การเคารพสิทธิของตนเองมีอะไรบ้าง

ประเด็นด้านสิทธิมนุษยชนเป็นประเด็นที่ทั่วโลกให้ความสนใจ ซึ่งหลายประเทศนำมาเป็นเครื่องมือทางการค้าในการป้องกันหรือลดการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่เกิดจากการดำเนินธุรกิจของภาคเอกชน ดังนั้น บริษัท ได้ตระหนักว่าสิทธิมนุษยชนเป็นเรื่องสำคัญที่ทุกคนพึงได้รับ จึงมุ่งมั่นดำเนินธุรกิจอย่างยั่งยืนที่เคารพสิทธิมนุษยชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า ไม่ให้เกิดการละเมิดต่อกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียและกลุ่มเปราะบางที่เกี่ยวข้อง รวมถึงลดความเสี่ยงต่อภาพลักษณ์ขององค์กรและลดผลกระทบทางการเงินของบริษัท นอกจากนี้ การดำเนินธุรกิจอย่างมีความรับผิดชอบดังกล่าว ยังถือเป็นส่วนหนึ่งที่ช่วยยกระดับการดำเนินงานเรื่องสิทธิมนุษยชนในระดับประเทศให้เป็นที่ยอมรับในระดับสากลอีกด้วย

การดำเนินงาน (GRI 103-2)

บริษัทได้กำหนดนโยบายสิทธิมนุษยชน เพื่อเป็นการแสดงเจตจำนงว่าการดำเนินธุรกิจ เป็นไปด้วยการเคารพสิทธิมนุษยชนตลอดห่วงโซ่คุณค่า ครอบคลุมธุรกิจของบริษัทและบริษัทในเครือ คู่ค้า ธุรกิจที่เกี่ยวข้อง อาทิ กิจการร่วมค้า ผู้ทรงสิทธิ (Rights Holders) และกลุ่มเปราะบาง (Vulnerable group)

การเคารพสิทธิของตนเองมีอะไรบ้าง

นอกจากนี้บริษัทมีการดำเนินธุรกิจสอดคล้องตามแผนปฏิบัติการระดับชาติว่าด้วยธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน (National Action Plan on Business and Human Right: NAP Implementation)​

กรณีหากเกิดการละเมิดหรือผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชนต่อผู้ทรงสิทธิและกลุ่มเปราะบาง บริษัท จัดให้มีช่องทางการสื่อสารและการรับข้อร้องเรียนด้านสิทธิมนุษยชนของกลุ่มซีเค พาวเวอร์ รวมถึงมาตรการบรรเทา แก้ไข และเยียวยาผลกระทบที่เกิดขึ้นอย่างเหมาะสมและเป็นธรรม

เป้าหมาย

บริษัทได้จัดทำกลยุทธ์เพื่อกำหนดทิศทางการดำเนินงานด้านความยั่งยืนขององค์กร ซึ่งประเด็นด้านสิทธิมนุษยชนเป็นหนึ่งในประเด็นที่มีความสำคัญต่อการขับเคลื่อนด้านความยั่งยืนขององค์กร ในการมุ่งสู่การเป็นองค์กรต้นแบบด้านสิทธิมนุษยชน ทั้งทางตรงจากการดำเนินงานในกิจกรรมทางธุรกิจของบริษัท และทางอ้อมโดยการสนับสนุนและส่งเสริมคู่ธุรกิจในห่วงโซ่คุณค่าทางธุรกิจให้ตระหนัก คุ้มครอง และเคารพต่อสิทธิมนุษยชนในการดำเนินธุรกิจ บริษัทมีการตั้งเป้าหมายเพื่อชี้วัดความสำเร็จทางด้านสิทธิมนุษยชน

การเคารพสิทธิของตนเองมีอะไรบ้าง

กระบวนการตรวจสอบสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน (Human Rights Due Diligence)

ในปี 2564 บริษัทได้ดำเนินกระบวนการตรวจสอบสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้านของบริษัท (Human Rights Due Diligence) ประกอบด้วย 5 ขั้นตอนหลัก

การเคารพสิทธิของตนเองมีอะไรบ้าง

การตรวจสอบสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้านของบริษัทครอบคลุมพื้นที่การดำเนินธุรกิจในบริษัททั้งหมดตลอดห่วงโซ่คุณค่า เพื่อจัดทำแนวทางการจัดการในพื้นที่ปฏิบัติการที่มีความเสี่ยงอย่างมีประสิทธิภาพ โดยระบุมาตรการป้องกัน และลดผลกระทบจากความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนในการดำเนินงานของบริษัท ตลอดห่วงโซ่คุณค่า รวมถึงการระบุประเด็นด้านสิทธิมนุษยชนที่เกี่ยวข้อง การประเมินผลกระทบในกลุ่มเสี่ยงหรือกลุ่มที่ต้องได้รับการดูแลเป็นพิเศษ (Vulnerable Group) เช่น เด็ก กลุ่มชนพื้นเมือง แรงงานต่างชาติ และการประเมินโอกาสที่อาจเกิดผลกระทบ โดยเกณฑ์การประเมินความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนดำเนินการโดยพิจารณาจาก 2 ปัจจัย ได้แก่ โอกาสที่จะเกิดขึ้น และผลกระทบ ครอบคลุมสิทธิมนุษยชน ทั้ง 8 ประเด็น

ประเด็นด้านสิทธิมนุษยชนผู้ทรงสิทธิ (Rights holders)พนักงานคู่ค้าและผู้รับเหมาลูกค้าชุมชนสภาพการทำงานของพนักงานและคู่ค้าของ CKP (Working Conditions)

การเคารพสิทธิของตนเองมีอะไรบ้าง
  สุขภาพและความปลอดภัยของพนักงาน และคู่ค้าของ CKP (Health & safety)การเลือกปฏิบัติและการละเมิดต่อพนักงาน  และคู่ค้าของ CKP (Discrimination and Harassment)  สิทธิในเสรีภาพในการรวมกันเป็นสมาคม เพื่อปกป้องประโยชน์ของพนักงาน (Freedom of Association and Right to Collective Bargaining)   การใช้แรงงานผิดกฎหมาย (Illegal Forms of Labor (including Human Trafficking, Forced Labor, Child Labor))   สุขภาพและความปลอดภัยในชุมชน (Health and Safety)   มาตรฐานการครองชีพในชุมชน (Standards of Living) การได้มาซึ่งการเข้าถือสิทธิ์ในการถือครองที่ดินและการบังคับให้ตั้งถิ่นฐานใหม่ (Land Acquisition and Forced Re-settlement)   การข้อมูลส่วนบุคคลของลูกค้า (Data Privacy)  การจัดการด้านความปลอดภัย (Security Management)

จากผลการประเมินความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชน ในปี 2564 ประเด็นด้านสิทธิมนุษยชนที่ประเมินความเสี่ยงอยู่ในระดับสูง มี 1 ประเด็น คือ สุขภาพและความปลอดภัยของพนักงาน โดยประเด็นความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับเรื่องสิทธิมนุษยชนอื่น ๆ ในห่วงโซ่คุณค่าอยู่ในระดับต่ำถึงปานกลาง และบริษัทสามารถบริหารจัดการความเสี่ยงได้จากแนวทางการดำเนินงานในปัจจุบันของบริษัท

โดยผลการประเมินความเสี่ยงที่เหลืออยู่ (Residual Risks) หลังจากจัดทำแนวทางการป้องกันและแก้ไขด้านสิทธิมนุษยชนในการดำเนินธุรกิจของบริษัทสำหรับสุขภาพและความปลอดภัยของพนักงานที่อยู่ในระดับสูง บริษัทได้กำหนดมาตรการลดและควบคุมความเสี่ยง เพื่อบรรเทาผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นทั้งในด้านโอกาสและความรุนแรง เช่น การเพิ่มกระบวนการด้านอาชีวนามัยและความปลอดภัย และการให้บริการด้านสาธารณสุขแก่พนักงาน เป็นต้น อีกทั้งยังให้ความสำคัญในการติดตามประสิทธิผลของมาตรดังกล่าวอย่างต่อเนื่องเพื่อให้มั่นใจว่าการบริหารจัดการด้านสิทธิมนุษยชนของบริษัทมีประสิทธิภาพในการควบคุมผลกระทบตลอดห่วงโซ่คุณค่า

การประเมินความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชน

บริษัทกำหนดให้ฝ่ายบุคคลของบริษัทเป็นหน่วยงานผู้รับผิดชอบงานทางด้านสิทธิมนุษยชน และจัดทำการประเมินความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนของสถานปฏิบัติงานที่สำคัญของบริษัท(Significant location of operation) หรือโรงงานไฟฟ้าของบริษัทและบริษัทในเครือที่มีพนักงานมากกว่า 100 คน บริษัทเริ่มจากการระบุมาตรการควบคุมความเสี่ยงต่อประเด็นด้านสิทธิมนุษยชน กลุ่มเสี่ยงต่อประเด็นด้านสิทธิมนุษยชนทั้งภายในและภายนอกองค์กร และประเด็นความเสี่ยงที่มีโอกาศเกิดขึ้น ณ สถานปฏิบัติการ ก่อนการประเมินความเสี่ยงเพื่อค้นหามาตรการป้องกันเพิ่มเติม ทั้งนี้ บริษัทได้วางแผนดำเนินประเมินความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนเป็นประจำทุก 3 ปี โดยจะทบทวนประเด็นความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนที่เกี่ยวข้องกับดำเนินธุรกิจตลอดห่วงคุณค่าเป็นประจำทุกปี เพื่อให้มั่นใจได้ว่าแผนงานและมาตรการบรรเทา แก้ไข และเยียวยามีประสิทธิภาพและมีความเป็นปัจจุบัน

โครงการหรือกิจกรรมเพื่อสร้างความตระหนักรู้เรื่องการเคารพสิทธิมนุษยชน
การปฐมนิเทศพนักงานใหม่

ตั้งแต่ปี 2562 เป็นต้นมา บริษัทได้เพิ่มเนื้อหาด้านสิทธิมนุษยชนและนโยบายสิทธิมนุษยชนในการปฐมนิเทศพนักงานใหม่ เพื่อให้พนักงานเกิดความตระหนักรู้ตั้งแต่ก้าวเข้ามาทำงานที่บริษัทในวันแรก ว่า CKPower ให้ความสำคัญเรื่องการเคารพ สิทธิมนุษยชนตามมาตรฐานสากลเป็นอย่างมาก การปฐมนิเทศเรื่องสิทธิมนุษยชนจัดทำผ่านระบบ VDO Conference และดำเนินโครงการเพื่อให้พนักงานในทุกพื้นที่การทำงานสามารถเข้ารับการปฐมนิเทศผ่าน Mobile Application

การปฏิบัติด้านแรงงาน

บุคลากรเป็นแรงขับเคลื่อนการดำเนินธุรกิจขององค์กรที่สำคัญ ส่งผลให้องค์กรสามารถดำเนินงานบรรลุตามเป้าหมายที่กำหนด บริษัทจึงมุ่งให้ความสำคัญเกี่ยวกับการดำเนินงานด้านบุคลากรอย่างต่อเนื่อง ผ่านแนวทางการบริหารงานด้านทรัพยากรบุคคลขององค์กร ที่มีความเป็นธรรม ไม่เลือกปฏิบัติในการจ้างงาน เชื้อชาติ ถิ่นกำเนิด ศาสนา ความเชื่อ เพศ สีผิว ภาษา เผ่าพันธุ์ สถานะทางสังคม หรือสถานะอื่นใดต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่าย ตลอดจนการไม่ใช้แรงงานบังคับและแรงงานเด็กทั้งการจ้างงานโดยตรงหรือภายในห่วงโซ่อุปทานของบริษัท พร้อมกันนี้ บริษัทกำหนดให้มีนโยบายการพิจารณาค่าตอบแทนที่เป็นธรรมและเหมาะสม โดยพิจารณาจากความสามารถและผลการปฏิบัติงานของพนักงาน รวมถึงมีการจัดสรรสวัสดิการและสิทธิประโยชน์ต่าง ๆ ให้แก่พนักงานที่เท่าเทียมและมีศักยภาพเมื่อเทียบกับบริษัทในกลุ่มธุรกิจเดียวกัน

การเคารพสิทธิมีอะไรบ้าง

สิทธิในการมีส่วนร่วม 2.) แนวทางการปฏิบัติตนในการ เคารพสิทธิของตนเองและผู้อื่น 2.1.เคารพสิทธิของกันและกัน การแสดงความคิดเห็น การยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 2.2. รู้จักใช้สิทธิของตนเองและ แนะนำให้ผู้อื่นรู้จักใช้สิทธิของตนเอง ... .
เป็นการปฏิบัติตนตามสิทธิของตนเอง.
ไม่ทำให้ผู้อื่นเดือดร้อน.

การเคารพสิทธิและเสรีภาพของตนเองและผู้อื่นคืออะไร

การปฏิบัติตนตามสิทธิของตนเองและเคารพสิทธิของผู้อื่นในสังคม เป็นสิ่งที่ช่วยจัดระเบียบให้กับสังคม เพื่อให้สังคมสงบสุข โดยมีแนวทางในการปฏิบัติ ดังนี้ 1. เคารพสิทธิของกันและกัน โดยไม่ละเมิดสิทธิเสรีภาพของผู้อื่น สามารถแสดงออกได้หลายประการ เช่น การแสดงความคิดเห็น การยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น เป็นต้น

การปฏิบัติตนที่แสดงถึงการเคารพสิทธิของตนเองมีอะไรบ้าง

แนวทางการปฏิบัติตนในการเคารพสิทธิของตนเองและผู้อื่น 2. รู้จักใช้สิทธิของตนเองและแนะนำให้ผู้อื่นรู้จักใช้สิทธิของตนเอง 3. เรียนรู้และทำความเข้าใจเกี่ยวกับหลักสิทธิเสรีภาพตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ เช่น สิทธิเสรีภาพของความเป็นมนุษย์ สิทธิเสรีภาพในเคหสถาน เป็นต้น

การเคารพสิทธิหน้าที่ของสมาชิกในครอบครัวมีอะไรบ้าง

ลูกมีสิทธิและหน้าที่ในการช่วยเหลือคนในครอบครัวตามความสามารถของตน เช่น ช่วยทำงานบ้าน ตั้งใจเรียน ปฏิบัติตามคำสั่งสอนของพ่อแม่และเป็นคนดี ทุกคนในครอบครัวอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข เพราะทุกคนได้ปฏิบัติตามหน้าที่ของตนเองอย่างสม่ำเสมอ มีความรักสามัคคี และมีน้ำใจต่อกัน