฟ้า งานทำความสะอาด หรือพนักงานในโรงงาน หัวหน้างานที่เกี่ยวข้องกับ การทำงานบนที่สูง ผู้ปฏิบัติงาน ผู้รับเหมา พนักงาน หรือบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานบนที่สูงโดยตรง และผู้ที่สนใจ ตระหนักถึงความเสี่ยง อันตราย และที่การป้องกัน การเกิดขึ้นในการทำงานที่สูง และสามารถนำความรู้ ทั้งภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ การทำงานบนที่สูงอย่างปลอดภัย หลักสูตรนี้ อบรม 1 วัน

อบรมที่สูง เป็นหลักสูตรมาตรฐานสากล เพื่อให้ผู้เข้าอบรมที่สูง สามารถได้เรียนรู้เกี่ยวกับวิธีการปฏิบัติงานบนที่สูง และวิธีการปฏิบัติงานอย่างปลอดภัย ตามมาตรฐานสากล ผู้เข้าอบรมสามารถประเมินความเสี่ยง อันตรายได้อย่างปลอดภัย ตามกฎหมาย งานบนที่สูง โดยมีทีมวิทยากรคอยกำกับดูแลตลอดการฝึกอบรม และคอยแนะนำวิธีการใช้อุปกรณ์ต่างๆ เทคนิคสำคัญๆ ได้อย่างมืออาชีพ

ตัวอย่างสภาพแวดล้อมที่ไม่ปลอดภัย

ตัวอย่างสภาพแวดล้อมที่ไม่ปลอดภัย

วิทยากรได้รับการขึ้นทะเบียนจากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน

ตัวอย่างสภาพแวดล้อมที่ไม่ปลอดภัย

เน้นทำ Workshop ให้ได้ลงมือทำจริงในห้องเรียน บรรยากาศการเรียนที่เป็นกันเอง

ตัวอย่างสภาพแวดล้อมที่ไม่ปลอดภัย

เมื่อมาอบรมกับเราท่านจะได้รับ
ใบประกาศวุฒิบัตรผ่านการอบรม


ท่านสามารถค้นหาหลักสูตรความปลอดภัยในการทำงานบนที่สูง

ภาพบรรยากาศการ อบรมที่สูง


อบรมที่สูง เราเน้นเรียนจริง ปฏิบัติจริง ทดสอบภายใน 1 วัน และได้รับใบเซอร์ เทคนิคการใช้อุปกรณ์ป้องกันการตกจากที่สูงอย่างมืออาชีพ การติดตั้งอุปกรณ์กันตกชนิดต่าง ๆ ตามหลักมาตรฐานสากล อบรมที่สูงที่ดีที่สุด ต้องอบรมที่เซฟตี้อินไทย อบรมการทำงานบนที่สูงเป็นการอบรมตามกฎหมายการทำงานบนที่สูงปี 2564 โดยผู้ที่ทำงานบนที่สูง นายจ้างจะต้องส่งให้พนักงานฝึกอบรมการเริ่มทำงานได้อย่างปลอดภัย

ตัวอย่างสภาพแวดล้อมที่ไม่ปลอดภัย

ระดับปฏิบัติงาน

1. ผู้รับเหมาทุกคนในระดับปฏิบัติงานหรือระดับสูงกว่า

ตัวอย่างสภาพแวดล้อมที่ไม่ปลอดภัย

การปฏิบัติงาน

2. ผู้ที่มีการปฏิบัติงานบนที่สูง

สรุปกฎหมายความปลอดภัย 2564 เกี่ยวกับการทำงานบนที่สูง


ข้อมูลที่เป็นประโยชน์



การทำงานในพื้นที่ปฏิบัติงานที่สูงจากพื้นดิน หรือ จากพื้นอาคาร ตั้งแต่ 2 เมตรขึ้นไป ซึ่งลูกจ้างอาจพลัดตกลงมาได้

โครงสร้างชั่วคราวที่สูงจากพื้นดิน หรือ จากพื้นอาคาร หรือส่วนของสิ่งก่อสร้างสำหรับเป็นที่รองรับลูกจ้าง วัสดุ หรือเครื่องมือและอุปกรณ์

แบ่งออกเป็น 5 ประเภท ได้แก่
(1) ลื่น
(2) สะดุด
(3) ตกจากบันได
(4) ตกจากที่สูง
(5) การตกกระทบจากวัสดุ

ป้องกันการตกจากที่สูงและวัสดุร่วงหล่นที่ตัวผู้ปฏิบัติงาน

(1) ฝึกอบรมให้กับผู้ที่ต้องขึ้นไปปฏิบัติงานบนที่สูง
(2) สุขภาพของผู้ปฏิบัติงาน
(3) สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล

ป้องกันการตกจากที่สูงและวัสดุร่วงหล่นในสถานที่ทำงาน

(1) จัดระบบงาน เพื่อจำกัดการทำงานบนที่สูง
(2) ติดตั้งอุปกรณ์ป้องกันการตก เพื่อลดความเสี่ยง
(3) พื้นที่ทำงานปราศจากปัจจัยที่ทำให้สะดุด ลื่น
(4) กั้น หรือปิดช่องเปิดบนพื้นให้แข็งแรง พร้อมป้ายเตือนอันตราย
(5) ติดตั้งหลังคาบริเวณทางเข้า-ออกอาคาร เพื่อป้องกันการร่วงตกของวัสดุ

การป้องกันอันตรายจากการร่วงหล่นของวัสดุในพื้นที่ปฏิบัติงาน

(1) อุปกรณ์ที่มีขนาดเล็ก ควรใส่ในภาชนะที่แข็งแรง
(2) วัสดุอุปกรณ์ทุกชนิดต้องไม่วางกีดขวางทางเดิน
(3) จัดเก็บเศษวัสดุที่เหลือใช้ในภาชนะที่แข็งแรง
(4) จัดเก็บทำความสะอาดอย่างต่อเนื่อง
(5) ใช้เครื่องมือให้เหมาะสมกับงาน
(6) ใช้เชือกผูกรัดเครื่องมือ และอุปกรณ์ที่ใช้ในการทำงาน
(7) ขนย้ายวัสดุอุปกรณ์อย่างถูกวิธี

การป้องกันอันตรายจากการสะดุด ลื่นล้ม บนพื้นที่ทำงาน

(1) วัสดุอุปกรณ์ทุกชนิดจะต้องไม่วางกีดขวางทางเดิน
(2) สายไฟ สายยาง ห้ามลากผ่านพื้นทางเดิน
(3) บริเวณช่องทางขึ้น-ลงบันได ต้องไม่มีสิ่งกีดขวาง
(4) พื้นที่ทำงานต้องมีราวกันตก และแผ่นกันของตก
(5) พื้นที่ทำงานต้องไม่เปียกแฉะ
(6) พื้นที่ทำงานจะต้องไม่มีคราบน้ำมัน จารบี
(7) พื้นทางเดินต้องเรียบเสมอกัน
(8) จัดเก็บทำความสะอาดอย่างต่อเนื่อง

การป้องกันอันตรายจากการตกในการเดิน เคลื่อนย้าย หรือเปลี่ยนพื้นที่ปฏิบัติงาน

(1) มีราวกันตก หรือเชือกนิรภัยยึดติดกับโครงสร้างโดยรอบ
(2) มีทางเดินชั่วคราวพร้อมราวกันตก
(3) ติดตั้งตาข่ายนิรภัยยึดติดกับโครงสร้างที่มั่นคงแข็งแรง
(4) ปิดกั้นบริเวณด้านล่างพื้นที่ปฏิบัติงาน
(5) จัดเตรียมนั่งร้าน หรือเครื่องจักรกลที่กำหนดไว้ในแผนงาน
(6) สวมใส่ และใช้อุปกรณ์ป้องกันการตกตลอดเวลา
(7) ห้ามเคลื่อนย้ายร่างกายบนที่สูง โดยปราศจากการเกาะเกี่ยวเข็มขัดนิรภัย

การป้องกันอันตรายจากการตกในงานติดตั้งหลังคาที่มีความลาดเอียง

(1) ทำราวกันตก หรือเชือกนิรภัยยึดติดกับโครงสร้างโดยรอบ
(2) ติดตั้งตาข่ายนิรภัยยึดติดกับโครงสร้างที่มั่นคง
(3) ล้อมด้านล่างพื้นที่ปฏิบัติงาน
(4) สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันการตก
(5) มีการจัดวางวัสดุ และจัดทางผ่านที่ปลอดภัย
(6) จัดเก็บเศษวัสดุ เมื่อมีการเปลี่ยนช่วงเวลาทำงาน
(7) มีการตรวจสอบดูแลตลอดเวลาที่ปฏิบัติงาน
(8) มีอุปกรณ์สื่อสาร และแผนการช่วยเหลือ เมื่อเกิดอุบัติเหตุ

การป้องกันอันตรายจากการตกในพื้นที่ที่เป็นสันขอบอาคาร และพื้นที่เปิดโล่ง

(1) จัดทำราว หรือรั้วปิดกั้นที่มั่นคง แข็งแรงโดยรอบ
(2) ใช้สีแสดงให้เห็นเด่นชัดในระยะไกล
(3) ติดตั้งตาข่ายนิรภัย
(4) จัดให้มีป้าย และสัญลักษณ์เตือนภัย
(5) สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันการตก
(6) มีแผนการช่วยเหลือ เมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน

บทความที่เกี่ยวข้อง


ตัวอย่างสภาพแวดล้อมที่ไม่ปลอดภัย

ความปลอดภัยในการทำงานบนที่สูง2565-เซฟตี้อินไทย

ความปลอดภัยในการทำงานบนที่สูง2565ความปลอดภัยในการทำงานบนที่สูง           ความปลอดภัยในการทำงานบนที่สูงคืออะไร สามารถป้องกันอุบัติเหตุได้อย่างไร ก่อนอื่น เซฟตี้อินไทย จะขออธิบายให้ท่านได้ทราบก่อนว่า ความปลอดภัยในการทำงานบนที่สูง คือ "ความปลอดภัยใน

ตัวอย่างสภาพแวดล้อมที่ไม่ปลอดภัย

การป้องกันและควบคุมอันตรายจากเครื่องจักร

การป้องกันและควบคุมอันตรายจากเครื่องจักรทำอย่างไรวันนี้เซฟตี้อินไทยมีคำตอบ          เราอาจเคยสงสัยหรือเคยพบเห็นหรือได้ฟังข่าวอุบัติเหตุจากการทำงานซึ่งเกิดจากเครื่องจักร เป็นผลทำให้ได้รับบาดเจ็บสาหัส บางคนสูญเสียอวัยวะจนต้องพิการสูญเสียโอกา�

ตัวอย่างสภาพแวดล้อมที่ไม่ปลอดภัย

วิธีสวมใส่สายรัดนิรภัยชนิดเต็มตัว

อุปกรณ์ป้องกันการตกจากที่สูง(Fall Protection Devices)การทำงานในที่สูง เช่น งานก่อสร้าง งานทำความสะอาด งานไฟฟ้า จำเป็นต้องใช้อุปกรณ์ป้องกันการตกจากที่สูง ได้แก่เข็มขัดนิรภัย ประกอบด้วยตัวเข็มจัด และเชือกนิรภัย ตัวเข็มขัด ทำด้วยหนังเส้นใยจากฝ้าย และใยสังเครา�

ตัวอย่างสภาพแวดล้อมที่ไม่ปลอดภัย

สรุปกฎหมายความปลอดภัย 2564 เกี่ยวกับการทำงานบนที่สูง

กฎกระทรวง  กำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน ในสถานที่ที่มีอันตรายจากการตกจากที่สูงและที่ลาดชัน จากวัสดุกระเด็นตกหล่น และพังทลาย และจากการตกลงไปในภาชนะเก็บหรือรองรับวัสดุ พ.ศ. ๒๕๖�

ตัวอย่างสภาพแวดล้อมที่ไม่ปลอดภัย

กฎกระทรวงเกี่ยวกับเครื่องจักรสำหรับใช้ในการยกคนขึ้นทำงานบนที่สูง 2564

กฎกระทรวง กำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักร ปั้นจั่น และหม้อน้ำ พ.ศ. ๒๕๖๔          “เครื่องจักรสำหรับใช้ในการยกคนขึ้นทำงานบนที่สูง” หมายความว่า เครื่องจักรที่ออกแบบ

ตัวอย่างสภาพแวดล้อมที่ไม่ปลอดภัย

ป้องกันการตกจากที่สูงอย่างปลอดภัย

กฎกระทรวง กำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับงานก่อสร้าง พ.ศ. ๒๕๕๑ หมวด ๑๑ การทำงานในสถานที่ที่มีอันตรายจากการตกจากที่สูง การพังทลาย และการกระเด็นหรือตกหล่นของวัสดุ ส่วนที่ ๑ การป�

ตัวอย่างสภาพแวดล้อมที่ไม่ปลอดภัย

การทำงานบนที่สูงอย่างปลอดภัย

การทำงานบนที่สูงอย่างปลอดภัยการทำงานบนที่สูงอย่างปลอดภัยนั้น ต้องใช้อุปกรณ์กันตกซึ่งอุปกรณ์ที่ใช้ยับยั้งการกันตก เรียกว่า “ABC SYSTEM”  ️ABC SYSTEM ประกอบด้วย  1.A - Anchorage #จุดเกี่ยวยึดการนำไปผูกติด (I-beam , lifeline เป็นต้น) สามารถยับยั้งการตกก่อนร่างกายจะสัมผัสพื้นดิน  2

สภาพการทํางานที่ไม่ปลอดภัย มีอะไรบ้าง

2. สภาพการทำงานที่ไม่ปลอดภัย (Unsafe Condition) คือสภาพแวดล้อมที่ไม่ปลอดภัยโดยรอบตัวของผู้ปฏิบัติงานขณะทำงาน ซึ่งอาจเป็นสาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุได้ เช่น - เครื่องจักรไม่มีอุปกรณ์ป้องกันอันตราย - อุปกรณ์เครื่องมือเครื่องจักรที่ออกแบบไม่เหมาะสมกับการใช้งาน - บริเวณพื้นที่ของการปฏิบัติงานไม่เหมาะสม

สภาวะที่เป็นอันตรายคือสภาวะอะไร

อันตราย (Danger) หมายถึง สภาวะที่เป็นอันตรายไม่ว่าจะอยู่ในระดับของความ รุนแรงมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับสภาพของการท างานและการป้องกัน เช่น การท างานบนที่ สูง ซึ่งถือว่าเป็นสภาพการณ์ที่มีความเสี่ยงที่จะมีโอกาสเกิดอันตรายขึ้นได้ถ้าหากเกิด ความผิดพลาดเกิดขึ้น และอาจท าให้เกิดการบาดเจ็บหรือถึงกับชีวิตได้

สภาวะการทำงานไม่ปลอดภัยเกิดจากสิ่งแวดล้อมได้แก่อะไร คำตอบของคุณ

2. เกิดจากสิ่งแวดล้อมการทำงาน ได้แก่ สภาพการทำงานไม่ปลอดภัยหรือมีความผิดพลาดของสิ่งต่างๆ ได้แก่ เครื่องจักรกล อุปกรณ์เครื่องมือ เครื่องใช้เสียง แสงรังสี ความสั่นสะเทือน ความร้อน ความเย็น อากาศที่หายใจก๊าซ ไอสาร ฝุ่น รวมถึงสภาพการทำงานที่ซ้ำซาก เร่งรีบ งานกะ งานล่วงเวลาที่ไม่เหมาะสม

เมื่อพบเห็นสภาพการทํางานที่ไม่ปลอดภัยต้องปฏิบัติอย่างไร

เกิดอันตราย (12) ปฏิบัติตามป้าย และสัญลักษณ์ความปลอดภัย โดยเคร่งครัด (13) เมื่อพบเห็นสภาพการทำงานที่ไม่ปลอดภัย ต้องรายงานให้หัวหน้างานหรือเจ้าหน้าที่ความปลอดภัย ทราบ (14) เมื่อเกิดอุบัติเหตุจากการทำงานให้แจ้งหัวหน้างาน ผู้บังคับบัญชา และส่วนความปลอดภัยทราบโดยเร็ว ที่สุด