ประเภท ของการ นำเสนอ ข้อมูล แบ่งออกเป็น 2 รูป แบบ คือ

ประเภท ของการ นำเสนอ ข้อมูล แบ่งออกเป็น 2 รูป แบบ คือ

การนำเสนอข้อมูล หมายถึง การนำข้อมูลและรายละเอียดต่าง ๆ ที่เก็บรวบรวม มาจัดให้เป็นระเบียบ  เพื่อนำเสนอข้อมูลจากบุคคลหนึ่ง (ผู้นำเสนอ) ไปยังอีกบุคคลหนึ่ง (ผู้ฟัง) ให้เกิดความเข้าใจในเรื่องที่นำเสนอ โดยใช้เทคนิคและสื่อต่าง ๆ ในการนำเสนอข้อมูล เพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายของการนำเสนอที่กำหนดไว้

จุดมุ่งหมายในการนำเสนอ

1. เพื่อให้ผู้รับสารรับทราบความคิดเห็นหรือความต้องการ

2. เพื่อให้ผู้รับสารพิจารณาเรื่องใดเรื่องหนึ่ง

3. เพื่อให้ผู้รับสารได้รับความรู้จากข้อมูลที่นำเสนอ

4. เพื่อให้ผู้รับสารเกิดความเข้าใจที่ถูกต้อง

ประเภทของการนำเสนอข้อมูล

1. การนำเสนอข้อมูลเป็นเอกสารรายงาน

          เป็นการนำเสนอข้อมูลในลักษณะการศึกษาที่มีการบันทึกข้อมูลที่ชัดเจน โดยใช้ข้อความ ตาราง หรือภาพ เช่น การทำรายงาน แผ่นพับ

ประเภท ของการ นำเสนอ ข้อมูล แบ่งออกเป็น 2 รูป แบบ คือ

2. การนำเสนอข้อมูลด้วยวาจา หรือการรายงานปากเปล่า

          เป็นการนำเสนอข้อมูลโดยการพูดเพื่อถ่ายทอดข้อมูลให้กับผู้ฟัง เช่น การนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน

ประเภท ของการ นำเสนอ ข้อมูล แบ่งออกเป็น 2 รูป แบบ คือ

3. การนำเสนอข้อมูลด้วยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

หลักการเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมต่อการนำเสนองาน

1. หลักการดึงดูดความสนใจ โดยการออกแบบให้สิ่งที่ปรากฏต่อสายตานั้นชวนมอง และมีความสบายตาสบายใจ มีความชัดเจนและความกระชับของเนื้อหา คือข้อความต้องสั้นแต่ได้ใจความ ชัดเจนและภาพประกอบต้องมีส่วนสัมพันธ์อย่างสร้างสรรค์กับข้อความที่นำเสนอ 

2. หลักความเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย ความออกแบบสื่อนำเสนอต้องคำนึงถึงกลุ่ม เป้าหมาย เช่น กลุ่มเป้าหมายเป็นเด็ก ควรออกแบบโดยการใช้สีสดๆ และมีภาพการ์ตูน ประกอบ แต่ถ้ากลุ่มเป้าหมายเป็นผู้ใหญ่และเนื้อหานำเสนอเป็นเรื่องวิชาการ การใช้สีสัน มากเกินไปและใช้ภาพการ์ตูนมาประกอบก็อาจจะส่งผลให้การนำเสนอดูไม่น่าเชื่อถือ รูปแบบการนำเสนอข้อมูล

ลักษณะการนำเสนอที่ดี

นอกจากการเลือกรูปแบบของการนำเสนอให้ถูกต้องและเหมาะสมแล้ว จะต้องคำนึงถึงลักษณะของการนำเสนอที่จะช่วยให้บรรลุผลตามวัตถุประสงค์ของการนำเสนอด้วย โดยทั่วไปลักษณะของการนำเสนอที่ดีควรมีดังต่อไปนี้

          1. มีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน กล่าวคือมีความต้องการที่แน่ชัดว่า เสนอเพื่ออะไร โดยไม่ต้องให้ผู้รับรับการนำเสนอต้องถามว่าต้องการให้พิจารณาอะไร

          2. มีรูปแบบการนำเสนอเหมาะสม  กล่าวคือมีความกระทัดรัดได้ใจความ เรียงลำดับไม่สนใช้ภาษาเข้าใจง่าย ใช้ตาราง แผนภูมิ แผนภาพ ช่วยให้พิจารณาข้อมูลได้สะดวก

          3. เนื้อหาสาระดี กล่าวคือมีความน่าเชื่อถือ เที่ยงตรง ถูกต้อง สมบูรณ์ครบถ้วน ตรงตามความต้องการ
มีข้อมูลที่เป็นปัจจุบันทันสมัย และมีเนื้อหาเพียงพอแก่การพิจารณา

4. มีข้อเสนอที่ดี กล่าวคือมีข้อเสนอที่สมเหตุสมผล มีข้อพิจารณาเปรียบเทียบ ทางเลือกที่เห็นได้ชัด  เสนอแนะแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน

อ้างอิง

“การนำเสนอข้อมูล” จากเว็บไซต์  http://archawat31.blogspot.com/2013/06/1.html สืบค้นเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2563

“การใช้โปรแกรมการนำเสนอข้อมูล” จากเว็บไซต์ https://sites.google.com/site/microspp101/khwam-hmay-khxng-karna-senx-khxmul สืบค้นเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2563

การนำเสนอข้อมูล (Presentation of Data)

เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลมาได้แล้ว ระเบียบวิธีสถิติขั้นต่อไปก็คือ การนำเสนอข้อมูล การนำเสนอที่ดีมิได้หมายความว่า เป็นการเสร็จสิ้นของการดำเนินงานทางสถิติ แต่การนำเสนอที่ดีจะช่วยปูพื้นฐานในการวิเคราะห์ข้อมูล เพราะข้อความจริงต่างๆ ตลอดจนการเปรียบเทียบข้อมูลจะได้รับการนำเสนอให้แลเห็นเด่นชัด ความเข้าใจของผู้ใช้สถิติในเรื่องการนำเสนอข้อมูล จะช่วยให้สามารถใช้ข้อมูลเหล่านั้นได้อย่างฉลาดและถูกต้อง

ในการนำเสนอข้อมูลอาจทำได้ทั้งอย่างไม่มีแบบแผน และอย่างมีแบบแผน การนำเสนออย่างไม่มีแบบแผน หมายถึง การนำเสนอที่ไม่มีกฎเกณฑ์อะไร ที่จะต้องถือเป็นหลักมากนัก การนำเสนอแบบนี้ได้แก่ การแทรกข้อมูลลงในบทความ และข้อเขียนต่างๆ ส่วนการนำเสนออย่างมีแบบแผนนั้น เป็นการนำเสนอที่จะต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ ที่ได้กำหนดไว้เป็นมาตรฐาน ตัวอย่างการนำเสนอแบบนี้ ได้แก่ การนำเสนอในรูปตาราง รูปกราฟ และรูปแผนภูมิ เป็นต้น

๑. การนำเสนอในรูปตาราง (Tabular  presentation) ข้อมูลต่างๆ ที่เก็บรวบรวมมาได้เมื่อทำการประมวลผลแล้ว จะอยู่ในรูปตาราง  ส่วนการนำเสนออย่างอื่นเป็นการนำเสนอโดยใช้ข้อมูลจากตาราง

เปรียบเทียบการปรับราคาน้ำมันปี 2521-2523
(ราคา : บาท / ลิตร)
ชนิดน้ำมัน 2521 2522 2523
10 มี.ค. 31 ม.ค. 22 มี.ค. 13 ก.ค. 20 ก.ค. 9 ก.พ. 20 มี.ค.
   เบนซินพิเศษ 4.98 5.60 - 7.84 - 9.80 -
   เบนซินธรรมดา 4.98 5.12 - 7.45. - 9.26 -
   น้ำมันก๊าด 2.68 3.06 - 5.12 4.20 6.71 5.70
   ดีเซลหมุนเร็ว 2.64 3.03 - 4.88 - 7.39 6.50
   ดีเซลหมุนช้า 2.50 2.93 - 4.71 - 7.12 6.27
   น้ำมันเตา 450 1.52 - - - - - -
   น้ำมันเตา 600 1.66 1.86 1.90 3.04 - 3.78 -
   น้ำมันเตา 1,200 1.62 1.79 1.83 2.93 - 3.64 -
   น้ำมันเตา 1,500 1.61 1.77 1.81 2.90- - 3.61 -

ที่มา: ภาวะการค้าของประเทศไทยปี 2522 สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย


๒. การนำเสนอด้วยกราฟเส้น (Line graph) เป็นแบบที่รู้จักกันดี และใช้กันมากที่สุดแบบหนึ่ง เหมาะสำหรับข้อมูล ที่อยู่ในรูปของอนุกรมเวลา เช่น ราคา ข้าวเปลือกในเดือนต่างๆ ปริมาณสินค้าส่งออกรายปี เป็นต้น

การนำเสนอที่นิยมใช้กันมี 2 แบบคืออะไรบ้าง

การนำเสนอมีได้หลายรูปแบบ ซึ่งจะต้องพิจารณาเลือกใช้รูปแบบให้เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ของการนำเสนอ และ ความต้องการของผู้รับการนำเสนอ โดยทั่วไปจะมีการใช้อยู่ สองรูปแบบได้แก่ 1. แบบสรุปความ ( qutline ) 2. แบบเรียงความ ( essay ) แบบสรุปความ คือ การนำเสนอเนื้อหาทั้งที่เป็นข้อเท็จจริง ความคิดเห็น และ ข้อพิจารณาเป็นข้อๆ

ข้อใดคือการนำเสนอข้อมูลอย่างเป็นแบบแผน

2) การนำเสนอโดยมีแบบแผน (Formal presentation) เป็นการนำเสนอที่มีระเบียบแบบแผน และ กฎเกณฑ์ต่างๆ ตามมาตรฐานที่กำหนดไว้เป็นแบบอย่าง โดยนำเสนอเป็นรูปตาราง รูปภาพ หรือกราฟ ความมุ่ง หมายของการนำเสนอเหล่านี้ ก็เพื่อให้การนำเสนอง่ายและรัดกุมขึ้น ผู้อ่านสามารถหาข้อความที่ต้องการได้สะดวก รวดเร็ว และช่วยให้การเปรียบเทียบได้ง่าย ...

การนำเสนอข้อมูลแบบมีมีแบบแผนมีลักษณะอย่างไร

2. การนำเสนอข้อมูลอย่างเป็นแบบแผน (formal presentation) หมายถึง การนำเสนอข้อมูลที่มีกฎเกณฑ์ซึ่งจะต้องปฏิบัติตามมาตรฐานที่กำหนดไว้เป็นแบบอย่าง การนำเสนอข้อมูลประเภทนี้ที่นิยมคือ การนำเสนอข้อมูลในรูปตาราง การนำเสนอข้อมูลในรูปกราฟหรือแผนภูมิ

การนำเสนอข้อมูลอย่างไม่เป็นแบบแผนและมีแบบแผนแตกต่างกันอย่างไร

ในการนำเสนอข้อมูลอาจทำได้ทั้งอย่างไม่มีแบบแผน และอย่างมีแบบแผน การนำเสนออย่างไม่มีแบบแผน หมายถึง การนำเสนอที่ไม่มีกฎเกณฑ์อะไร ที่จะต้องถือเป็นหลักมากนัก การนำเสนอแบบนี้ได้แก่ การแทรกข้อมูลลงในบทความ และข้อเขียนต่างๆ ส่วนการนำเสนออย่างมีแบบแผนนั้น เป็นการนำเสนอที่จะต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ ที่ได้กำหนดไว้เป็นมาตรฐาน ...