ลักษณะนิสัยในข้อใดสอดคล้องกับ “ใจโตมือโต”

คำนำ

การเรียนการสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษา จาเป็นอย่างย่ิงที่ครูผู้สอนต้องแสวงหาสื่อ
การเรียนการสอนเพ่ือประกอบกับเนื้อหาตามหลักสูตร ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมีคุณธรรม
จริยธรรมเพ่ิมข้ึน ดังนั้นครูผู้สอนจึงได้นาเน้ือหา เรื่อง พระบรมราโชวาทของรัชกาลที่ ๕
มาสร้างสรรค์ โดยพัฒนาเป็นนวัตกรรม “เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่อง การอ่าน
จับใจความพระบรมราโชวาทของรัชกาลท่ี ๕ สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๓”
ในรายวิชา ภาษาไทย ๕ รหัสวิชา ท ๒๓๑๐๑ ซึ่งได้สอดแทรกแนวคิดด้านคุณธรรมจริยธรรม
ไปพร้อมกับการจัดการเรียนการสอน เพื่อใหส้ อดคลอ้ งกับตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

เอกสารประกอบการเรียนการสอน เร่ือง การอ่านจับใจความพระบรมราโชวาท
ของรชั กาลที่ ๕ สาหรับนกั เรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๓ มีจานวนทง้ั หมด ๖ เลม่ ดงั นี้

• เล่มท่ี ๑ บทนาและที่มาพระบรมราโชวาท
• เล่มที่ ๒ วาณิชสไู้ ม่ถอย
• เลม่ ท่ี ๓ พฤษภน้อยยอดกตญั ญู
• เล่มท่ี ๔ เศรษฐรี ทู้ ันนกั เลงเหลา้
• เลม่ ท่ี ๕ เจา้ อาชาใจเพชร
• เล่มที่ ๖ คชสารเข็ดหลาบไม่หลงผดิ
ขอขอบพระคุณ นายศักดา ภุมรินทร์ ผู้อานวยการโรงเรียนร่มเกล้า กาญจนบุรี
คณะผู้เชี่ยวชาญ และผู้มีส่วนร่วมทุกท่านท่ีให้คาปรึกษา แนะนา พร้อมกับเอื้ออานวย
ความสะดวกในดา้ นตา่ งๆ จนผลงานสาเรจ็ ลลุ ่วงไปดว้ ยดี
ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างย่ิงว่านวัตกรรมทางการศึกษาชุดน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อการ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย หากมีข้อผิดพลาดประการใด
จงึ ขออภยั ไว้ ณ ที่นด้ี ้วย

สธุ ีรา ใจอาด

สำรบัญ ข

เรื่อง หนำ้
คำนำ ก
สำรบัญ ข
คำชีแ้ จงกำรใช้เอกสำรประกอบกำรเรยี นกำรสอนสำหรับครูผสู้ อน 1
ข้อควรปฏบิ ตั ใิ นกำรใช้เอกสำรประกอบกำรเรียนกำรสอนสำหรบั นกั เรยี น 2
แผนผังแสดงขน้ั ตอนการใชเ้ อกสารประกอบการเรียนการสอน 3

มำตรฐำนกำรเรยี นรู้ ตวั ชี้วัด และสำระสำคญั 4
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น 5
ใบควำมรู้ท่ี ๑ บทนำและท่ีมำพระบรมรำโชวำท 7

• ประวตั ผิ แู้ ต่ง 7

• ลักษณะคำประพันธ์ 9

• ท่ีมำของเรอื่ ง 9

• ประวตั พิ ระเจำ้ ลูกยำเธอท้ัง ๔ พระองค์ 9

• สำระสำคัญของเรอ่ื ง 11

• คุณค่ำจำกเร่ือง 12

• คำศพั ทน์ ำ่ รู้ 15
ใบงำนท่ี ๑.๑ ผังควำมคิด พิชิตองคค์ วำมรู้ 17
ใบงำนท่ี ๑.๒ พระรำชโอรสจำกพระบรมรำโชวำท 18
ใบงำนท่ี ๑.๓ ปริศนำอกั ษรไขว้ รไู้ หมคำว่ำอะไร 20
ใบงำนท่ี ๑.๔ คุณธรรมจำกเรื่องพระบรมรำโชวำท 21
แบบทดสอบหลังเรยี น 22
ภำคผนวก 24
25
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น - หลังเรียน 26
เฉลยใบงำนที่ ๑.๑ ผงั ควำมคิด พิชติ องค์ควำมรู้ ๒๗
เกณฑก์ ำรประเมนิ ใบงำนที่ ๑.๑ ผังควำมคดิ พิชติ องค์ควำมรู้ ๒๘
แบบประเมินใบงำนที่ ๑.๑ ผงั ควำมคิด พิชติ องคค์ วำมรู้ 2๙
เฉลยใบงำนที่ ๑.๒ พระรำชโอรสจำกพระบรมรำโชวำท ๓๑
เกณฑก์ ำรประเมินใบงำนท่ี ๑.๒ พระรำชโอรสจำกพระบรมรำโชวำท ๓๒
แบบประเมินใบงำนท่ี ๑.๒ พระรำชโอรสจำกพระบรมรำโชวำท ๓๓
เฉลยใบงำนท่ี ๑.๓ ปรศิ นำอักษรไขว้ รู้ไหมคำว่ำอะไร 3๔
เฉลยใบงำนที่ ๑.๔ คุณธรรมจำกเรือ่ งพระบรมรำโชวำท 3๖
บรรณำนกุ รม 3๗
ประวัตผิ ู้จดั ทำ

คำช้ีแจงในกำรใชเ้ อกสำรประกอบกำรเรียนกำรสอน
สำหรบั ครผู ้สู อน

๑. ครูผู้สอนควรศึกษามาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้ีวัด เนอ้ื หาท่ีจะสอนและเอกสารประกอบการเรียน
การสอน เร่ือง การอ่านจับใจความพระบรมราโชวาทของรัชกาลที่ ๕ สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษา
ปีท่ี ๓ เล่มที่ ๑ บทนาและทมี่ าพระบรมราโชวาท อย่างละเอียดรอบคอบ

๒. ครผู สู้ อนควรจดั เตรียมใบความรแู้ ละใบงานใหเ้ รยี บรอ้ ยก่อนจัดกิจกรรมการเรยี นรู้
๓. ในขณะท่ีนักเรียนศึกษาใบความรู้และทาใบงาน ครูไม่ควรส่งเสียงดังรบกวน ควรเดินสังเกต
พฤติกรรมการทางานอยา่ งใกล้ชิด เพื่อจะไดช้ ่วยเหลอื เม่ือนักเรียนประสบปญั หา และพยายามกระตุ้น
ใหน้ กั เรยี นทาใบงานดว้ ยตนเอง
๔. ก่อนที่นักเรียนจะศึกษาเอกสารประกอบการเรียนการสอน เร่ือง การอ่านจับใจความ
พระบรมราโชวาทของรัชกาลที่ ๕ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๓ ทั้ง ๖ เล่ม ให้นักเรียน
ทาแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิกอ่ นเรียน จานวน ๓๐ ข้อ และครูประมวลผลคะแนนแบบทดสอบวัดผล
สัมฤทธก์ิ อ่ นเรียนจานวน ๓๐ ข้อ เพอื่ เปน็ ขอ้ มูลตดิ ตามความกา้ วหนา้ ของนักเรียน
๕. ครูควรแนะนาให้นักเรียนอ่านทาความเข้าใจข้อควรปฏิบัติในการใช้เอกสารประกอบ
การเรยี นการสอน สาหรบั นักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ ๓ เพอื่ จะสามารถปฏบิ ตั ิไดอ้ ยา่ งถูกต้อง
๖. หลังจากจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ้นสุดในแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้ ครูและนักเรียน
ควรรว่ มกันสรปุ องคค์ วามรู้ก่อนเริ่มใชเ้ อกสารประกอบการเรียนการสอนเล่มต่อไป
๗. เมื่อครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้จบเนื้อหาในแต่ละเล่มของเอกสารประกอบการเรียนการสอน
สามารถให้นักเรียน เรียนรู้ผ่านทางส่ือโซเซียลมีเดีย เพ่ือความสะดวกในการทบทวนองค์ความรู้
ด้วยตนเองนอกห้องเรียน และใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ โดยการสแกนคิวอาร์โค้ดที่อยู่หน้าปก
ของเอกสารประกอบการเรียนการสอน

ขอ้ ควรปฏิบัติในกำรใชเ้ อกสำรประกอบกำรเรยี นกำรสอน
สำหรับนักเรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษำปที ่ี ๓

๑. เอกสารประกอบการเรียนการสอน เร่ือง การอ่านจับใจความพระบรมราโชวาทของรัชกาลท่ี ๕
สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๓ จัดทาข้ึนเพื่อให้นักเรียนได้ศึกษาหาความรู้เพ่ิมเติม เพื่อพัฒนา
ความสามารถของตนเอง โดยนักเรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง ตามความสามารถของแต่ละคน
ไมจ่ ากัดเวลา

๒. เอกสารประกอบการเรียนการสอนเลม่ น้ี เปน็ เลม่ ท่ี ๑ บทนาและทม่ี าพระบรมราโชวาท
๓. นักเรียนฟังคาแนะนาเก่ียวกับข้ันตอนการปฏิบัติกิจกรรมของเอกสารประกอบการเรียน
การสอน เล่มที่ ๑ บทนาและท่ีมาพระบรมราโชวาท จากครูใหเ้ ข้าใจ
๔. ก่อนนักเรียนจะเร่ิมใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน เล่มที่ ๑ บทนาและที่มา
พระบรมราโชวาท นกั เรียนต้องทดสอบความรู้ จากแบบทดสอบกอ่ นเรียน จานวน ๑๐ ข้อ
๕. ศึกษาคาช้ีแจงและคาอธิบายเพิ่มเติมจากครู แล้วปฏิบัติกิจกรรมศึกษาใบความรู้ ทาใบงาน
ของแตล่ ะเล่มด้วยความซอื่ สัตย์ รอบคอบและตง้ั ใจ
๖. เมื่อนักเรียนศึกษาใบความรู้และทาใบงานของเอกสารประกอบการเรียนการสอน เล่มที่ ๑
บทนาและที่มาพระบรมราโชวาท เรยี บร้อยแล้ว ใหท้ าแบบทดสอบหลงั เรยี น จานวน ๑๐ ข้อ

ขยนั ต้ังใจ ซื่อสตั ยแ์ ละรบั ผดิ ชอบ
พรอ้ มแล้วเราเร่มิ เลยนะ

เช่นกนั ครบั

พรอ้ มแลว้ ครบั

แผนผงั แสดงข้นั ตอนกำรใช้เอกสำรประกอบกำรเรียนกำรสอน
เร่อื ง กำรอ่ำนจับใจควำมพระบรมรำโชวำทของรชั กำลท่ี ๕
สำหรบั นกั เรียนช้ันมัธยมศึกษำปที ี่ ๓ เลม่ ท่ี ๑ บทนำและทม่ี ำพระบรมรำโชวำท

ทำแบบทดสอบ
วัดผลสัมฤทธ์ิกอ่ นเรียน จำนวน ๓๐ ข้อ

ประมวลผลคะแนน
แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิ์กอ่ นเรยี นจำนวน ๓๐ ข้อ

ทำแบบทดสอบก่อนเรียน จำนวน ๑๐ ข้อ

ศึกษำเอกสำรประกอบกำรเรยี นกำรสอน
เล่มท่ี ๑ บทนำและท่ีมำพระบรมรำโชวำท

สรปุ องคค์ วำมรู้
เอกสำรประกอบกำรเรียนกำรสอน
เล่มที่ ๑ บทนำและทีม่ ำพระบรมรำโชวำท

ทำแบบทดสอบหลังเรยี น จำนวน ๑๐ ข้อ

ใชเ้ อกสำรประกอบกำรเรียนกำรกำรสอน
เลม่ ท่ี ๒ วำณิชสู้ไม่ถอย

มำตรฐำนกำรเรียนรู้ ตวั ช้วี ดั และสำระสำคัญ

มำตรฐำนกำรเรยี นรู้

มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนาไปใช้ตัดสินใจแก้ปัญหา
มาตรฐาน ท ๕.๑ ในการดาเนนิ ชีวติ และมีนิสัยรกั การอา่ น
เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทย อย่างเห็น
คณุ คา่ และนามาประยุกต์ใช้ในชวี ิตจรงิ

ตวั ช้ีวดั

ท ๑.๑ ม.๓/๔ อา่ นเรอื่ งต่างๆ แล้วเขียนกรอบแนวคดิ ผงั ความคดิ บนั ทึก ย่อความ และรายงาน
ท ๕.๑ ม.๓/๑ สรุปเนือ้ หาวรรณคดี วรรณกรรมและวรรณกรรมท้องถนิ่ ในระดับท่ียากย่งิ ข้ึน

สำระสำคัญ

พระบรมราโชวาทของรชั กาลท่ี ๕ พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชนิพนธ์
เมื่อ พ.ศ. ๒๔๒๘ เพ่ือพระราชทานแก่พระเจ้าลูกยาเธอทั้ง ๔ พระองค์ เมื่อครั้งเสด็จไปทรงศึกษา
วิชาการ ณ ต่างประเทศครั้งทรงพระเยาว์ คือ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ (พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์)
กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธ์ิ (พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักด์ิ) กรมหลวงปราจิณกิติบดี (พระองค์เจ้าประวิตร
วัฒโนดม) และกรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช (พระองคเ์ จ้าจริ ประวัติวรเดช)

แบบทดสอบก่อนเรยี น

เลม่ ที่ ๑ บทนำและท่ีมำพระบรมรำโชวำท จำนวน ๑๐ ขอ้
๑๐ นำที
รำยวชิ ำ ภำษำไทย ๕ รหสั วิชำ ท ๒๓๑๐๑ เวลำ

คำช้แี จง ให้นักเรียนเลือกคาตอบท่ีถูกที่สุดเพียงคาตอบเดียว โดยทาเคร่ืองหมายกากบาท (×)
ทบั ตัวอกั ษรหนา้ คาตอบ

๑. “ถ้อยคำท่ีพระมหำกษัตริย์ทรงแนะนำตักเตือนหรอื ส่ังสอน” ข้อความนหี้ มายถึงขอ้ ใด
ก. พระราชดารสั
ข. พระราชบญั ชา
ค. พระบรมราโชวาท
ง. พระราชกระแสรับสง่ั

๒. ข้อใดกล่าวไมถ่ กู ต้องเก่ียวกับประวตั ิผแู้ ตง่
ก. มพี ระนามเดมิ วา่ เจ้าฟา้ จุฬาลงกรณ์
ข. ได้รับถวายพระราชสมญั ญานามวา่ สมเด็จพระปยิ มหาราช
ค. ครองราชสมบตั ิเมื่อพระชนมายไุ ด้ ๑๕ พรรษา
ง. ประสตู ิเม่อื วนั ที่ ๒๓ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๔๕๓

๓. ข้อใดไมถ่ ูกกลำ่ วถงึ ในเร่อื งพระบรมราโชวาท
ก. ไมค่ วรประกาศตนว่าเปน็ เจ้า เพราะการไวย้ ศนั้นทาให้วางตนลาบาก
ข. ใชเ้ งินแผน่ ดินในการสง่ พระราชโอรสไปศึกษาเล่าเรียนตา่ งประเทศ
ค. เกดิ เปน็ ลกู ของเจา้ ฟ้าเจา้ แผน่ ดนิ ก็มใิ ช่วา่ จะฝักใฝแ่ ตค่ วามสบาย
ง. ให้ประพฤติให้ดอี ย่เู สมอ ถ้าทาผิดจะถกู ลงโทษ

๔. “กำรซงึ่ จะใหอ้ อกไปเรียนหนงั สอื ครั้งน้ี มคี วำมประสงค์มุ่งหมำยแต่จะใหไ้ ดว้ ิชำควำมร้อู ย่ำงเดียว
ไม่มัน่ หมำยจะให้เปน็ เกียรติยศช่อื เสียง” ข้อความนเี้ ปน็ โวหารชนิดใด

ก. เทศนาโวหาร
ข. บรรยายโวหาร
ค. พรรณนาโวหาร
ง. สาธกโวหาร

๕. “ชีวิตสังขำรของมนุษยไ์ มย่ ง่ั ยนื ยดื ยำวเหมอื นเหล็กเหมอื นศิลำ” ข้อความนี้เปน็ ภาพพจนช์ นดิ ใด

ก. อติพจน์

ข. อุปลกั ษณ์

ค. อุปมา

ง. สัทพจน์

๖. ข้อใดคือพระราชประสงค์ในการให้พระเจ้าลูกยาเธอ เสดจ็ ไปศกึ ษาต่อตา่ งประเทศ

ก. ใหใ้ ช้จา่ ยฟุ่มเฟอื ย

ข. ให้มกี จิ ส่วนตัวมากขึ้น

ค. ให้มีงานทาให้ตาแหน่งสงู

ง. ใหน้ าความรมู้ าใช้ในการพฒั นาประเทศ

๗. ขอ้ ใดไมถ่ ูกตอ้ งเก่ยี วกบั คณุ คา่ ดา้ นสงั คม

ก. สะทอ้ นให้เหน็ ค่านิยมของการรบั ราชการ

ข. การให้ความรนู้ ั้นถอื ว่ามากกวา่ ทรพั ย์สนิ เงนิ ทอง

ค. วิชาความรู้ในสมัยก่อนน้ันยังไม่รงุ่ เรืองเท่าปัจจุบนั

ง. ฝร่ังที่มั่งมไี ดเ้ งินใชจ้ ่ายจากภาษีของราษฎร

๘. ใครคือพระบดิ าแหง่ กฎหมายไทย

ก. กรมพระจนั ทบุรีนฤนาถ

ข. กรมหลวงราชบุรีดเิ รกฤทธ์ิ

ค. กรมหลวงปราจิณกิติบดี

ง. กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช

๙. ใครคอื พระบดิ าแห่งกองทพั บกไทย

ก. กรมพระจนั ทบุรีนฤนาถ

ข. กรมหลวงราชบุรดี เิ รกฤทธ์ิ ต้ังใจทานะ

ค. กรมหลวงปราจิณกิติบดี

ง. กรมหลวงนครไชยศรีสรุ เดช ครับผม

๑๐. พระองคใ์ ดเปน็ ต้นราชสกุล กิติยากร คะแนนเตม็
ก. กรมพระจันทบรุ ีนฤนาถ ๑๐ คะแนน
ข. กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธ์ิ
ค. กรมหลวงปราจิณกติ ิบดี คะแนนท่ไี ด้
ง. กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช .............คะแนน

ใบควำมรทู้ ่ี ๑
บทนำและท่มี ำพระบรมรำโชวำท

ผู้แตง่ พระบำทสมเด็จพระจุลจอมเกลำ้ เจ้ำอยหู่ วั

ประวัตผิ ูแ้ ตง่

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระนามเดิมว่า “เจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์”
เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๔ กับสมเด็จพระเทพ
ศิรินทราบรมราชินี (สมเด็จพระนางราเพยภมราภิรมย์) พระองค์ประสูติเม่ือวันที่ ๒๐ กันยายน
พ.ศ. ๒๓๙๖ ตรงกับวนั อังคาร แรม ๓ ค่า เดือน ๑๐ ปีฉลู ได้ทรงรบั สถาปนาเป็นกรมหม่ืนพฆิ เนศวร
สุรสงั กาศและกรมขนุ พินติ ประชานาถ

พระองค์ทรงได้รับการศึกษาเป็นมาอย่างดี ทรงศึกษาอักษรศาสตร์ โบราณราชประเพณี
ภาษาบาลี ภาษาอังกฤษ เม่ือพระชนมายุได้ ๑๕ พรรษา ได้ข้ึนเถลิงถวัลยราชสมบัติโดยมีสมเด็จ
เจา้ พระยาบรมมหาศรสี รุ ยิ วงศ์เป็นผสู้ าเรจ็ ราชการ พ.ศ. ๒๔๑๑

พระราชกรณียกิจท่ีสาคัญทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มีการเลิกทาส การป้องกันการเป็น
อาณานิคมของฝรั่งเศส และจักรวรรดิอังกฤษ นอกจากน้ียังนาระบบความเจริญก้าวหน้าของชาติ
ตะวันตกมาใช้พัฒนาในประเทศไทย ทรงนาระบบการใช้ธนบัตรและเหรียญบาท มีการสร้างรถไฟ
ประปา และไฟฟ้า สร้างระบบเขตการปกครองใหม่ เชน่ จงั หวดั อาเภอ

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคตด้วยโรคพระวักกะ (ไต) เม่ือวันท่ี
๒๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๕๓ ณ พระท่ีน่ังอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต รวมพระชนมพรรษาได้
๕๗ พรรษา ทรงได้รับถวายพระราชสมัญญานามว่า “สมเด็จพระปิยมหำรำช” แปลว่า
พระมหากษัตริยผ์ ้ยู ่ิงใหญอ่ ันเปน็ ทร่ี ักย่งิ ของปวงชน

เกร็ดนำ่ รู้
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยู่หัว (รชั กาลท่ี ๕)
เสด็จสวรรคตวันที่ ๒๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๕๓ ต่อมาในสมัย
รัชกาลท่ี ๖ ทางราชการจึงประกาศให้วันที่ ๒๓ ตุลาคม
ของทกุ ปี เปน็ วันทสี่ าคญั ของชาตเิ รยี กวา่ “วนั ปิยมหำรำช”

ลักษณะคำประพันธ์ รอ้ ยแก้ว

ทมี่ ำของเร่ือง

พ ร ะ บ าท ส ม เด็ จ พ ร ะ จุ ล จ อ ม เก ล้ า เจ้ าอ ยู่ หั ว ท ร ง พ ร ะ ร าช นิ พ น ธ์ พ ร ะ บ ร ม ร าโช ว า ท
เมื่อ พ.ศ. ๒๔๒๘ เพื่อพระราชทานแก่พระเจ้าลูกยาเธอท้ัง ๔ พระองค์ ที่เสด็จไปทรงศึกษาต่อ
ตา่ งประเทศ เมอื่ ครงั้ ทรงพระเยาว์

ประวัติพระเจำ้ ลกู ยำเธอทั้ง ๔ พระองค์

กรมพระจันทบรุ ีนฤนำถ พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระจนั ทบุรนี ฤนาถ มีพระนามเดิมว่า
พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ ประสูติวันจันทร์ท่ี ๘ มิถุนายน
พ.ศ. ๒๔๑๗ เป็นพระราชโอรสองค์ท่ี ๑๒ ประสูติแต่เจ้าจอม
มารดาอ่วม เม่ือสาเร็จการศึกษาทรงเข้ารับราชการตาแหน่งเสนาบดี
ก ระท รวงพ ระค ลั งม ห าสม บั ติ เสน าบ ดี ก ระ ท รวงพ าณิ ช ย์
และอภิรัฐมนตรี สิ้นพระชนม์เมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๔ พระชันษา ๕๗ ปี
ทรงเป็นต้นราชสกลุ กิติยำกร

กรมหลวงรำชบรุ ีดิเรกฤทธิ์ พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ มีพระนาม
เดิมว่า พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ ประสูติวันพุธท่ี ๒๑ ตุลาคม
พ.ศ. ๒๔๑๗ เป็นพระราชโอรสองค์ที่ ๑๔ ประสูติแต่เจ้าจอมมารดา
ตลับ สาเร็จการศึกษาด้านกฎหมายจากมหาวิทยาลัยออกฟอร์ด
ประเทศอังกฤษ ทรงเข้ารบั ราชการตาแหน่งเสนาบดีกระทรวงยุติธรรม
ทรงได้รับสมัญญาว่า พระบิดาแห่งกฎหมายไทย สิ้นพระชนม์เมื่อ
พ.ศ.๒๔๖๓ พระชันษา ๔๗ ปี ทรงเป็นต้นราชสกลุ รพีพัฒน

กรมหลวงปรำจิณกติ ิบดี ๑๐

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงปราจิณกิติบดี มีพระนาม
เดิมว่า พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโนดม ประสูติเดือนพฤษภาคม
พ.ศ. ๒๔๑๘ เป็นพระราชโอรสองค์ท่ี ๑๕ ประสูติแตเ่ จ้าจอมมารดา
แช่ม สาเร็จการศึกษาด้านภาษาท้ังภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส
และเยอรมัน จากประเทศอังกฤษและฝร่ังเศส ทรงเข้ารับราชการ
ตาแหน่งราชเลขาธิการในพระองค์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า
เจ้าอยหู่ ัว สิ้นพระชนม์เม่ือ พ.ศ. ๒๔๖๒ พระชันษา ๔๕ ปี ทรงเป็น
ตน้ ราชสกุล ประวติ ร

กรมหลวงนครไชยศรีสรุ เดช จอมพลพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช
มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช ประสูติเดือน
พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๑๙ เป็นพระราชโอรสองค์ท่ี ๑๗ ประสูติแต่
เจ้าจอมมารดาทับทิม สาเร็จการศึกษาด้านทหารจากประเทศ
อังกฤษและเดนมาร์ก ทรงเข้ารับราชการตาแหน่งกรมยุทธนาธิการ
ต่อมาได้ดารงตาแหน่งผู้บัญ ชาการทหารบกแ ละเสนาบดี
กระทรวงกลาโหม สิ้นพระชนม์เมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๖ พระชันษา ๓๘ ปี
ทรงเปน็ ตน้ ราชสกุล จริ ประวตั ิ

รไู้ วใ้ ช่ว่ำ...
พระบรมราโชวาท เป็นการสร้างคาโดยวิธีสมาส คือ พระบรม + รำโชวำท และเป็น
การสมาสแบบมีสนธิในคาวา่ รำโชวำท คอื รำช + โอวำท

สำระสำคญั ของเรื่อง ๑๑

๑. การไปเรียนในคร้ังน้ีให้ต้ังใจไปเพ่ือศึกษาวิชาความรู้อย่างเดียว ไม่ควรไปเปิดเผยหรือ

เผยแพร่เกียรติยศช่ือเสียง ไม่ควรประกาศตนว่าเป็นเจ้า เพราะการไว้ยศน้ันทาให้วางตนลาบาก

จะตอ้ งรักษายศศกั ด์ิ จึงควรประพฤตติ นเยยี่ งสามัญชนท่ัวไป

๒. เงินที่ใช้สอยในการศึกษาเล่าเรียน เป็นเงินพระคลังข้างท่ี ท้ังน้ีเพราะว่าพระองค์มี

พระราชโอรสมาก จึงทรงเห็นวา่ การใชเ้ งินแผ่นดนิ ในการส่งพระราชโอรสไปศึกษาเล่าเรียนจงึ ทาให้

พน้ จากคาครหาท้งั ปวง

๓. ขอให้ตระหนักว่า ถึงจะเกิดมาเป็นลูกของเจ้าฟ้าเจ้าแผ่นดิน ก็มิใช่ว่าจะฝักใฝ่แต่

ความสบายอยา่ งเดยี ว จงึ ขอให้มีความอตุ สาหะใฝ่ใจศกึ ษาเล่าเรยี น

๔. อย่าคิดว่าตนเป็นลูกพระเจ้าแผ่นดิน มอี านาจยงิ่ ใหญ่ จะมาทาเกะกะระรานไม่เกรงกลัว

ผใู้ ดไม่ได้ พระองค์ทรงปรารถนาให้พระราชโอรสมคี วามออ่ นน้อม ว่านอนสอนง่าย ใหป้ ระพฤตใิ ห้ดี

อยเู่ สมอ ถ้าทาผิดจะถูกลงโทษทนั ที

๕. เงินทองท่ีใช้สอย ขอให้จงประหยัดเขม็ดแขม่ อย่าทาใจโตใช้จ่ายเงินสุรุ่ยสุร่าย ถ้าใคร

เป็นหนี้กลับมา พระองค์จะไม่ยอมใช้ให้ หากจะใช้ให้ก็จะต้องได้รับการลงโทษเป็นประกันม่ันใจ

ก่อนวา่ จะไมก่ ลับไปทาอีก

๖. วิชาที่ออกไปศึกษาเล่าเรียน ต้องเรยี นภาษาให้ได้สองในสาม จากภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส

และเยอรมนั ทสี่ าคญั ตอ้ งไม่ลมื ภาษาไทย

๗. การเล่าเรียนทั้งปวงของพระราชโอรส พระองค์ได้ทรงมอบธุระสิทธ์ิขาดให้แก่กรมหมื่น

เทวะวงศ์วโรปการ และมีราชทูตเป็นธุระดูแลทุกสิ่งทุกอย่าง ถ้ามีปัญหาหรือต้องการปรึกษาอันใด

ใหส้ อบถามได้ สู้ๆ คะ่

ยง่ิ อา่ นย่ิงได้ความรนู้ ะคะ

๑๒

คณุ ค่ำจำกเรอื่ ง

คณุ ค่ำดำ้ นวรรณศิลป์

➢ ใชเ้ ทศนาโวหารดว้ ยสานวนภาษาง่ายๆ ตรงไปตรงมา เช่น

• ขอจดหมายคาสั่งตามความประสงค์ให้แก่ ลูกบรรดาซึ่งจะให้ออกไปเรียนหนังสือ

ในประเทศยุโรป จงประพฤติตามโอวาททจี่ ะกลา่ วต่อไปน้ี

• การซ่ึงจะให้ออกไปเรียนหนังสือคร้ังนี้ มีความประสงค์มุ่งหมายแต่จะให้ได้วิชาความรู้

อยา่ งเดยี ว ไมม่ ่ันหมายจะให้เปน็ เกียรตยิ ศชือ่ เสียง...

➢ ทรงโน้มน้าวใจโดยทรงชี้ให้เหน็ ทัง้ ขอ้ ดีและขอ้ เสยี เปรยี บเทียบกัน เชน่ “…ถำ้ เปน็ เจ้ำนำยแลว้

ต้องรักษำยศศักดิ์ในกิจกำรท้ังปวงท่ีจะทำทุกอย่ำงเป็นเครื่องล่อตำล่อหูคนทั้งปวงที่จะพอใจดู

พอใจฟัง จะทำอันใดก็ต้องระวังตัวไปทุกอย่ำงท่ีสุดจนจะซ้ือจ่ำยอันใดก็แพงกว่ำคนสำมัญ

เพรำะเขำถือว่ำมั่งมี เป็นกำรเปลืองทรัพย์ในที่ไม่ควรจะเปลือง เพรำะเหตุว่ำถึงจะเป็นเจ้ำก็ดี

เปน็ ไพร่ก็ดี เมื่ออยู่ในประเทศมใิ ชบ่ ้ำนเมืองของตัว กไ็ ม่มอี ำนำจที่จะทำฤทธ์ิเดชอนั ใดไปผิดกับ

คนสำมัญได้ จะมปี ระโยชน์อยู่นดิ หน่งึ แตเ่ พยี งเข้ำท่ปี ระชุมสูงๆ ได้ แต่ถ้ำเป็นลูกผู้มีตระกูลก็จะ

เข้ำทป่ี ระชมุ สงู ๆ ไดเ้ ทำ่ กนั กบั เป็นเจ้ำนัน่ เอง...”

➢ การเปรยี บเทียบความประพฤติของคนที่อยู่นง่ิ ๆ โดยไม่ทาการสงิ่ ใด เพ่อื กระตุ้นเตอื นใหผ้ ู้ฟัง

เกิดแรงบันดาลใจ มีมานะท่ีจะหมั่นศึกษาหาความรู้ เช่น “...ถ้ำจะถือว่ำเกิดมำเป็นเจ้ำนำยแล้ว

น่ิงๆ อยจู่ นตลอดชีวิตกส็ บำยดังนนั้ จะไม่ผิดอันใดกับสตั ว์ดิรจั ฉำนอย่ำงเลวนัก...”

➢ การใชภ้ าพพจน์ เปรยี บเทยี บใหเ้ กดิ จินตนาภาพ เช่น “...ชีวิตสงั ขำรของมนษุ ยไ์ ม่ย่ังยืน

ยืดยำวเหมือนเหล็กเหมือนศิลำ ถึงโดยว่ำจะมีพ่ออยู่ในขณะหนึ่ง ก็คงจะมีเวลำที่ไม่มีได้

ขณะหนึ่งเป็นแน่แท้ ถ้ำประพฤติควำมชั่วเสียแต่ในเวลำมีพ่ออยู่แล้ว โดยจะปิดบังซ่อนเร้นอยู่

ได้ด้วยอย่ำงหนึ่งอย่ำงใด เวลำไม่มีพ่อ ควำมช่ัวนั้นคงจะปรำกฏเป็นโทษติดตัวเหมือนเงำ

ตำมหลังอยไู่ ม่ขำด...” ตัง้ ใจเรยี นนะ

เพอ่ื นๆ

๑๓

คุณค่ำจำกเรอื่ ง

คุณค่ำดำ้ นสังคม

➢ สะท้อนให้เหน็ ว่าสมัยแตเ่ ดมิ นนั้ บตุ รของท่านผู้มบี รรดาศักด์ทิ งั้ หลายจะหาชอ่ งทางรับ
ราชการยากเพราะเป็นผู้มีวาสนาก็จะต้องแต่งต้ังให้รับตาแหน่งใหญ่โตสมฐานะ แต่ถึงตาแหน่ง
จะใหญ่โตความรู้ความสามารถก็ยังต้องถึงด้วย ดังคาสอนในพระบรมราโชวาทว่า “...เจ้ำนำย
จะเป็นผู้ได้ทำรำชกำรมีช่ือเสียงดี ก็อำศัยได้แต่สติปัญญำควำมรู้และควำมเพียรของตัว
เพรำะฉะนั้นจงอตุ สำหะเล่ำเรยี นโดยควำมเพียรอย่ำงย่ิง...”

➢ สมัยก่อนการใหค้ วามรนู้ ั้นถอื ว่ามากกว่าทรพั ยส์ นิ เงนิ ทอง เพราะเป็นของตดิ ตวั ไม่เสื่อมสญู
ดังคาสอนในพระบรมราโชวาทว่า “...กำรซ่ึงให้มีโอกำสและให้ทุนทรัพย์ซ่ึงจะได้เล่ำเรียนวิชำน้ี
เป็นทรัพย์มรดกอนั ประเสริฐดีกว่ำทรัพย์สนิ เงินทองอ่ืนๆ ด้วยเป็นของติดตวั อยู่ได้ไม่มีอันตรำย
ท่จี ะเส่อื มสูญ ลกู คนใดที่มสี ติปัญญำเฉลียวฉลำดกด็ ีหรอื ไม่มสี ติปญั ญำเฉลียวฉลำดก็ดีกจ็ ะต้อง
ส่งไปเรียนทุกคนตลอดโอกำสที่จะเป็นไปได้เหมือนหน่ึงได้แบ่งทรัพย์มรดกให้แก่ลูกเสมอๆ
กนั ทุกคน...”

➢ สะท้อนให้เหน็ วา่ ฝร่ังแตก่ ่อนน้ันมงั่ มี มเี งินใชเ้ ยอะๆ น้นั มาจากการได้ดอกเบย้ี สมยั กอ่ นน้นั
จึงสอนบุตรไม่ให้อวดมั่งอวดมีทาเทียบเทียมผู้ดีฝร่ัง ให้ใช้เงินอย่างประหยัด มีเงินใช้เฉพาะแต่ท่ีจะ
รักษาความสุขของตนพอสมควร ดังคาสอนในพระบรมราโชวาทว่า “...ตั้งใจอยู่ให้เสมอว่ำตนเป็น
คนจน มีเงินใช้เฉพำะแต่ที่จะรักษำควำมสุขของตัวพอสมควรเท่ำน้ัน ไม่ม่ังมีเหมือนใครๆ อื่น
และไม่เหมือนกับผู้ดีฝรั่งเลย ผู้ดีฝร่ังเขำมั่งมีสืบตระกูลกันมำด้วยได้ดอกเบี้ย ค่ำเช่ำต่ำงๆ
ตวั เองเป็นผู้ได้เงินจำกรำษฎรเล้ียง พอสมควรท่ีจะเลี้ยงชีวิตและรกั ษำเกียรติยศเท่ำน้ัน อย่ำไป
อวดมงั่ อวดมีทำเทยี บเทยี มเขำให้ฟุ้งซำ่ นไปเป็นอันขำด”

➢ สะท้อนใหเ้ ห็นวา่ วิชาความรใู้ นสมัยก่อนนั้นยังไม่รุ่งเรอื งเหมอื นสมัยน้ี เหตุมาจากการทไี่ ม่ได้
คบคา้ สมาคมกับชาติอ่ืนมาช้านาน ฝ่ายหนังสือไทยจงึ ไม่พอท่ีจะเลา่ เรียน จึงต้องไปเรียนภาษาอ่ืนเพ่ือ
นากลับมาใช้ใหเ้ กิดประโยชน์ ดังที่ตรัสไว้ในพระบรมราโชวาทว่า “จงเข้ำใจว่ำภำษำต่ำงประเทศนั้น
เป็นแต่พื้นของควำมรู้ เพรำะวิชำควำมรู้ในหนังสือไทยท่ีมีผู้แต่งไว้น้ันเป็นแต่ของเก่ำๆ มีน้อย
เพรำะมิได้สมำคมกับชำติอื่นช้ำนำนเหมือนวิชำกำรในยุโรปที่ได้สอบสวน ซ่ึงกันและกันจนได้
เจริญรุ่งเรอื งมำกแล้วนัน้ ฝ่ำยหนังสือไทยจึงไม่พอท่ีจะเล่ำเรียน จึงตอ้ งไปเรียนภำษำอ่ืนเพื่อจะได้
เรียนวิชำใหก้ วำ้ งขวำงออก แลว้ จะเอำกลบั ลงมำใชเ้ ปน็ ภำษำไทยทง้ั สนิ้ ...”

๑๔

คุณค่ำจำกเรอื่ ง

ดำ้ นกำรนำไปใชใ้ นชวี ติ

๑. การไปศึกษาท่ีใดไม่ให้อวดอ้างหรือไว้ยศว่าเป็นเจ้า เพราะจะได้ไม่ต้องใช้เงินฟุ่มเฟือย

ในการรักษายศถาบรรดาศกั ดิ์ โดยไม่ได้ก่อใหเ้ กิดประโยชนอ์ นั ใด

๒. ให้นกึ ไวว้ า่ ทุนทรัพยท์ ไ่ี ดเ้ ลา่ เรียนวชิ านี้ เปน็ ทรพั ย์มรดกอนั ประเสริฐกว่าทรัพย์สนิ เงินทอง

อน่ื ๆ ด้วยเป็นของติดตัวไม่เสอื่ มสูญ จึงใหม้ คี วามอตุ สาหะพากเพยี รเรียนหนงั สือใหเ้ ต็มที่ เพื่อจะได้

มโี อกาสทจี่ ะทาคณุ ใหแ้ กบ่ ้านเมือง

๓. รู้จักเป็นคนอ่อนน้อมว่าง่ายสอนง่าย อย่าให้เป็นทิฐิมานะไปในทางท่ีผิด จงละเว้นท่ีชั่ว

ซ่งึ รไู้ ดเ้ องแกต่ ัวหรอื มีผตู้ ักเตือนแนะนาใหร้ ู้แล้ว อยา่ ใหล้ ว่ งให้เปน็ ไปได้เลยเปน็ อนั ขาด

๔. ให้รู้จักใช้จ่ายอย่างประหยัดและรู้จักคุณค่าของเงิน อย่าทาใจโตมือโตสุรุ่ยสุร่าย จงนึกไว้

ให้เสมอวา่ เงนิ ทองท่ีแลเหน็ มากๆ นนั้ ไมไ่ ดเ้ ปน็ ของหามาได้โดยงา่ ยเหมอื นเวลาที่จ่ายไป

๕. ไม่ให้ใช้เกียรติยศช่ือเสียงเป็นช่องทางในการทามาหากิน ถ้าจะเป็นผู้ท่ีได้ทาราชการมี

ชอื่ เสยี งดี กต็ ้องอาศยั แต่สตปิ ญั ญาความรู้ ไมใ่ ช่ยศถาบรรดาศกั ดิ์

๖. ไม่ให้ถือตัวว่าเป็นผู้มีอานาจยิ่งใหญ่แล้วทาเกะกะระรานคุมเหมไม่เกรงกลัวผู้ใด

เพราะจะเปน็ โทษแก่ตัวเองเมอื่ หมดอานาจวาสนาแล้ว

๗. ไม่ใหก้ ่อหน้ียมื สนิ เพราะจะให้โทษแก่ตัวเองเมอ่ื ถงึ เวลาใชห้ น้ีกต็ ้องหาเงนิ มาใชใ้ หท้ นั

๘. ไม่ให้คิดว่าเป็นเจ้านายมั่งมีแล้วอยู่นิ่งๆ ไม่ทาประโยชน์อันใด เพราะจะไม่ผิดอันใด

กบั สัตว์ดิรัจฉานเพราะสัตว์บางอย่างยังมีหนังมีเขามีกระดูกเป็นประโยชน์ไดบ้ ้างแต่ถ้าคนประพฤติ

อย่างสัตว์ จะไมม่ ีประโยชนอ์ ันใดยง่ิ กว่าสัตวด์ ริ ัจฉานบางพวกอีก

๙. ให้เข้าใจว่าการออกไปศึกษาในประเทศยุโรปนั้น ใช่ว่าจะต้องนาเอามาใช้แต่เฉพาะภาษา

ฝรั่งอย่างเดียว ภาษาไทยและหนังสือไทยซ่ึงเป็นภาษาของเราเองคงจะต้องใช้อยู่เป็นนิจ คือ

สามารถกลบั มาแปลภาษาไทยออกเปน็ ภาษาตา่ งประเทศได้ จงึ จะนบั ว่าเป็นประโยชน์

๑๐. เม่ือไปอยู่โรงเรียนแห่งใดให้ประพฤติการให้เรียบร้อยตามแบบอย่างท่ีเขาต้ังไว้อย่าเกะกะ

วนุ่ วายเชื่อตัวเช่ือฤทธิไ์ ปต่างๆ สามารถนาไปใช้ใน

ชีวติ ประจาวนั ได้นะคะ

๑๕

คำศพั ทน์ ่ำรู้

คำศัพท์ ควำมหมำย

เขม็ดแขม่ ใชจ้ ่ายอยา่ งระมัดระวงั เพราะเกรงวา่ จะไม่พอใช้

คุมเหง ข่มเหง รังแก ใช้กาลงั หรอื อานาจทาให้เดือดรอ้ น

เงนิ พระคลังขำ้ งท่ี เงินแผ่นดินสว่ นที่ถวายพระมหากษัตริยเ์ พื่อทรงใชใ้ นพระราชกิจต่างๆ

ใจโตมือโต มใี จกว้างเกินประมาณ ใช้จ่ายมากเกินสมควรหรือเกินความจาเป็น

ทิฐิมำนะ ความเห็น ความพยายาม

เบ้ียหวดั เงนิ ที่มกี าหนดจ่ายเป็นรายได้ปีให้แก่พระบรมวงศานุวงศ์หรอื ข้าราชบริพารจาก

เงินงบประมาณรายจ่ายหมวดเงินอุดหนุนของสานักพระราชวัง ในท่ีนี้หมายถึง

เงินที่พระราชทานเปน็ งวดใหแ้ ก่เจ้านายหรือผู้รับราชการสนองพระเดชพระคณุ

ปฏิญำณ ใหค้ ามนั่ สัญญา โดยมากเปน็ ไปตามประเพณี

เป็นกำรเก๋กำรก๋ี เปน็ การทาทา่ ทวี า่ งามเขา้ ที ตรงกบั คาว่า โก้เก๋

ผดู้ ฝี รั่ง ชนชนั้ ขุนนางของยุโรป

ฟงุ้ ซ่ำน ในที่น้ีหมายความว่า มากเกินไป ในความว่า “อย่าทาอวดมั่งอวดมี

ทาเทยี บเทียมเขาให้ฟุง้ ซา่ น”

มลทนิ ความมัวหมอง ความด่างพร้อย ความไม่บรสิ ทุ ธิ์

ยศ เครือ่ งกาหนดหมายฐานะหรอื ชั้นของบุคคล

เอสไควร์ มาจากคาว่า Esquire เป็นคาใช้เขียนหลังชื่อผู้ชายอังกฤษ แสดงว่าเป็น

ผมู้ อี ันจะกนิ หรือผ้อู ยใู่ นตระกลู คหบดี

ฮิสรอแยล ม าจาก ค าว่า His Royal Highness Prince เป็ น คาน าห น้ าเจ้าน ายใน

ไฮเนสปรนิ ซ์ พระราชวงศ์อังกฤษ คือ พระราชโอรสหรอื พระราชนัดดา (ถ้าเป็นพระราชธิดา

ใช้ Her Royal Highness Princess) และยังใช้นาหน้าพระนามพระราชโอรส

องค์ใหญ่ของรชั ทายาท

มคี าศัพทน์ ่าสนใจมากมาย
ให้ศกึ ษาเรยี นรนู้ ะคะ

๑๖

กระตุ้นควำมสนใจ ใสใ่ จรำยละเอยี ด
➢ ใครเปน็ ผ้กู ล่าวพระบรมราโชวาท
➢ พระบรมราโชวาทน้ีพระราชทานเนื่องในโอกาสใด
➢ ในพระบรมราโชวาทกล่าวถึงพระราชโอรสกพ่ี ระองค์
➢ เม่ือนกั เรยี นฟังหรอื อา่ นแล้วมคี วามรู้สึกอย่างไร
➢ นักเรยี นนาพระบรมราโชวาทมาปรบั ใช้ไดห้ รือไม่ อย่างไร

รไู้ วใ้ ช่วำ่ ...
สิทธิสภำพนอกอำณำเขต คือ สิทธิพิเศษ
ท่ีจะใช้กฎหมายของประเทศหนึ่งบังคับบุคคลที่เป็น
พลเมอื งของประเทศตนใหม้ ีสทิ ธเิ หนือดนิ แดนท่ไี ปอยู่

๑๗

ใบงำนที่ ๑.๑
ผังควำมคดิ พชิ ติ องคค์ วำมรู้

คำช้ีแจง ให้นักเรียนศึกษาเน้ือหาของพระบรมราโชวาทของรัชกาลที่ ๕ แล้วสรุปองค์ความรู้
ที่ไดใ้ นประเด็นต่างๆ ในผังความคดิ ต่อไปน้ี

ประวตั ผิ ู้แต่ง

ควำมเป็นมำ ลกั ษณะคำประพนั ธ์

คำศัพท์ สำระสำคัญ
ในพระบรมรำโชวำท

คุณค่ำด้ำน คุณค่ำด้ำนเนือ้ หำ
วรรณศิลป์
คุณค่ำดำ้ นสังคมและ
คะแนนตดั สินระดบั คุณภาพ สะทอ้ นวิถไี ทย
ตั้งใจทานะคะ

คะแนนตดั สินระดบั คุณภำพ

คะแนน คุณภาพ
10 - 12 ดีมาก
7–9
4–6 ดี
1–3 พอใช้
ควรปรบั ปรงุ

๑๘

ใบงำนที่ ๑.๒
พระรำชโอรสจำกพระบรมรำโชวำท

คำช้แี จง ให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าพระราชประวัติของกรมพระจันทบุรีนฤนาถ กรมหลวง
ราชบุรีดิเรกฤทธ์ิ กรมหลวงปราจิณกิติบดีและกรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช
พระราชโอรสของรัชกาลท่ี ๕ จากเรอ่ื ง พระบรมราโชวาท

……………………………………………………………………
……………………………………………………………………
……………………………………………………………………
……………………………………………………………………
……………………………………………………………………
…………………………………………………………………….

พระนำม…………………………………… ……………………………………………………………………
………………………………………………… ……………………………………………………………………
………………………………………………… ……………………………………………………………………
…………………………………… ……………………………………………………………………
………………… ……………………………………………………………………
…………………………………… …………………………………………………………………….
……………………………………
……………………………………

พระนำม……………………………………
…………………………………………………
…………………………………………………
……………………………………
…………………

๑๙

……………………………………………………………………
……………………………………………………………………
……………………………………………………………………
……………………………………………………………………
……………………………………………………………………
…………………………………………………………………….

พระนำม…………………………………… ……………………………………………………………………
………………………………………………… ……………………………………………………………………
………………………………………………… ……………………………………………………………………
…………………………………… ……………………………………………………………………
………………… ……………………………………………………………………
…………………………………… …………………………………………………………………….
……………………………………
……………………………………

อา่ นคาช้แี จง คะแนนตัดสนิ ระดบั คุณภำพ
แสวงหาความรู้
สบื เสาะค้นดู คะแนน คณุ ภาพ
สู้ส้คู ะ่ นกั เรยี น 10 - 12 ดมี าก
7–9
4–6 ดี
1–3 พอใช้
ควรปรับปรุง

ใบงำนท่ี ๑.๓ ๒๐
ปรศิ นำอักษรไขว้ รูไ้ หมคำว่ำอะไร
คะแนนเต็ม
๑๐ คะแนน
คะแนนที่ได้
.............คะแนน

คำช้แี จง ใหน้ ักเรียนเตมิ คาในช่องวา่ งใหส้ ัมพันธ์กบั ความหมายทก่ี าหนดให้

๑๒ ๓



๓๕

แนวต้ัง แนวนอน

๑. พระบรมวงศานวุ งศ์ ๑. ทนั สมัย
๒. คาเรียกผ้ดู ฝี รั่ง ๒. ตาแหน่ง
๓. ประเทศที่ไปศึกษาเลา่ เรยี น ๓. รจู้ ักประหยดั ในการใช้จา่ ย
๔. เงินปี ๔. ความพยายาม
๕. มาตราเงินในยุโรป ๕. ใหค้ ามัน่ สัญญา

๒๑

ใบงำนที่ ๑.๔ คะแนนเตม็
๕ คะแนน

คณุ ธรรมจำกเรอื่ งพระบรมรำโชวำท คะแนนทไ่ี ด้

.............คะแนน

คำชีแ้ จง นักเรียนอ่านข้อความจากเรื่องพระบรมราโชวาทที่กาหนดให้แล้วเติมคุณธรรม

ทีส่ อดคล้องกบั ขอ้ ความใหถ้ ูกต้อง

ควำมมีเกยี รติ ควำมประหยดั ควำมกตญั ญู ควำมรักชำติ กำรรจู้ ักวำงตน ควำมเพยี ร

_ค_ว_ำม_ม_ีเ_ก_ีย_รต_ิ ตวั อย่ำง ทรงส่ังให้พระเจ้าลกู ยาเธอทรงปฏิบัตพิ ระองค์
อยา่ งผมู้ ศี กั ดิ์ มตี ระกูลสงู อย่าอวดอ้างวา่ เป็น
พระเจ้าลกู ยาเธอ

_________ ๑. ทรงใหพ้ ระราชโอรสนาความรู้ทไี่ ด้ศกึ ษาเล่าเรยี น
มาทาประโยชน์ให้แกบ่ า้ นเมือง

_________ ๒. ห้ามแสดงอานาจของตนว่าเปน็ พระราชโอรส
กระทาส่งิ ท่ีไม่ถกู ตอ้ ง

_________ ๓. อย่าฟุ้งเฟอ้ เหมือนเจา้ ฝรง่ั พระองค์ใดทรงก่อหน้ีสิน
จะไม่ใช้หน้ใี ห้ และจะตอ้ งมีโทษ

_________ ๔. พยายามศกึ ษาเล่าเรียนอย่างเต็มกาลังและอยา่ ละเลยภาษาไทย

_________ ๕. การประพฤตติ นในทางทดี่ ีและต้งั ใจศกึ ษาเลา่ เรียนก็ถอื ว่า
ได้สนองบุญคณุ สมเดจ็ พระราชบิดา

๒๒

แบบทดสอบหลงั เรียน จำนวน ๑๐ ขอ้
เล่มท่ี ๑ บทนำและท่ีมำพระบรมรำโชวำท เวลำ ๑๐ นำที
รำยวิชำ ภำษำไทย ๕ รหัสวิชำ ท ๒๓๑๐๑

คำชแ้ี จง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงคาตอบเดียว โดยทาเคร่ืองหมายกากบาท (×)
ทบั ตัวอกั ษรหนา้ คาตอบ

๑. ขอ้ ใดกล่าวไมถ่ กู ตอ้ งเกี่ยวกับประวัตผิ แู้ ต่ง
ก. มพี ระนามเดิมวา่ เจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์
ข. ประสูติเมือ่ วนั ท่ี ๒๓ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๔๕๓
ค. ครองราชสมบตั ิเมื่อพระชนมายไุ ด้ ๑๕ พรรษา
ง. ได้รับถวายพระราชสมัญญานามวา่ สมเดจ็ พระปยิ มหาราช

๒. “ถอ้ ยคำที่พระมหำกษัตรยิ ์ทรงแนะนำตกั เตือน หรอื สงั่ สอน” ขอ้ ความนีห้ มายถึงขอ้ ใด
ก. พระราชบัญชา
ข. พระราชดารสั
ค. พระบรมราโชวาท
ง. พระราชกระแสรับสั่ง

๓. “กำรซึ่งจะให้ออกไปเรยี นหนังสือครัง้ นี้ มีควำมประสงค์มุง่ หมำยแต่จะให้ไดว้ ิชำควำมรอู้ ย่ำงเดียว
ไม่มน่ั หมำยจะให้เป็นเกียรติยศช่ือเสยี ง” ข้อความนี้เปน็ โวหารชนิดใด

ก. สาธกโวหาร
ข. เทศนาโวหาร
ค. บรรยายโวหาร
ง. พรรณนาโวหาร
๔. “ชวี ิตสังขำรของมนุษย์ไม่ย่ังยนื ยดื ยำวเหมอื นเหลก็ เหมือนศลิ ำ” ขอ้ ความน้เี ป็นภาพพจน์
ชนดิ ใด
ก. อปุ มา
ข. อตพิ จน์
ค. สัทพจน์
ง. อุปลกั ษณ์

๒๓

๕. ขอ้ ใดไม่ถูกกล่ำวถึงในเรอ่ื งพระบรมราโชวาท

ก. ใหป้ ระพฤติให้ดีอยเู่ สมอ ถ้าทาผิดจะถกู ลงโทษ

ข. เกดิ เปน็ ลกู ของเจา้ ฟ้าเจ้าแผ่นดนิ กม็ ิใช่วา่ จะฝักใฝแ่ ตค่ วามสบาย

ค. ใช้เงนิ แผน่ ดนิ ในการสง่ พระราชโอรสไปศกึ ษาเลา่ เรียนตา่ งประเทศ

ง. ไม่ควรประกาศตนว่าเปน็ เจ้า เพราะการไว้ยศนั้นทาให้วางตนลาบาก

๖. ใครคือพระบิดาแห่งกฎหมายไทย

ก. กรมพระจนั ทบรุ ีนฤนาถ

ข. กรมหลวงปราจิณกิตบิ ดี

ค. กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช

ง. กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์

๗. ใครคอื พระบดิ าแห่งกองทพั บกไทย

ก. กรมพระจันทบุรีนฤนาถ

ข. กรมหลวงราชบุรีดเิ รกฤทธิ์

ค. กรมหลวงปราจิณกติ ิบดี

ง. กรมหลวงนครไชยศรีสรุ เดช

๘. พระองคใ์ ดเปน็ ตน้ ราชสกุล กติ ิยำกร

ก. กรมหลวงปราจณิ กติ ิบดี

ข. กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธ์ิ

ค. กรมพระจันทบุรนี ฤนาถ

ง. กรมหลวงนครไชยศรีสรุ เดช

๙. ขอ้ ใดคือพระราชประสงค์ในการให้พระเจ้าลูกยาเธอ เสด็จไปศกึ ษาตอ่ ตา่ งประเทศ

ก. ให้นาความรูม้ าใช้ในการพฒั นาประเทศ ใชจ่ไมา้ ่ยเาพกรใาชะไ่ พหวมกจเ๊ะรา
ข. ใหม้ งี านทาใหต้ าแหนง่ สูง เรียนมาแลว้
ค. ให้มกี จิ ส่วนตวั มากข้ึน

ง. ให้ใชจ้ ่ายฟุม่ เฟือย

๑๐. ขอ้ ใดไม่ถกู ต้องเกีย่ วกับคณุ ค่าดา้ นสงั คม คะแนนเตม็
ก. สะท้อนให้เหน็ ค่านิยมของการรบั ราชการ ๑๐ คะแนน
ข. ฝรงั่ ทมี่ ่ังมีได้เงินใช้จ่ายจากภาษขี องราษฎร
ค. ฝรง่ั ที่ม่ังมีได้เงินใช้จ่ายจากภาษีของราษฎร คะแนนท่ไี ด้
ง. วิชาความรใู้ นสมัยก่อนนั้นยังไม่รงุ่ เรอื งเท่าปจั จุบัน .............คะแนน