ภาษี ที่ดิน และสิ่ง ปลูก สร้าง 2565 จ่าย เมื่อ ไหร่

กระทรวงมหาดไทย ขยายระยะเวลาชำระ ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ปี 2565 ออกไปอีก 3 เดือน บรรเทาผลกระทบโควิด-19 ไม่ต้องเสียเบี้ยปรับ

วันที่ 23 มิถุนายน 2565 พลเอก อนุพงษ์ เผ่าจินดา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย เปิดเผยว่า เพื่อเป็นการบรรเทาผลกระทบของประชาชนในการจัดเก็บภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตามพระราชบัญญัติภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ. 2562 จึงได้ให้ความเห็นชอบขยายกำหนดเวลาการจัดเก็บภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ประจำปี พ.ศ. 2565 เป็นการทั่วไป ออกไปอีก 3 เดือน ได้แก่

  • อภิสิทธิ์ อ่านสูตรชิงรัฐบาลใหม่ 2 ป.สลับขั้ว ภูมิใจไทยขวางเพื่อไทยแลนด์สไลด์
  • ตารางคะแนนบอลโลก สรุปรอบแบ่งกลุ่มสู่รอบ 16 ทีม ใครไขว้ใคร
  • ใคร ๆ ก็ว่า “การบินไทย” (Not) Smooth as Silk

1. ขยายกำหนดเวลาของผู้เสียภาษีจากเดิมภายในเดือนเมษายน 2565 เป็นภายในเดือนกรกฎาคม 2565

2. ขยายกำหนดเวลาของผู้เสียภาษีในการผ่อนชำระภาษี โดยงวดที่ 1 จากเดิมภายในเดือนเมษายน 2565 เป็นภายในเดือนกรกฎาคม 2565 งวดที่ 2 จากเดิมภายในเดือนพฤษภาคม 2565 เป็นภายในเดือนสิงหาคม 2565 งวดที่ 3 จากเดิมภายในเดือนมิถุนายน 2565 เป็นภายในเดือนกันยายน 2565

3. ขยายกำหนดเวลาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการมีหนังสือแจ้งเตือนผู้เสียภาษีที่มีภาษีค้างชำระ จากเดิมภายในเดือนพฤษภาคม 2565 เป็นภายในเดือนสิงหาคม 2565

4. ขยายกำหนดเวลาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการแจ้งรายการภาษีค้างชำระให้สำนักงานที่ดินหรือสำนักงานที่ดินสาขา จากเดิมภายในเดือนมิถุนายน 2565 เป็นภายในเดือนกันยายน 2565

“การขยายระยะเวลาดำเนินการตามกฎหมายดังกล่าว เพื่อช่วยบรรเทาภาระภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างแก่ประชาชนและผู้ประกอบการทั่วประเทศที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด – 19) โดยผู้เสียภาษีจะมีระยะเวลาเตรียมการชำระภาษีและผ่อนชำระภาษีประจำปี พ.ศ. 2565 เพิ่มมากขึ้น และไม่ต้องเสียเบี้ยปรับและเงินเพิ่มหากได้ชำระภาษีภายในกำหนดระยะเวลาที่ให้ความเห็นชอบ”

“ทั้งนี้ กรณีผู้เสียภาษีบางรายที่เคยเสียเบี้ยปรับและเงินเพิ่มตามกฎหมาย อันเนื่องมาจากไม่ชำระภาษีภายในเดือนเมษายน 2565 หรือภายในระยะเวลาที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นบางแห่งได้ขยายระยะเวลาการชำระภาษีออกไปในห้วงก่อนเดือนกรกฎาคม 2565 จะมีสิทธิได้รับคืนเงินเบี้ยปรับและเงินเพิ่มจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น”

พล.อ.อนุพงษ์ เผ่าจินดา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย เปิดเผยว่า เพื่อเป็นการบรรเทาผลกระทบของประชาชนจากสถานการณ์อุทกภัยในด้านการจัดเก็บภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตามพระราชบัญญัติภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ. 2562 จึงได้ให้ความเห็นชอบขยายกำหนดเวลาการจัดเก็บภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ประจำปี พ.ศ. 2566 เป็นการทั่วไป ออกไปอีก 2 เดือน ได้แก่ 

1. ขยายกำหนดเวลาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการจัดทำบัญชีรายการที่ดินและสิ่งปลูกสร้างเพื่อประกาศ และจัดส่งข้อมูลที่เกี่ยวข้องให้ผู้เสียภาษีแต่ละรายทราบ จากเดิมภายในเดือนพฤศจิกายน 2565 เป็นภายในเดือนมกราคม 2566 

2. ขยายกำหนดเวลาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการประกาศราคาประเมินทุนทรัพย์ของที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง อัตราภาษีที่จัดเก็บ และรายละเอียดอื่นที่จำเป็น ในการจัดเก็บภาษี จากเดิมก่อนวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2566 เป็นก่อนวันที่ 1 เมษายน 2566 

3. ขยายกำหนดเวลาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการแจ้งการประเมินภาษี โดยส่งแบบประเมินภาษีให้แก่ผู้เสียภาษี จากเดิมภายในเดือนกุมภาพันธ์ 2566 เป็นภายในเดือนเมษายน 2566 

4. ขยายกำหนดเวลาของผู้เสียภาษีในการชำระภาษีตามแบบแจ้งการประเมินภาษี จากเดิมภายในเดือนเมษายน 2566 เป็นภายในเดือนมิถุนายน 2566 

5. ขยายกำหนดเวลาของผู้เสียภาษีในการผ่อนชำระภาษี โดยงวดที่ 1 จากเดิมภายในเดือนเมษายน 2566 เป็นภายในเดือนมิถุนายน 2566 งวดที่ 2 จากเดิมภายในเดือนพฤษภาคม 2566 เป็นภายในเดือนกรกฎาคม 2566 งวดที่ 3 จากเดิมภายในเดือนมิถุนายน 2566 เป็นภายในเดือนสิงหาคม 2566 

6. ขยายกำหนดเวลาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการมีหนังสือแจ้งเตือนผู้เสียภาษีที่มีภาษีค้างชำระ จากเดิมภายในเดือนพฤษภาคม 2566 เป็นภายในเดือนกรกฎาคม 2566

7. ขยายกำหนดเวลาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการแจ้งรายการภาษีค้างชำระให้สำนักงานที่ดินหรือสำนักงานที่ดินสาขา จากเดิมภายในเดือนมิถุนายน 2566 เป็นภายในเดือนสิงหาคม 2566

“การขยายระยะเวลาดำเนินการตามกฎหมายดังกล่าว เพื่อช่วยบรรเทาภาระภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างของประชาชนที่ได้รับผลกระทบและความเสียหายจากสถานการณ์อุทกภัย โดยผู้เสียภาษีจะมีระยะเวลาเตรียมการชำระภาษีและผ่อนชำระภาษีประจำปี พ.ศ. 2566 เพิ่มมากขึ้น และไม่ต้องเสียเบี้ยปรับและเงินเพิ่มหากได้ชำระภาษีภายในกำหนดระยะเวลาที่ได้ให้ความเห็นชอบ” พล.อ.อนุพงษ์ กล่าว

▪เจ้าของเฉพาะตัวบ้านมีชื่อในเอกสารแสดงกรรมสิทธิ์ + ทะเบียนบ้าน (ไม่จำเป็นต้องเป็นเจ้าบ้าน หรือเจ้าของคนใดคนหนึ่งมีชื่อในทะเบียนบ้าน)

🏘บ้านหลังอื่นๆ

▪เจ้าของบ้านที่ชื่อในโฉนด แต่ไม่มีชื่อในทะเบียนบ้าน

3. อื่นๆ

▪พาณิชยกรรม

▪อาคารสำนักงาน

▪อุตสาหกรรม

▪ร้านอาหาร

▪โรงแรม

▪อื่นๆ

4. ว่างเปล่า / ไม่ทำประโยชน์ตามควรแก่สภาพ

▪ทิ้งที่ดินไว้ว่างเปล่า

▪ไม่ได้ประโยชน์ในปีก่อนหน้า

ต่อจาก Part 1 กันนะคะ โดยในตอนนี้เราจะมาพูดถึง อัตราภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างในปี 2565-2565

👉มาดูกันนะคะ ว่าจะมีอะไรเปลี่ยนไปจากปีที่แล้วมั้ย ??

ภาษี ที่ดิน และสิ่ง ปลูก สร้าง 2565 จ่าย เมื่อ ไหร่

ภาษี ที่ดิน และสิ่ง ปลูก สร้าง 2565 จ่าย เมื่อ ไหร่

ภาษี ที่ดิน และสิ่ง ปลูก สร้าง 2565 จ่าย เมื่อ ไหร่

ภาษี ที่ดิน และสิ่ง ปลูก สร้าง 2565 จ่าย เมื่อ ไหร่

ภาษี ที่ดิน และสิ่ง ปลูก สร้าง 2565 จ่าย เมื่อ ไหร่

ภาษี ที่ดิน และสิ่ง ปลูก สร้าง 2565 จ่าย เมื่อ ไหร่

🏡🏗อัตราภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ. 2565-2566

1. เกษตรกรรม

▪มูลค่าทรัพย์สิน : 0 – 75 ล้านบาท

▪อัตราภาษี : 0.01%

▪ภาษีที่ต้องจ่าย(ต่อปี) : ไม่เกิน 7,500 บาท

▪มูลค่าทรัพย์สิน : 75 - 100 ล้านบาท

▪อัตราภาษี : 0.03%

▪ภาษีที่ต้องจ่าย(ต่อปี) : ไม่เกิน 30,000 บาท

▪มูลค่าทรัพย์สิน : 100 - 500 ล้านบาท

▪อัตราภาษี : 0.05%

▪ภาษีที่ต้องจ่าย(ต่อปี) : ไม่เกิน 250,000 บาท

▪มูลค่าทรัพย์สิน : 500 – 1,000 ล้านบาท

▪อัตราภาษี : 0.07%

▪ภาษีที่ต้องจ่าย(ต่อปี) : ไม่เกิน 700,000 บาท

▪มูลค่าทรัพย์สิน : เกิน 1,000 ล้านบาท

▪อัตราภาษี : 0.1%

▪ภาษีที่ต้องจ่าย(ต่อปี) : 1,000,000 บาทขึ้นไป

*บุคคลธรรมดาได้รับการยกเว้น ที่ดิน 50 ล้านบาทแรก ไม่ต้องเสียภาษี

2. ที่อยู่อาศัย

2.1 ที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง

(เจ้าของซึ่งเป็นบุคคลธรรมดาใช้เป็นที่อยู่อาศัย และมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน)

▪มูลค่าทรัพย์สิน : 0 – 25 ล้านบาท

▪อัตราภาษี : 0.03%

▪ภาษีที่ต้องจ่าย(ต่อปี) : ไม่เกิน 7,500 บาท

▪มูลค่าทรัพย์สิน : 25 - 50 ล้านบาท

▪อัตราภาษี : 0.05%

▪ภาษีที่ต้องจ่าย(ต่อปี) : ไม่เกิน 25,000 บาท

▪มูลค่าทรัพย์สิน : เกิน 50 ล้านบาท

▪อัตราภาษี : 0.1%

▪ภาษีที่ต้องจ่าย(ต่อปี) : ตั้งแต่ 50,000 บาทขึ้นไป

*บุคคลธรรมดาได้รับการยกเว้น ที่ดิน 50 ล้านบาทแรก ไม่ต้องเสียภาษี

2.2 สิ่งปลูกสร้าง

(เจ้าของซึ่งเป็นบุคคลธรรมดาใช้เป็นที่อยู่อาศัย และมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน)

▪มูลค่าทรัพย์สิน : 0 – 40 ล้านบาท

▪อัตราภาษี : 0.02%

▪ภาษีที่ต้องจ่าย(ต่อปี) : ไม่เกิน 8,000 บาท

▪มูลค่าทรัพย์สิน : 40 – 65 ล้านบาท

▪อัตราภาษี : 0.03%

▪ภาษีที่ต้องจ่าย(ต่อปี) : ไม่เกิน 19,500 บาท

▪มูลค่าทรัพย์สิน : 65 – 90 ล้านบาท

▪อัตราภาษี : 0.05%

▪ภาษีที่ต้องจ่าย(ต่อปี) : ไม่เกิน 45,000 บาท

▪มูลค่าทรัพย์สิน : เกิน 90 ล้านบาท

▪อัตราภาษี : 0.1%

▪ภาษีที่ต้องจ่าย(ต่อปี) : ตั้งแต่ 90,000 บาทขึ้นไป

*บุคคลธรรมดาได้รับการยกเว้น ที่ดิน 50 ล้านบาทแรก ไม่ต้องเสียภาษี

2.3 ที่ดินและสิ่งปลูกสร้างที่ใช้ประโยชน์เป็นที่อยู่อาศัย

นอกจากการใช้ประโยชน์เป็นที่อยู่อาศัยตาม 2.1 และ 2.2 (บ้านหลังอื่นๆ)

▪มูลค่าทรัพย์สิน : 0 - 50 ล้านบาท

▪อัตราภาษี : 0.02%

▪ภาษีที่ต้องจ่าย(ต่อปี) :ไม่เกิน 10,000 บาท

▪มูลค่าทรัพย์สิน : 50 - 75 ล้านบาท

▪อัตราภาษี : 0.03%

▪ภาษีที่ต้องจ่าย(ต่อปี) :ไม่เกิน 22,500 บาท

▪มูลค่าทรัพย์สิน : 75 - 100 ล้านบาท

▪อัตราภาษี : 0.05%

▪ภาษีที่ต้องจ่าย(ต่อปี) :ไม่เกิน 50,000 บาท

▪มูลค่าทรัพย์สิน : เกิน 100 ล้านบาท

▪อัตราภาษี : 0.1%

▪ภาษีที่ต้องจ่าย(ต่อปี) : ตั้งแต่ 100,000 บาทขึ้นไป

3. ที่ดินและสิ่งปลูกสร้างที่ใช้ประโยชน์อื่นนอกจาก 1 และ 2

▪มูลค่าทรัพย์สิน : ไม่เกิน 50 ล้านบาท

▪อัตราภาษี : 0.3%

▪ภาษีที่ต้องจ่าย(ต่อปี) :ไม่เกิน 150,000 บาท

▪มูลค่าทรัพย์สิน : 50 - 200 ล้านบาท

▪อัตราภาษี : 0.4%

▪ภาษีที่ต้องจ่าย(ต่อปี) :ไม่เกิน 800,000 บาท

▪มูลค่าทรัพย์สิน : 200 – 1,000 ล้านบาท

▪อัตราภาษี : 0.5%

▪ภาษีที่ต้องจ่าย(ต่อปี) :ไม่เกิน 5,000,000 บาท

▪มูลค่าทรัพย์สิน : 1,000 – 5,000 ล้านบาท

▪อัตราภาษี : 0.6%

▪ภาษีที่ต้องจ่าย(ต่อปี) :ไม่เกิน 30,000,000 บาท

▪มูลค่าทรัพย์สิน : เกิน 5,000 ล้านบาท

▪อัตราภาษี : 0.7%

▪ภาษีที่ต้องจ่าย(ต่อปี) : 35,000,000 บาทขึ้นไป

4. ที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างที่ทิ้งไว้ว่างเปล่าหรือไม่ได้ทำประโยชน์

▪มูลค่าทรัพย์สิน : ไม่เกิน 50 ล้านบาท

▪อัตราภาษี : 0.3%

▪ภาษีที่ต้องจ่าย(ต่อปี) :ไม่เกิน 150,000 บาท

▪มูลค่าทรัพย์สิน : 50 - 200 ล้านบาท

▪อัตราภาษี : 0.4%

▪ภาษีที่ต้องจ่าย(ต่อปี) :ไม่เกิน 800,000 บาท

▪มูลค่าทรัพย์สิน : 200 – 1,000 ล้านบาท

▪อัตราภาษี : 0.5%

▪ภาษีที่ต้องจ่าย(ต่อปี) :ไม่เกิน 5,000,000 บาท

▪มูลค่าทรัพย์สิน : 1,000 – 5,000 ล้านบาท

▪อัตราภาษี : 0.6%

▪ภาษีที่ต้องจ่าย(ต่อปี) :ไม่เกิน 30,000,000 บาท

▪มูลค่าทรัพย์สิน : เกิน 5,000 ล้านบาท

▪อัตราภาษี : 0.7%

▪ภาษีที่ต้องจ่าย(ต่อปี) : 35,000,000 บาทขึ้นไป

มาถึง part สุดท้ายแล้วนะคะ สำหรับเรื่อง “ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างปี 2565” โดยใน Part สุดท้ายนี่เราจะพูดถึงเรื่องอะไรมารับชมพร้อมๆกันได้เลยค่า

👉มาดูกันนะคะ ว่าจะมีอะไรเปลี่ยนไปจากปีที่แล้วมั้ย ??

ภาษี ที่ดิน และสิ่ง ปลูก สร้าง 2565 จ่าย เมื่อ ไหร่

ภาษี ที่ดิน และสิ่ง ปลูก สร้าง 2565 จ่าย เมื่อ ไหร่

ภาษี ที่ดิน และสิ่ง ปลูก สร้าง 2565 จ่าย เมื่อ ไหร่

🗓Timeline การจัดเก็บภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ปี 2565

▪เดือนมกราคม : ประกาศราคาประเมินทุนทรัพย์ที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง อัตราภาษีที่จัดเก็บ และรายละเอียดอื่นที่จำเป็นในการจัดเก็บภาษี

▪เดือนกุมภาพันธ์ : การแจ้งประเมินภาษี โดยส่งแบบประเมินภาษีให้แก่ผู้เสียภาษี

▪เดือนเมษายน : ชำระภาษี

▪เดือนเมษายน – มิถุนายน : ผ่อนชำระภาษี

▪เดือนพฤษภาคม : แจ้งเตือนภาษีค้างชำระ

▪เดือนมิถุนายน : แจ้งชื่อผู้ค้างชำระภาษี

‼️โทษปรับ หากชำระภาษีเกินเวลาที่กฎหมายกำหนด

1. เบี้ยปรับ

ค่าปรับจากการที่ชำระภาษีไม่ครบถ้วนภายในเวลาที่กำหนด

- ไม่ได้ชำระภาษีภายในเวลาที่กำหนด และได้รับหนังสือแจ้งเตือน เสียเบี้ยปรับ 40% ของจำนวนภาษีที่ค้างชำระ

- ไม่ได้ชำระภาษีภายในเวลาที่กำหนด แต่ชำระภาษีตามเวลาที่แจ้งไว้ตามหนังสือแจ้งเตือน เสียเบี้ยปรับ 20% ของจำนวนภาษีที่ค้างชำระ

- ไม่ได้ขำระภาษีภายในเวลาที่กำหนด แต่ชำระภาษีก่อนจะได้รับหนังสือแจ้งเตือน เสียเบี้ยปรับ 10% ของจำนวนภาษีที่ค้างชำระ

2. เงินเพิ่ม

- ดอกเบี้ยที่เกิดจากการชำระภาษีล่าช้าเกินกว่าเวลาที่กำหนด

- คิดอัตรา 1% ต่อเดือนของจำนวนภาษีค้างชำระ (เศษของเดือนให้นับเป็น 1 เดือน) โดยไม่นำเบี้ยปรับมารวมคำนวณเพื่อเสียเงินเพิ่มด้วย

- เริ่มนับเมื่อพ้นกำหนดเวลาชำระภาษีจนถึงวันที่ชำระภาษี

- เพดานสูงสุดไม่เกินจำนวนเงินภาษีที่จะชำระ (แต่ถ้าได้รับการขยายกำหนดเวลาชำระภาษี และชำระภาษีภายในกำหนดเวลานั้น อัตราเงินเพิ่มจะลดลงเหลือ 0.5% ต่อเดือนหรือเศษของเดือน)

3. โทษทางอาญา

การแจ้งข้อความอันเป็นเท็จ หรือการนำพยานหลักฐานอันเป็นเท็จ มาแสดงเพื่อหลีกเลี่ยงภาษี ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 2 ปี หรือปรับไม่เกิน 40,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

ข้อยกเว้นที่ไม่ต้องโดนเบี้ยปรับ และเงินเพิ่ม

(หากเป็นกรณีที่ชำระภาษีล่าช้ากว่าที่กฎหมายกำหนด)

- เนื่องจากไม่ได้รับใบประเมินเรียกเก็บภาษี หรือ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ขยาย หรือเลื่อนกำหนดเวลาในการชำระภาษีด้วยตนเอง

ผู้เสียภาษีไม่มีความผิด จึงไม่ต้องเสียภาษี

📊สนใจผู้ช่วยวางแผนโครงสร้างธุรกิจ วางแผนภาษีและเครื่องมือจัดการธุรกิจดิจิทัลที่ตอบโจทย์ ติดต่อ AccRevo ได้เลยค่า

ปี2565ต้องเสียภาษีที่ดินไหม

หลังจากที่มีการลดหย่อนภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างเพื่อแบ่งเบาภาระภาษีให้กับคนไทยมาตลอดตั้งแต่ปี 2563 สำหรับในปี 2565 นี้ ผู้มีหน้าที่เสียภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างทุกคน จะต้องทำการชำระภาษีแบบเต็มจำนวนตามอัตราที่กฎหมายกำหนด ซึ่งเพื่อให้เราสามารถจ่ายภาษีได้อย่างถูกต้อง จากนี้ไปคือบทสรุปเพื่อสร้างความเข้าใจให้ทราบว่า ใคร ...

ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง 2565 จ่ายที่ไหน

ชำระภาษีที่ดิน-สิ่งปลูกสร้างได้ที่ไหน สำนักงานเขต ธนาคารกรุงไทยทุกสาขาทั่วประเทศ เครื่องเอทีเอ็ม (ATM) ของธนาคารกรุงไทยทุกสาขาทั่วประเทศ บัตรเครดิตประเภท Visa และ Master ของธนาคารและสถาบันการเงินทุกแห่ง หรือบัตรกรุงไทยวีซ่าเดบิต

ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง 2565 คืออะไร

ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างคืออะไร ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง หรือที่เราเรียกกันสั้นๆ ว่า ภาษีที่ดิน คือภาษีที่จัดเก็บรายปีตามมูลค่าที่ดินและสิ่งปลูกสร้างต่างๆ โดยมีหน่วยงานผู้ทำหน้าที่รับผิดชอบจัดเก็บภาษี โดยอัตราภาษีจะคำนวณตามประเภทการใช้ประโยชน์

ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ต้องจ่ายไหม

เกณฑ์สำคัญที่จะบอกว่าเราเป็นผู้ต้องมีหน้าที่เสียภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ปี 65 หรือไม่ มีอยู่ด้วยกัน 2 ข้อหลัก ๆ คือ เราจะต้องเป็นเจ้าของบ้านหรือที่ดินผู้มีชื่ออยู่บนหลังโฉนดก่อนวันที่ 1 มกราคม 2565 ถ้าช้ากว่านั้นก็จะถือว่าไม่เข้าเกณฑ์ แต่จะไปเป็นผู้มีหน้าที่เสียภาษีที่ดินในปี 66 แทน กล่าวคือ ผู้มีหน้าที่เสียภาษี ...