ข้อใดเป็นรายได้เพิ่มเติมที่เรียกเก็บในสมัยรัชกาลที่ 2 ของกรุงรัตนโกสินทร์

การจัดเก็บภาษีอากรในสมัยกรุงธนบุรี (พ.ศ. 2311 - พ.ศ. 2324) และสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น (รัชกาลที่ 1-รัชกาลที่ 3 ระหว่างพ.ศ. 2325-พ.ศ. 2394)

ข้อใดเป็นรายได้เพิ่มเติมที่เรียกเก็บในสมัยรัชกาลที่ 2 ของกรุงรัตนโกสินทร์

การจัดเก็บส่วยสาอากรทั้ง 4 ประเภท ในสมัยกรุงศรีอยุธยา ได้ถูกกำหนดเป็นรูปแบบการจัดเก็บต่อเนื่องมาจนถึงสมัยพระเจ้ากรุงธนบุรี และตอนต้นรัชกาลที่ 1 - รัชกาลที่ 2 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ จนถึงในสมัยรัชกาลที่ 3 พระบามสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เกิดกบฏเจ้าอนุวงศ์เวียงจันทร์ รัฐบาลมีความจำเป็นที่ต้องการใช้เงินในราชการมากกว่าแต่ก่อนพระองค์จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้มีการปรับปรุงการจัดเก็บภาษีเป็นผลให้เกิดการจัดเก็บภาษีขึ้นใหม่ 38 ประเภท ทั้งนี้โดยเป็นภาษีที่เก็บจากการพนัน และจากผลผลิตประเภทต่างๆ จำแนกได้ดังนี้

  • บ่อนเบี้ย หวย ก.ข. ภาษีเบ็ดเสร็จ (เก็บของลงสำเภา)
  • ภาษีของต้องห้ามหกอย่าง (ได้แก่ อากรรังนก, ไม้กฤษณา, นอแรด, งาช้าง, ไม้จันทร์, ไม้หอม)
  • ภาษีพริกไทย (เก็บจากผู้ซื้อลงสำเภา)
  • ภาษีพริกไทย (เก็บจากชาวไร่ที่ปลูกพริกไทย)
  • ภาษีฝาง
  • ภาษีไม้แดง (เก็บจากผู้ซื้อลงสำเภา)
  • ภาษีไม้แดง (เก็บจากผู้ขาย)
  • ภาษีเกลือ
  • ภาษีน้ำมันมะพร้าว
  • ภาษีน้ำมันต่างๆ
  • ภาษีกะทะ
  • ภาษีต้นยาง
  • ภาษีไต้ชัน
  • ภาษีฟืน
  • ภาษีจาก
  • ภาษีกระแซง
  • ภาษีไม้ไผ่ป่า
  • ภาษีไม้รวก
  • ภาษีไม้สีสุก
  • ภาษีไม้ค้างพลู
  • ภาษีไม้ต่อเรือ
  • ภาษีไม้ซุง
  • ภาษีฝ้าย
  • ภาษียาสูบ
  • ภาษีปอ
  • ภาษีคราม
  • ภาษีเนื้อแห้ง
  • ปลาแห้ง
  • ภาษีเยื่อเคย
  • ภาษีน้ำตาลทราย
  • ภาษีน้ำตาลหม้อ
  • ภาษีน้ำตาลอ้อย
  • ภาษีสำรวจ
  • ภาษีเตาตาล
  • ภาษีจันอับ ไพ่ เทียนไขเนื้อ และขนมต่างๆ
  • ภาษีปูน
  • ภาษีเกวียน โคต่าง
  • เรือจ้างทางโยง

ข้อใดเป็นรายได้เพิ่มเติมที่เรียกเก็บในสมัยรัชกาลที่ 2 ของกรุงรัตนโกสินทร์

และในสมัยรัชกาลที่ 3 นี้ พระองค์ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ยกเลิกอากรซึ่งเคยมีมาแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา 2 ชนิดคือ อากรรักษาเกาะ และอากรค่าน้ำ นอกจากการกำหนดให้มีการปรับปรุงการจัดเก็บภาษี โดยการเพิ่มประเภทภาษีอากรที่จัดเก็บ 38 ประเภทข้างต้น พระองค์ยังได้กำหนดให้มีการปรับปรุงรูปแบบการจัดเก็บโดยการนำระบบเจ้าภาษีนายอากรมาใช้กล่าวคือ ให้มีการจัดเก็บภาษีเป็นการผูกขาดโดยเอกชน ทั้งนี้เอกชนผู้ใดประสงค์จะรับเหมาผูกขาดการจัดเก็บภาษีประเภทใด ก็จะเข้ามาร่วมประมูล ผู้ให้ราคาสูงสุดจะเป็นผู้ผูกขาดจัดเก็บ ซึ่งจะเรียกว่า เจ้าภาษีนายอากรรัฐบาลจะมอบอำนาจสิทธิขาดในการจัดเก็บภาษีอากรชนิดนั้นให้ไปดำเนินการ เมื่อถึงเวลากำหนด ผู้ประมูลจะต้องนำเงินภาษีอากรที่จัดเก็บมาส่งให้ครบจำนวนตามที่ประมูลไว้

ดังนั้น คำว่า ภาษี จึงเข้าใจว่าคงเกิดขึ้น ในรัชกาลที่ 3 นี้เอง โดยคาดคะเนกันว่า น่าจะมาจาก คำในภาษาแต้จิ๋วว่า บู้ซี อันหมายถึง สำนักเจ้าพนักงาน ทำการเก็บผลประโยชน์แผ่นดินซึ่งตั้งขึ้นจากระบบเจ้าภาษีนายอากรนี่เอง คำว่าภาษีนี้ จะใช้กับอากรที่เกิดขึ้นใหม่ในสมัยรัชกาลที่ 3 เพื่อให้ฟังดู แตกต่างจากอากรเก่าที่เคยจัดเก็บมาแต่โบราณ ดังที่ปรากฎในหนังสือพระราชดำรัสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงอธิบายว่า "...เกิดอากร

ข้อใดเป็นรายได้เพิ่มเติมที่เรียกเก็บในสมัยรัชกาลที่ 2 ของกรุงรัตนโกสินทร์

ขึ้นใหม่ๆ ได้เงินใช้ในราชการแผ่นดิน ดีกว่ากำไรค้าสำเภา อากรเหล่านั้นให้เรียกว่า ภาษี เพราะเป็นของที่เกิดขึ้นใหม่เหมือนหนึ่งเป็นกำไร ซึ่งพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระราชประสงค์จะให้เห็นว่าเงินเก่าเท่าใด เกิดขึ้นในรัชกาลของท่านเท่าใด... การบังคับบัญชาอากรเก่าใหม่เหล่านี้ จึงได้แยกออกเป็นสองแผนก อากรเก่าอยู่ในพระคลังมหาสมบัติ อากรใหม่ซึ่งเรียกว่า ภาษี อยู่ในกรมพระคลังสินค้า คงเรียกชื่อว่าอากรอยู่ แต่หวยจีนก.ข. ซึ่งเป็นของเกิดใหม่แต่คล้ายกับอากรบ่อนเบี้ยของเดิม จึงคงเรียกว่าอากร แต่ก็คงยกมาไว้ในพวกภาษีเหมือนกัน"

ที่มา ::หนังสือที่ระลึกในการเปิดอาคารกรมสรรพากร 2 กันยายน 2540

สมัยต้นรัตนโกสินทร์จำแนกได้ดังนี้

1. ส่วย  คือ  เงินหรือสิ่งของที่ไพร่เอามาเสียภาษีแทนแรงงานถ้า ไม่ต้องการชำระ
    เป็นเงิน  ก็อาจจะทดแทนด้วยผลิตผลที่มีอยู่ในท้องที่ ๆ  ไพร่ผู้นั้นอาศัยอยู่เช่นดีบุกดิน
    ประสิว  นอกจากนี้ส่วยยังเรียกเก็บจากหัวเมืองต่าง ๆ และบรรดาประเทศราช 

2. ฤชา  คือ  การเสียค่าธรรมเนียมที่ประชาชนจ่ายเป็นค่าตอบแทนการบริการ
    ของรัฐบาล  รัฐบาลจะกำหนดเรียกเก็บเป็นอย่าง ๆ ไป   เช่น   ค่าธรรมเนียมโรงศาล
    ค่าธรรมเนียมการออกโฉนด หรือค่าธรรมเนียมกรรมสิทธิ์ เป็นต้น 

3. อากร  คือ  เงินที่พ่อค้าเสียให้แก่รัฐบาลในการขอผูกขาดสัมปทาน เช่น การจับ

     

ปลา การเก็บของป่าต้มกลั่นสุรา และตั้งบ่อนการพนัน เป็นต้น ส่วนอีกประเภทหนึ่ง  คือ
     การเรียกเก็บผลประโยชน์ที่ราษฎรทำได้จากการประกอบการต่างๆเช่น ทำนาทำไร่ การ
     เก็บอากร ค่านา ในสมัยรัชกาลที่ 2 กำหนดให้ราษฎรเลือกส่งได้ 2 รูปแบบ คือ  ส่งเป็น
     ผลิตผลหรือตัวเงิน เช่น ถ้าส่งเป็นเงินให้ส่งไร่ละหนึ่งสลึง อากรประเภทอื่นยังมีอีก  เช่น
     อากรสวน อากรตลาด เป็นต้น

4. ภาษีอากรและจังกอบภาษีอากรหมายถึงการเก็บภาษีจากสินค้าเข้าและสินค้า
    ออก ภาษีเข้ามีอัตราการเก็บที่ไม่แน่นอนประเทศใดที่มีสัมพันธไมตรีดีต่อไทยก็จะเก็บ
    ภาษีน้อยกว่าเรือของประเทศที่ไปมาค้าขายเป็นครั้งคราวหาก  แต่ในสมัยรัชกาลที่  2
    อัตราที่กำหนดให้เก็บคือร้อยละ8โดยตลอดส่วนชาวจีนนั้นให้คิดอัตราร้อยละ  4 ส่วน
    ภาษีสินค้าออกเก็บในอัตราที่แตกต่างไปตามชนิดของสินค้า  

ข้อใดคือรายได้เพิ่มเติมที่เรียกเก็บในสมัยรัชกาลที่ 2 ของกรุงรัตนโกสินทร์

ในสมัยรัชกาลที่ 2 ภายหลังพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงครองราชย์ครบ 3 ปี ทรงมีแนวคิดการจัดเก็บภาษีแบบใหม่ที่เรียกว่า การเดินสวนเดินนา ซึ่งเป็นภาษีที่เก็บจัดเก็บตามจำนวนผลผลิตที่ประเมินได้จากที่สวนไร่นาของราษฎร

รายได้จากภาษีอากรในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นมีกี่ประเภทอะไรบ้าง

5. รายได้ของแผ่นดินการเก็บภาษีอากรในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นแบ่งได้4 ชนิด คือ 1) จังกอบ คือ การเรียกเก็บสินค้าของราษฎร โดยชักส่วนสินค้าที่ผ่านด่านทั้งทางบกและทางน้ำ ใน อัตรา 10 หยิบ 1 หรือ 1 ส่วนต่อ 10 ส่วน

สินค้าที่ส่งออกมากที่สุดในสมัยรัชกาลที่ 2 คือข้อใด

นอกจากดีบุกแล้ว ยังมีเหล็ก ทองแดง ตะกั่ว ทองคำ ซึ่งมีอยู่ทั่วไป แร่ดิบส่วนใหญ่ได้รับการถลุงขั้นแรกที่บริเวณแหล่งแร่ ต่อจากนั้นจะถูกขนส่งมายังกรุงเทพฯ ซึ่งมีโรงงานผลิตเครื่องครัวและเครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ ฉะนั้น สินค้าประเภทเหล็กจึงเป็นสินค้าส่งออกที่สำคัญและมีค่าที่สุดอย่างหนึ่งของไทย

รายได้แผ่นดินหลักในสมัยรัตนโกสินทร์มาจากแหล่งใด

ประชุมประกาศรัชกาลที่ ๔ กล่าวถึงการค้าสำเภาหลวงที่เป็นแหล่งรายได้หลักในสมัย รัชกาลที่ 9 และรัชกาลที่ ๒ พระมหากษัตริย์ทรงใช้เงินที่ได้มาในการแจกเบี้ยหวัด หากปี ใดการค้าสำเภาได้กำไรน้อยไม่พอแจก จะทรงนำผ้าลายมาตีราคาแทนเบี้ยหวัด บางปีก็ ให้ทองคำบางตะพานหรือทองคำจีนแก่ขุนนางแทนแต่หลักฐานก็ชี้ไปที่สมเด็จเจ้าฟ้า กรม หลวงเสนา ...

ข้อใดคือรายได้เพิ่มเติมที่เรียกเก็บในสมัยรัชกาลที่ 2 ของกรุงรัตนโกสินทร์ รายได้จากภาษีอากรในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นมีกี่ประเภทอะไรบ้าง สินค้าที่ส่งออกมากที่สุดในสมัยรัชกาลที่ 2 คือข้อใด รายได้แผ่นดินหลักในสมัยรัตนโกสินทร์มาจากแหล่งใด ข้อใด ไม่ใช่ รายได้หลักของรัฐในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น เพราะเหตุใดจึงมีการเก็บภาษีเพิ่มขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 2 การค้าแบบรัฐบรรณาการ เป็นการค้าระหว่างไทยกับชาติใด ในสมัยรัชกาลที่ 2 หน่วยงานเดิมที่ดูแลเกี่ยวกับการค้าและชาวต่างชาติคือ การค้ากับต่างประเทศ ใช้วิธีการ หน่วยงานที่ทำหน้าที่ติดต่อค้าขายกับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น เรียกว่า