ใครคือแม่ทัพสำคัญของอยุธยาในคราวเสียกรุงครั้งที่ 2” เป็นขั้นตอนใดของวิธีการทางประวัติศาสตร์

เลือกไซต์นี้

  • หน้าแรก
  • สารบรรณ
  • Link
  • เรียนออนไลน์กับครูชาญวิทย์
  • ท็อป 11 อันดับ เจ้าหญิงที่สวยที่สุดในโลก
  • ประวัติศาสตร์อยุธยา

ใครคือแม่ทัพสำคัญของอยุธยาในคราวเสียกรุงครั้งที่ 2” เป็นขั้นตอนใดของวิธีการทางประวัติศาสตร์

ครูชาญวิทย์

ภาคเรียนที่ 1

    หน่วยการเรียนที่ 1

    • แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 1

    • แบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 1

    ใบงาน

    • ใบงาน 1 หลักฐานทางประวัติศาสตร์

    • ใบงานที่ 2 การตีความทางประวัติศาสตร์

    • ใบงานที่ 3 การประเมินคุณค่าของหลักฐาน

    • ใบงานที่ 4 การวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล

    • ใบงานที่ 5 การวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล

    ใบความรู้

    • ใบความรู้ที่ 1

    • ใบความรู้ที่ 2

    หน่วยการเรียนรู้ที่ 2

      ใบงาน

        ใบความรู้

          หน่วยการเรียนรู้ที่ 3

            ใบงาน

              ใบความรู้

                แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 1

                Comments

                ชาญวิทย์  ปรีชาพาณิชพัฒนา

                กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษศาสนาและวัฒนธรรม

                โรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม 

                สพม.27

                อ.เสลภูมิ จ.ร้อยเอ็ด

                ข้อสอบปลายภาคเรียน วิชาประวัติศาสตร์ ส 22102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 หน่วยการเรียน  0.5 หน่วย  จำนวน 60 ข้อ เวลา 60 นาที

                1.การศึกษาเรื่องราวทางประวัติศาสตร์โดยอาศัยหลักฐานต่างๆ เพื่อให้เข้าใจเรื่องราวในอดีตได้อย่างชัดเจนเป็นข้อความที่เกี่ยวข้องกับเรื่องอะไร *

                ความสำคัญของการเรียนประวัติศาสตร์.

                ความหมายของประวัติศาสตร์.

                2. “ใครคือแม่ทัพสำคัญของอยุธยาในคราวเสียกรุงครั้งที่ 2” เป็นขั้นตอนใดของวิธีการทางประวัติศาสตร์. *

                การกำหนดหัวเรื่องที่จะศึกษา..

                การเรียบเรียงหรือการนำเสนอ. 

                3.การศึกษาผลงานวิจัยที่มีข้อมูลเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ สมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช เป็นขั้นตอนใดของวิธการทางประวัติศาสตร์ *

                การตรวจสอบ ประเมินความถูกต้องของข้อมูล. 

                การตรวจสอบข้อมูลและหลักฐาน. 

                การรวบรวมข้อมูลและหลักฐาน.

                การตีความและจัดลำดับข้อมูล. 

                4. แหล่งที่มาของหัวข้อเรื่องที่จะศึกษาข้อใดไม่ถูกต้อง *

                ความสงสัยในความรู้เดิมที่มี.

                เลือกตามคำแนะนำของเพื่อน.

                ตามหัวข้อที่เคยมีคนศึกษาอยู่แล้ว..

                5.การนำเสนอเรื่องราวที่มีการตีความประเมินคุณค่าหลักฐานแล้วนำมาเรียบเรียงต่อกันอย่างเป็นเหตเป็นผล รวมทั้งมีการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูลด้วย  เป็นขั้นตอนใดของวิธีการทางประวัติศาสตร์ *

                6.วิธีการใดที่เป็นการนำเสนอข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ *

                การวิเคราะห์และการสังเคราะห์..

                การรวบรวมข้อมูลและการวิเคราะห์.

                การรวบรวมหลักฐานและการตีความ.

                การจัดหมวดหมู่ข้อมูลและการสังเคราะห์.

                7.ขั้นตอนใดเป็นขั้นตอนสุดท้ายและสำคัญที่สุดในวิธีการทางประวัติศาสตร์ *

                การประเมินคุณค่าของหลักฐาน.

                การวิเคราะห์และการสังเคราะห์.

                8.วิธีการทางประวัติศาสตร์ในขั้นตอนใดถ้าผิดพลาดจะทำให้ขาดความน่าเชื่อถือได้ *

                การประเมินคุณค่าของหลักฐาน..

                การวิเคราะห์และการสังเคราะห์.

                9.ข้อใดกล่าวถึงขั้นตอนการวิเคราะห์ทางประวัติศาสตร์ที่ถูกต้อง *

                แสวงหาข้อเท็จจริงจากหลักฐานที่หลากหลาย.

                10.การสังเคราะห์ข้อมูลตามวิธีการทางประวัติศาสตร์จะต้องทำสิ่งใดต่อไปนี้ *

                วิเคราะห์หลักฐานให้ข้อมูลอะไรบ้าง.

                วิเคราะห์คุณค่าของหลักฐานที่นำไปศึกษา.

                เรียบเรียงหลักฐานให้เป็นเรื่องเป็นราว..

                11.ข้อใดไม่เป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์สมัยอยุธยา *

                12. พระราชพงศาวดารฉบับใดไม่เกี่ยวกับอยุธยา *

                พงศาวดารกรุงสยามฉบับบริติชมิวเซียม.

                พงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขา.

                13. พงศาวดารกรุงเก่าฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์ เป็นพงศาวดารที่น่าเชื่อถือที่สุดในจำนวนพงศาวดารต่างๆ  ในสมัยอยุธยา เป็นเพราะเหตุใด *

                บันทึกเหตุการณ์และศักราชถูกต้อง.

                บันทึกศักราชถูกต้องแต่เหตุการณ์ไม่ถูกต้อง.

                เรียงลำดับรัชกาลได้ถูกต้องแต่ศักราชไม่ถูกต้อง.

                อธิบายเหตุการณ์ในแต่ละรัชกาลชัดเจนแต่ไม่บันทึกศักราช.

                14.หลักฐานชั้นต้นและหลักฐานชั้นรอง มีคุณค่าแตกต่างกันอย่างไร *

                หลักฐานชั้นต้นให้ข้อมูลที่ถูกต้องแม่นยำมากกว่าหลักฐานชั้นรอง.

                หลักฐานชั้นรองมีการเรียบเรียงให้เข้าใจได้ง่ายกว่าหลักฐานชั้นต้น..

                หลักฐานชั้นต้นแสดงให้เห็นภาพทางประวัติศาสตร์มากกว่าหลักฐานชั้นรอง.

                หลักฐานชั้นรองแสดงถึงภูมิปัญญาของคนอยุธยา ได้มากกว่าหลักฐานชั้นต้น.

                15. หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษรเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าอะไร *

                16.ข้อใดเป็นหลักฐานประวัติศาสตร์ที่แตกต่างจากพวก *

                พงศาวดารฉบับหลวงประเสริฐฯ..

                17. หลักฐานลายลักษณ์อักษรมีความสำคัญต่อการศึกษาประวัติศาสตร์อย่างไร *

                เป็นหลักฐานที่ให้ข้อมูลประวัติศาสตร์ดีที่สุด.

                เป็นหลักฐานที่ให้ข้อมูลง่ายกว่าหลักฐานอื่น. 

                เป็นหลักฐานที่มีจำนวนมาก หาง่าย.

                เป็นหลักฐานที่น่าเชื่อถือที่สุด.

                18. ข้อใดจัดเป็นหลักฐานทางโบราณคดีทั้งหมด *

                โครงกระดูก เครื่องมือ-เครื่องใช้.  

                ซุ้มใบเสมาวัดมหาธาตุ  กำแพงเมืองเก่า..

                พงศาวดารอยุธยา จดหมายเหตุลาลูแบร์.

                วีดิทัศน์เรื่องรอยไทยสามกรุงศรี.

                19.หลักฐานประวัติศาสตร์มีความสำคัญต่อวิธีการทางประวัติศาสตร์อย่างไร *

                ให้ข้อมูลทางประวัติศาสตร์.

                กำหนดวิธีการศึกษาทางประวัติศาสตร์. 

                กำหนดหัวข้อหรือประเด็นทางประวัติศาสตร์. 

                ทำให้เกิดวิธีการทางประวัติศาสตร์. 

                20.หลักฐานปฐมภูมิมีความน่าเชื่อถือกว่าหลักฐานทุติยภูมิ เพราะเหตุใด *

                หลักฐานทุติยภูมิใช้ข้อมูลจากหลักฐานปฐมภูมิ

                หลักฐานปฐมภูมิสร้างขึ้นโดยปราศจากความลำเอียง

                หลักฐานปฐมภูมิไม่สอดแทรกความคิดเห็นของผู้สร้าง

                ผู้สร้างหลักฐานปฐมภูมิมีข้อมูลที่ดีกว่าและตรงกับความเป็นจริงมากที่สุด..

                21.ข้อใดไม่ถือเป็นปัจจัยทางภูมิศาสตร์ที่สำคัญ ซึ่งมีผลต่อพัฒนาการของอาณาจักรอยุธยา *

                มีทำเลที่ตั้งเหมาะสมแก่การเพาะปลูก

                เป็นเมืองที่สำคัญทางการค้ากับต่างประเทศ

                พระมหากษัตริย์ทรงส่งเสริมให้ราษฎรประกอบอาชีพได้อย่างเสรี

                22. อาณาจักรอยุธยาเกิดจากการรวมตัวกันระหว่างแคว้นสำคัญ 2 แคว้น ได้แก่แคว้นใด *

                แคว้นละโว้ กับแคว้นสุพรรณภูมิ..

                แคว้นละโว้ กับแคว้นไทรบุรี

                แคว้นสุพรรณภูมิ กับแคว้นไทรบุรี

                แคว้นสุพรรณภูมิ กับแคว้นสุโขทัย

                23.หัวเมืองระดับใดในการปกครองส่วนภูมิภาคที่เจ้าเมืองมีอำนาจปกครองตนเอง แต่จะต้องส่งเครื่องราชบรรณาการมาถวายพระมหากษัตริย์ตามเวลาที่กำหนด *

                24.สาเหตุสำคัญที่ทำให้สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงแบ่ง แยก หน้าที่ระหว่างฝ่ายทหารกับฝ่ายพลเรือน ออกจากกัน คือข้อใด *

                เพื่อให้หน้าที่ของทั้งสองฝ่ายชัดเจนขึ้น

                เพื่อป้องกันเหตุกระทบกระทั่งกันระหว่างสองฝ่าย

                เพื่อป้องกันไม่ให้ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมีอำนาจมากจนเกินไป..

                เพื่อให้ราษฎรจดจำหน้าที่ของทั้งสองฝ่ายได้ง่าย

                25.กรุงศรีอยุธยาใช้การค้ารูปแบบใดในการติดต่อค้าขายกับประเทศจีน *

                การค้าแบบใช้ทองคำเป็นสื่อกลาง

                การค้าแบบแลกเปลี่ยนสินค้าระหว่างกัน

                26.หน่วยงานสำคัญที่ทำหน้าที่ในการติดต่อค้าขายกับต่างชาติ คือหน่วยงานใด *

                27.ข้อใดคือชนชั้นพิเศษที่ได้รับความเคารพจากทุกชนชั้นในสมัยอยุธยา *

                28.“โกษาธิบดี” ถือเป็นสิ่งใดที่กำหนดไว้ในพระราชกำหนดศักดินา *

                29.ข้อใดกล่าวได้ถูกต้องเกี่ยวกับวัฒนธรรมในสมัยอยุธยา *

                อาชีพหลักในสมัยอยุธยาคือเกษตรกรรม ประเพณีส่วนใหญ่จึงเกี่ยวข้องกับการเกษตร

                วัฒนธรรมส่วนใหญ่ในสมัยอยุธยามักเกี่ยวข้องกับชนชั้นสูงเป็นหลัก

                วัฒนธรรมจากต่างชาติไม่ได้รับการยอมรับจากคนในกรุงศรีอยุธยา

                ชาวอยุธยานิยมความสนุกสนานจึงมักสร้างสรรค์ประเพณีที่รื่นเริง

                30.ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยามีหลายประการยกเว้นข้อใด *

                ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรม

                ลักษณะทางภูมิศาสตร์และสิ่งแวดล้อม

                การมีรายได้จากการเก็บภาษีบางประเภท..

                31.ข้อใดเป็นความสัมพันธ์ที่เห็นได้ชัดเจนที่สุดระหว่างกรุงศรีอยุธยากับเขมร *

                ความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรม..

                32.กรุงศรีอยุธยาทำสงครามครั้งแรกกับพม่าในกรณีที่สืบเนื่องมาจากเมืองใด *

                33.ความสัมพันธ์ของอยุธยากับประเทศใดมีลักษณะของการผูกมิตร และเชื่อมสัมพันธไมตรี *

                34. ความสัมพันธ์กับต่างประเทศโดยเฉพาะชาติตะวันตกมีความเจริญสูงสุดในสมัยใด *

                สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ

                35.ศิลปกรรมของไทยสมัยอยุธยาที่ตกทอดมาจนถึงปัจจุบันได้แก่อะไร *

                36. การเสียกรุงศรีอยุธยา ครั้งที่ 2 เกิดขึ้นในรัชสมัยของกษัตริย์พระองค์ใด *

                สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อัมรินทร์

                37.เพราะเหตุใด พระยาตากพร้อมพรรคพวกจึงตัดสินใจตีฝ่าวงล้อมพม่าไปทางทิศตะวันออกในสงครามเสียกรุงศรีอยุธยา ครั้งที่ 2 *

                ต้องการไปตั้งราชธานีใหม่ที่จันทบุรี

                เป็นชุมชนชาวจีนเช่นเดียวกับพระยาตาก

                จันทบุรีมีกำลังคน ป้อมปราการ อาหารอุดมสมบูรณ์

                38.เหตุผลสำคัญในข้อใดที่ทำให้พระยาตากตัดสินใจละทิ้งการป้องกันอยุธยาในสงครามก่อนเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 *

                ต้องการตั้งราชธานีใหม่แทนอยุธยา

                คิดจะแย่งชิงอำนาจจากพระเจ้าเอกทัศน์

                ท้อใจเพราะไม่ได้รับการสนับสนุนในการสู้รบ

                เห็นว่ากำลังของอยุธยาไม่สามารถสู้กับกองทัพพม่าได้

                39. หลังเสียกรุงศรีอยุธยา ครั้งที่ 2 สภาพบ้านเมืองของอยุธยามี ลักษณะอย่างไร *

                ลาวตั้งตนเป็นอิสระจากอยุธยา.

                พม่ายึดอยุธยาเป็นเมืองประเทศราช.

                เขมรเข้ายึดครองหัวเมืองชายฝั่งตะวันออกของไทย.

                อยุธยาได้รับความเสียหายมากจนไม่สามารถเป็นราชธานีได้..

                40.พระยาตากเตรียมการกอบกู้เอกราชอย่างไร *

                ประกาศอิสรภาพที่เมืองแครง.

                ตั้งกรุงธนบุรีแล้วจึงตีค่ายโพธิ์สามต้น.

                ต่อเรือและนำกองทัพเรือเข้าโจมตีพม่า.

                ใช้เวลารวบรวมกำลังพลนานถึง 15 ปี.

                41.วันที่ 28 ธันวาคม ของทุกปี มีความเกี่ยวข้องอย่างไรกับอาณาจักรธนบุรี *

                วันสถาปนากรุงธนบุรีเป็นราชธานี..

                วันปราบดาภิเษกของพระเจ้าตาก.

                วันบรมราชาภิเษกของพระเจ้าตาก.

                42.เพราะเหตุใด พระเจ้าตากจึงต้องตัดสินพระทัยย้ายราชธานี *

                อยุธยาเกิดอุทกภัยบ่อยครั้ง

                อยุธยาถูกเผาทำลายมีสภาพทรุดโทรมมาก

                สภาพภูมิประเทศของอยุธยาไม่เอื้อต่อการค้าระหว่างประเทศ

                43.สงครามครั้งใดสำคัญที่สุดระหว่างไทยกับพม่าในสมัยธนบุรี *

                44.ข้อใดอธิบายการจัดการปกครองในสมัยธนบุรี ไม่ถูกต้อง *

                จัดการปกครองตามแบบอยุธยาตอนปลาย

                พระมหากษัตริย์มีอำนาจสูงสุดในการปกครอง

                เมืองพระยามหานครปกครองแบบจตุสดมภ์เช่นเดียวกับราชธานี

                ความสัมพันธ์ระหว่างกษัตริย์กับราษฎรมีความใกล้ชิดเหมือนพ่อปกครองลูก

                45.ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับประเทศเพื่อนบ้านในสมัยธนบุรี มีลักษณะอย่างไร *

                ขาดการติดต่อกับประเทศเพื่อนบ้าน

                ทำสงครามกับพม่าเพื่อป้องกันราชอาณาจักร..

                ทำสงครามกับญวนและมลายูเพื่อขยายอาณาเขต

                46.เพราะเหตุใด ศิลปวัฒนธรรมซึ่งเป็นภูมิปัญญาในสมัยธนบุรีจึงมีจำนวนน้อย *

                ยังมีศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาของอยุธยา หลงเหลืออยู่.

                ขาดแคลนกำลังทรัพย์ในการอนุรักษ์ฟื้นฟูศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญา.

                พระเจ้าตากชำนาญในการรบมากกว่างานด้านศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญา.

                ต้องทำสงครามเป็นส่วนใหญ่จึงไม่มีเวลาฟื้นฟูศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญา..

                47.คำกล่าวที่ว่า “การตั้งธนบุรีเป็นราชธานีเพราะเหมาะแก่การค้ากับต่างประเทศ” คำที่ขีดเส้นใต้ หมายความว่าอย่างไร *

                มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านกลางพระนคร.

                มีคลองภายในมากมายเป็นเส้นทางการค้า.

                มีพ่อค้าจีนที่ชำนาญการค้าทางเรือเข้ามาติดต่อค้าขาย.

                ตั้งอยู่ใกล้ปากน้ำเจ้าพระยา เรือสินค้าเข้ามาค้าขายได้สะดวก.

                48. พระเจ้าตากทรงแก้ปัญหาเศรษฐกิจใดเป็นอันดับแรก *

                ซื้อข้าวมาแจกจ่ายแก่ราษฎร.

                49.สมุดภาพไตรภูมิ เป็นผลงานชิ้นสำคัญที่สุดของอาณาจักรธนบุรีในด้านใด *

                50.เหตุการณ์ใด เป็นเหตุการณ์แรกที่ทำให้เกิดการเสื่อมอำนาจของอาณาจักรธนบุรี *

                ประเท ราชของไทยแยกตัวเป็นอิสระ.

                51.พิธีทำขวัญนาคนิยมจัดตอนไหน *

                52.ข้อใดเป็นสถาปัตยกรรมสมัยอยุธยาในยุคที่ 1 *

                พระเจดีย์ที่วัดใหญ่ชัยมงคล.

                ปรางค์ประธานวัดพุทไธสวรรย์.

                พระเจดีย์ที่วัดชุมพลนิกายาราม.

                53.สถาปัตยกรรมอยุธยายุคใดที่มีการสร้างเจดีย์ทรงลังกาแบบสุโขทัย *

                54.พระราชวังนารายณ์ราชนิเวศน์ได้รับอิทธิพลศิลปะแบบใด *

                55.การฟื้นฟูศิลปวัฒนธรรมด้านใดในสมัยธนบุรีที่ส่งผลดีในสมัยต่อม *

                56.วรรณกรรมเรื่องใดที่แต่งขึ้นเพื่อสดุดีสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถในการทำสงครามกับพระเจ้าติโลกราช *

                57.พระราชพิธีพิรุณศาสตร์จัดขึ้นในเดือนใด *

                58.ข้อใดไม่ใช่พระราชกรณียกิจของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ *

                สร้างวัดจุฬามณีที่ลพบุรี.

                สร้างราชธานีแห่งที่ 2 ที่ลพบุรี.

                ประกาศใช้กฎหมายทำเนียบศักดินา.

                59.ชาวโปรตุเกสที่เดินทางค้าขายในกรุงศรีอยุธยาสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 เป็นพวกที่เดินทางมาจากไหน *

                60. วีรกรรมสมเด็จพระสุริโยทัยเกิดในสมัยใด *

                สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช.

                ห้ามส่งรหัสผ่านใน Google ฟอร์ม

                ใครคือแม่ทัพสําคัญของอยุธยาในคราวเสียกรุงครั้งที่ 2

                พระเจ้ามังระ เนเมียวสีหบดี (แม่ทัพฝ่ายเหนือ)

                แม่ทัพพม่าที่ยกกองทัพมาตีกรุงศรีอยุธยาครั้งนี้คือใคร

                ในปี พ.ศ. 2106 พระเจ้าบุเรงนองทรงยกทัพเข้ามาตีกรุงศรีอยุธยา โดยเข้ามาทางด่านแม่ละเมา กำลังประมาณ 500,000 คนพร้อมด้วยช้าง ม้า และอาวุธยุทโธปกรณ์จำนวนมาก โดยยกเข้ามาทางเมืองตาก ด้วยกำลังมากกว่าสามารถยึดหัวเมืองเหนือได้เกือบทั้งหมดโดยสะดวกจนมาถึงเมืองพิษณุโลก พระมหาธรรมราชาได้ทรงสู้เป็นสามารถและทำการป้องกันเมืองอย่างดี ...

                สาเหตุสำคัญ ที่ทำให้กรุงศรีอยุธยาเสียกรุงครั้งที่ 2 ในปี พ.ศ.2310 ให้แก่พม่า คือเหตุผลสำคัญข้อใด

                สมัยอยุธยาตอนปลาย ภายหลังสิ้นพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ชาวอยุธยาหลงใหลกับความสุขสบายมากเกินไป จนเกิดความประมาท ระบบราชการหย่อนยาน บ้านเมืองอ่อนแอไม่สามารถต่อสู้กับข้าศึกภายนอกได้ ในที่สุดก็เสียเอกราช เมื่อ วันอังคาร เดือน เม.ย. .. 2310.