ข้อใด ไม่มี ส่วน เกี่ยวข้อง กับ ความ หมาย ของราคา

(2) ค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาของทรัพย์สิน ให้หักได้ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไขและอัตราที่กำหนดโดยพระราชกฤษฎีกา

 ( พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 25) พ.ศ. 2525 ใช้บังคับสำหรับรอบระยะเวลาบัญชีเริ่มในหรือหลัง 1 ม.ค. 2526 เป็นต้นไป )
( ดูพระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 145) พ.ศ. 2527 )
( ดูพระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 385) พ.ศ. 2544 )
( ดูประกาศอธิบดีฯ เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 51) )

การหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาดังกล่าว ให้คำนวณหักตามส่วนเฉลี่ยแห่งระยะเวลาที่ได้ทรัพย์สินนั้นมา 

( พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 16) พ.ศ. 2502 ใช้บังคับสำหรับเงินได้ที่ต้องยื่นใน พ.ศ. 2503 เป็นต้นไป )
( ดูคำสั่งกรมสรรพากร ที่ ป.3/2527 )

(3) ราคาทรัพย์สินอื่นนอกจาก (6) ให้ถือตามราคาที่พึงซื้อทรัพย์สินนั้นได้ตามปกติ และในกรณีที่มีการตีราคาทรัพย์สินเพิ่มขึ้น ห้ามมิให้นำราคาที่ตีราคาเพิ่มขึ้นมารวมคำนวณกำไรสุทธิหรือขาดทุนสุทธิ ส่วนทรัพย์สินรายการใดมีสิทธิหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคา ก็ให้หักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาในการคำนวณกำไรสุทธิ หรือขาดทุนสุทธิตามหลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข และอัตราเดิมที่ใช้อยู่ก่อนตีราคาทรัพย์สินเพิ่มขึ้น โดยให้หักเพียงเท่าที่ระยะเวลา และมูลค่าต้นทุนที่เหลืออยู่สำหรับทรัพย์สินนั้นเท่านั้น

( พระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 16) พ.ศ. 2534 ใช้บังคับสำหรับรอบระยะเวลาบัญชีเริ่มในหรือหลังวันที่ 1 ม.ค.2535 เป็นต้นไป )

(4) ในกรณีโอนทรัพย์สิน ให้บริการ หรือให้กู้ยืมเงิน โดยไม่มีค่าตอบแทน ค่าบริการ หรือดอกเบี้ย หรือมีค่าตอบแทน ค่าบริการ หรือดอกเบี้ยต่ำกว่าราคาตลาดโดยไม่มีเหตุอันสมควร เจ้าพนักงานประเมินมีอำนาจประเมินค่าตอบแทน ค่าบริการ หรือดอกเบี้ยนั้น ตามราคาตลาดในวันที่โอน ให้บริการหรือให้กู้ยืมเงิน 

( พระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2521 ใช้บังคับสำหรับรอบระยะเวลาบัญชีเริ่มในหรือหลังวันที่ 1 ม.ค. 2522 เป็นต้นไป )
( ดูคำสั่งกรมสรรพากร ที่ ป.57/2538 )
( ดูคำสั่งกรมสรรพากร ที่ ป.64/2539 )
( ดูคำสั่งกรมสรรพากร ที่ ป.95/2543 )
( ดูคำสั่งกรมสรรพากร ที่ ป.111/2545 )
( ดูคำสั่งกรมสรรพากรที่ ป.123/2546 )
( ดูคำสั่งกรมสรรพากรที่ ป.127/2546 )
( ดูคำสั่งกรมสรรพากรที่ ป.129/2547 )
( ดูคำสั่งกรมสรรพากรที่ ป.131/2548 )
( ดูคำสั่งกรมสรรพากรที่ ป.159/2564 )

“(5) เงินตรา ทรัพย์สิน หรือหนี้สินซึ่งมีค่าหรือราคาเป็นเงินตราต่างประเทศที่เหลืออยู่ในวันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชี ให้คำนวณค่าหรือราคาเป็นเงินตราไทย อย่างใดอย่างหนึ่ง ดังนี้

     (ก) กรณีบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลนอกจาก (ข) ให้เลือกใช้วิธีการคำนวณค่าหรือราคาของเงินตรา ทรัพย์สิน หรือหนี้สินเป็นเงินตราไทยตามอัตราถัวเฉลี่ยระหว่างอัตราซื้อและอัตราขายของธนาคารพาณิชย์ที่ธนาคารแห่งประเทศไทยได้คำนวณไว้ หรือวิธีการคำนวณค่าหรือราคาของเงินตรา หรือทรัพย์สินเป็นเงินตราไทยตามอัตราถัวเฉลี่ยที่ธนาคารพาณิชย์รับซื้อซึ่งธนาคารแห่งประเทศไทยได้คำนวณไว้และคำนวณค่าหรือราคาของหนี้สินเป็นเงินตราไทยตามอัตราถัวเฉลี่ยที่ธนาคารพาณิชย์ขายซึ่งธนาคารแห่งประเทศไทยได้คำนวณไว้ หรือวิธีการอื่นซึ่งสอดคล้องกับหลักเกณฑ์ตามวิชาการบัญชีตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่รัฐมนตรีประกาศกำหนดในราชกิจจานุเบกษา ทั้งนี้ เมื่อใช้วิธีการใดในการคำนวณค่าหรือราคาดังกล่าวแล้ว ให้ใช้วิธีการนั้นตลอดไป เว้นแต่จะได้รับอนุมัติจากอธิบดีจึงจะเปลี่ยนแปลงได้

    (ข) กรณีธนาคารพาณิชย์หรือสถาบันการเงินอื่นตามที่รัฐมนตรีกำหนด ให้ใช้วิธีการคำนวณค่าหรือราคาของเงินตรา ทรัพย์สิน หรือหนี้สินเป็นเงินตราไทยตามอัตราถัวเฉลี่ยระหว่างอัตราซื้อและอัตราขายของธนาคารพาณิชย์ที่ธนาคารแห่งประเทศไทยได้คำนวณไว้

เงินตรา ทรัพย์สิน หรือหนี้สินซึ่งมีค่าหรือราคาเป็นเงินตราต่างประเทศ ที่รับมาหรือจ่ายไปในระหว่างรอบระยะเวลาบัญชี ให้ใช้วิธีการคำนวณค่าหรือราคาเป็นเงินตราไทยตามราคาตลาดในวันที่รับมาหรือจ่ายไปนั้น”

(แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติ แก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 50) พ.ศ. 2562 ให้ใช้บังคับสำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2562 เป็นต้นไป)

AWS มีบริการและคุณสมบัติที่หลากหลายภายในบริการเหล่านั้นมากกว่าผู้ให้บริการระบบคลาวด์อื่นๆ รวมถึงการประมวลผล, พื้นที่จัดเก็บ, ฐานข้อมูล, ระบบเครือข่าย, Data Lake และการวิเคราะห์, Machine Learning และปัญญาประดิษฐ์, IoT, ความปลอดภัย และอีกมากมาย

ซึ่งเป็นการสร้างวินัยทางการเงินให้แก่ตนเองในการทยอยเก็บเงินทีละเล็กละน้อยให้มีจำนวนพอกพูนขึ้นเมื่อเวลาผ่านไปในรูปแบบที่มีความปลอดภัย มีความเสี่ยงต่ำ เพื่อรักษาเงินต้นไว้ โดยผลตอบแทนจากเงินออมอาจไม่ได้สูงมากนัก ยกตัวอย่าง  เช่น  เงินฝากออมทรัพย์หรือเงินฝากประจำรายเดือนแบบปลอดภาษี จนกระทั่งสามารถเก็บเงินได้จำนวนหนึ่ง จึงค่อยเริ่มลงทุน ด้วยการแบ่งเงินก้อนที่ได้จากการเก็บหอมรอมริบส่วนหนึ่งไปลงทุนในผลิตภัณฑ์เพื่อการลงทุน เช่น หุ้น  ตราสารหนี้ กองทุนรวม   Exchange Traded Fund หรือ ETF สัญญาซื้อขายล่วงหน้าและทางเลือกในการลงทุนอื่น ๆ เพื่อสร้างผลตอบแทนให้สูงขึ้นกว่าการออม 

หรืออีกทางเลือกหนึ่ง คือ ทุกครั้งที่มีรายได้เข้ามา ให้แบ่งเงินนั้นออกเป็นส่วน ๆ ตามวัตถุประสงค์ต่าง ๆ โดยแบ่งส่วนหนึ่งมาเลือกออมหรือลงทุนอย่างสม่ำเสมอตามความเหมาะสม

ข้อใด ไม่มี ส่วน เกี่ยวข้อง กับ ความ หมาย ของราคา

จำนวนเงินที่สามารถนำไปลงทุนได้ คือ เงินก้อนที่มีอยู่  หักด้วยค่าใช้จ่ายจำเป็น ภาระผูกพัน และเงินสำรองเผื่อไว้ใช้ในยามฉุกเฉิน แต่มีข้อควรคำนึงคือ ผู้ลงทุนต้องสามารถยอมรับความเสี่ยงประเภทต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์เพื่อการลงทุนนั้น ๆ ได้ เพื่อแลกกับโอกาสที่จะได้รับผลตอบแทนที่สูงขึ้น เนื่องจากการลงทุนมีความเสี่ยงที่จะสูญเสียเงินต้น


ตัวอย่างผลิตภัณฑ์เพื่อการลงทุนและความเสี่ยงที่เกี่ยวข้อง เช่น หุ้น  หรือ กองทุนรวม ที่เปิดโอกาสการทำกำไรจากส่วนต่างระหว่างราคาซื้อและราคาขายหลักทรัพย์หรือหน่วยลงทุน (Capital Gain) แต่ในทางกลับกันก็มีความเสี่ยงที่จะขาดทุนเพราะราคาขายต่ำกว่าราคาซื้อ (Capital Loss) เช่นกัน รวมทั้งมีโอกาสที่จะได้รับเงินปันผลตามผลประกอบการและนโยบายปันผล  ส่วนการลงทุนในตราสารหนี้ แม้ว่าจะมีความผันผวนด้านราคาต่ำกว่าตราสารทุน แต่ก็สามารถขาดทุนได้จากราคาตราสารหนี้ที่โดยมากจะเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางตรงกันข้ามกับอัตราดอกเบี้ย นอกจากนั้นยังต้องพิจารณาถึงความเสี่ยงด้านเครดิตหรือความน่าเชื่อถือของผู้ออกตราสารด้วย

ข้อใด ไม่มี ส่วน เกี่ยวข้อง กับ ความ หมาย ของราคา
 

​ทั้งนี้ เงินฝากประจำ หรือ สลากออมทรัพย์ ก็อาจมองได้ว่าเป็นการลงทุน เพราะผู้ลงทุนยอมที่จะสูญเสียสภาพคล่องของตนเองไป ไม่สามารถนำเงินสดออกไปใช้ได้ในช่วงเวลาหนึ่ง เพื่อแลกกับการได้รับดอกเบี้ยที่สูงขึ้นหรือโอกาสที่จะถูกรางวัล​​


รู้จักตนเอง

เมื่อเตรียมเงินสำหรับการลงทุนไว้แล้ว ก่อนการตัดสินใจลงทุนใด ๆ  ผู้ลงทุนต้องตอบคำถามสำคัญด้านล่างให้ได้เสียก่อนเพื่อประเมินตนเอง และใช้เป็นแนวทางในการลงทุน รวมถึงเป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจเลือกผลิตภัณฑ์เพื่อการลงทุน ที่ตรงกับความต้องการอย่างแท้จริง

 

วัตถุประสงค์ในการลงทุนของคุณคืออะไร​

 

ข้อใด ไม่มี ส่วน เกี่ยวข้อง กับ ความ หมาย ของราคา

ตัวอย่าง วัตถุประสงค์ในการลงทุน  เช่น  ลงทุนเพื่อบรรลุเป้าหมายทางการเงินต่าง ๆ ได้แก่  ซื้อรถ  ซื้อบ้าน ศึกษาต่อต่างประเทศ หรือลงทุนเพื่อให้เงินงอกเงยเพียงพอสำหรับ
การใช้จ่ายหลังเกษียณ​ หรือลงทุนเพื่อลดหย่อนภาษี และยังมีคำถามที่ตามมา คือ ต้องการเงินจำนวนเท่าไหร่  เพื่อใช้ทำอะไร  ภายในระยะเวลาเท่าไหร่ ระยะสั้น (ไม่เกิน 1 ปี) 
ระยะกลาง (1-3 ปี) หรือ ระยะยาว (3 ปีขึ้นไป)  แต่หัวใจสำคัญ คือ การเลือกลงทุนในสิ่งที่เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ในการลงทุนของตนเอง  ขอยกตัวอย่างการเตรียมเงินไว้สำหรับการพาครอบครัวไปท่องเที่ยวต่างประเทศในอีก 6 เดือนข้างหน้า  หากเรานำเงินไปลงทุนโดยตรงในตลาดหลักทรัพย์ หรือซื้อกองทุนรวมตราสารทุน มีความเป็นไปได้ที่ในอีก 6 เดือนต่อมา ราคาหลักทรัพย์หรือมูลค่าหน่วยลงทุนจะต่ำลง ซึ่งเรามีความจำเป็นต้องยอมรับผลขาดทุนโดยขายหลักทรัพย์หรือหน่วยลงทุนนั้นเพื่อนำเงินมาใช้จ่ายตามกำหนด  มิหนำซ้ำถ้าราคาต่ำลงมากก็อาจเหลือเงินไม่เพียงพอสำหรับใช้จ่ายก็เป็นได้  ในกรณีนี้ เราควรนำเงินไปฝากประจำหรือซื้อกองทุนรวมตราสารหนี้ ที่มีระยะเวลาครบกำหนดไม่เกิน 6 เดือน จะเป็นทางเลือกที่เหมาะสมกว่า  ซึ่งโดยทั่วไป เงินฝากประจำและตราสารหนี้ที่อายุยาวกว่าจะมีอัตราดอกเบี้ยสูงกว่าระยะสั้น  นอกจากนี้ ความผันผวนของราคาหลักทรัพย์​หรือหน่วยลงทุน ในระยะสั้น อาจไม่กระทบต่อผลตอบแทนจากการลงทุนในระยะยาวก็ได้ 

 

อัตราผลตอบแทนที่คาดหวังเป็นอย่างไร และคุณสามารถยอมรับความเสี่ยงได้มากน้อยเพียงใด​

ผลตอบแทนที่สูงขึ้นมักมาพร้อมกับความเสี่ยงที่สูงขึ้นเสมอ (high risk, high return) ทั้งนี้ ความสามารถในการรับความเสี่ยงของแต่ละบุคคลย่อมแตกต่างกัน ขึ้นกับหลายปัจจัย  เช่น

ข้อใด ไม่มี ส่วน เกี่ยวข้อง กับ ความ หมาย ของราคา
​​​​​​​​​​​นักลงทุนที่มีอายุน้อย หรือมีความตั้งใจที่จะลงทุนในระยะยาว ย่อมยอมรับความเสี่ยงได้มากกว่า​นักลงทุนที่มีอายุมากขึ้นหรือสามารถลงทุนได้ในช่วงเวลาที่สั้นกว่า เพ​ราะมีความเป็นไปได้น้อยกว่าที่จะมีความจำเป็นต้องนำเงินที่ไปลงทุนไว้ออกมาใช้ในช่วงที่สินทรัพย์มีราคาต่ำ