วงเครื่องสายผสมมีลักษณะอย่างไร

เครื่องดนตรีหรือเครื่อง ดีด สี ตี เป่า ของไทยที่นิยมเล่นกันมาแต่โบราณนั้น บางชนิดใช้บรรเลงเดี่ยว (คือบรรเลงคนเดียว) เช่น ซอและขลุ่ย และอีกหลายประเภทมีการประสมเป็นวงอยู่แล้ว แต่ยังไม่มี หลักเกณฑ์ที่ ลงตัว ต่อมาการประสมวงมีการพัฒนาขึ้น หลักสำคัญอยู่ที่การเลือกประเภทเครื่องดนตรี และเสียงของเครื่อง ดนตรีแต่ละชิ้น ให้มีเสียงประสานกลมกลืนกันให้เกิดเป็นเสียงดนตรีที่ไพเราะการประสมวงของดนตรีไทยมีดังต่อไปนี้

เป็นวงเครื่องสายที่นำเอาเครื่องดนตรีต่างชาติเข้ามาร่วมบรรเลงกับเครื่องสายไทย การเรียกชื่อวงเครื่องสายผสมนั้นนิยมเรียกตามชื่อของเครื่องดนตรีต่างชาติที่นำเข้ามาร่วมบรรเลงในวง เช่น นำเอาขิมมาร่วมบรรเลงกับซอด้วง ซออู้ ขลุ่ยและเครื่องกำกับจังหวะต่างๆ แทนจะเข้ ก็เรียกว่า “วงเครื่องสายผสมขิม” หรือนำเอาออร์แกนหรือไวโอลินมาร่วมบรรเลงด้วยก็เรียกว่า “วงเครื่องสายผสมออร์แกน” หรือ “วงเครื่องสายผสมไวโอลิน” เครื่องดนตรีต่างชาติที่นิยมนำมาบรรเลงเป็นวงเครื่องสายผสมนั้นมีมากมายหลายชนิด เช่น ขิม ไวโอลิน ออร์แกน เปียโน  แอกคอร์เดียน กู่เจิง เป็นต้น

วงเครื่องสายผสมขิม

วงเครื่องสายผสมขิม
ประวัติความเป็นมา
เป็นวงเครื่องสายที่นำเอาเครื่องดนตรีต่างชาติเข้ามาร่วมบรรเลงกับเครื่องสายไทย การเรียกชื่อวงเครื่องสายผสมนั้นนิยมเรียกตามชื่อของเครื่องดนตรีต่างชาติ
ที่นำเข้ามาร่วมบรรเลงในวง เช่น นำเอาขิมมาร่วมบรรเลงกับ ซอด้วง ซออู้ ขลุ่ย
และเครื่องกำกับจังหวะต่าง ๆ ก็เรียกว่า “วงเครื่องสายผสมขิม” หรือนำเอาออร์แกนหรือไวโอลินมาร่วมบรรเลงด้วยก็เรียกว่า “วงเครื่องสายผสมออร์แกน” หรือ “วงเครื่องสายผสมไวโอลิน” เครื่องดนตรีต่างชาติที่นิยมนำมา
บรรเลงเป็นวงเครื่องสายผสมนั้นมีมากมายหลายชนิด เช่น ขิม ไวโอลิน
ออร์แกน เปียโน แอกคอร์เดียน กู่เจิง เป็นต้น
ขิม 1 ตัว
จะเข้ 1 ตัว
ซอด้วง 1 คัน
ซออู้ 1 คัน
ขลุ่ยเพียงออ 1 เลา
โทน-รำมะนา 1 คู่
ฉิ่ง 1 คู่
สามารถเพิ่มกรับ ฉาบเล็ก ฉาบใหญ่ โหม่งได้ตามความเหมาะสม

โอกาศที่ใช้ในการบรรเลง
วงเครื่องสายเครื่องคู่ใช้บรรเลงในงานมงคลต่างๆโดยจะเน้นบรรเลงขับกล่อมและสร้างบรรยากาศภายในงาน

เพลงที่ใช้ในการบรรเลง
วงเครื่องสายจะนิยมเล่นเพลงโหงโรง เพลงตับ เพลงเถา เพลงรับร้องส่งร้อง
ลักษณะความรู้สึกของเพลง
วงเครื่องสายจะให้ความรู้สึกไพเราะ อ่อนหวาน นุ่มนวล
นิยมเล่นในภาคกลา

วงเครื่องสายผสม

   ได้แก่วงเครื่องสาย ที่นำเอาเครื่องดนตรีอื่นๆ นอกเหนือจากที่กล่าวมา โดยนำเอาเครื่องดนตรีพื้นเมือง  หรือของชาติอื่นเข้ามาร่วมบรรเลงด้วย   เช่น แคน,ระนาด,ขิม,ออร์แกน,เปียโน,หีบเพลงชัก,ไวโอลิน หากนำเครื่องดนตรีชนิดใดมาผสมก็เรียกวงเครื่องสายผสมนั้น เช่น วงเครื่องสายผสมขิม, วงเครื่องสายผสมออร์แกน เป็นต้น

          และจากข้อมูลที่เราได้นำเสนอข้างต้น เป็นเพียงขนบธรรมเนียมและประเพณีแค่เศษเสี้ยวหนึ่งของภาคกลางเท่านั้น หากใครอยากทำความรู้จักกับภาคกลางให้มากขึ้นกว่าเดิม ก็อย่าลืมมาท่องเที่ยวชมโบราณสถาน หรือสัมผัสวัฒนธรรมประเพณีตามแบบฉบับภาคกลางกันนะคะ "สิบปากว่าไม่เท่าตาเห็น สิบตาเห็นหรือจะสู้มือคลำ" แต่จะว่าไป แค่มือคลำอย่างเดียวคงไม่พอ ต้องลองมาสัมผัสจากสถานที่จริง ๆ กันดูนะคะ ^^

        ในระยะหลังพระองค์มีพระราชกรณียกิจมากมาย ทำให้พระองค์ทรงไม่มีเวลาที่จะทรงพระราชนิพนธ์เพลงใหม่ๆออกมา เพลงสุดท้ายที่พระองค์ทรงพระราชนิพนธ์ออกมาคือเพลง "เมนูไข่" เป็นเพลงแนวสนุกสนาน เนื้อร้องโดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชทานเป็นของขวัญวันพระราชสมภพครบ 72 พรรษาแด่ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาส ราชนครินทร์ เมื่อ พ.ศ. 2538

วงเครื่องสายผสม มีอะไรบ้าง

๒. วงเครื่องสายผสม เป็นวงที่นำเอาเครื่องดนตรีนอกเหนือจากเครื่องสายไทยมาผสม เช่น ขิม ออร์แกน ไวโอลิน แคน หากนำเครื่องดนตรีใดมาผสม ก็เรียกชื่อวงตามเครื่องดนตรีนั้น เช่น วงเครื่องสายผสมขิม เป็นต้น

วงเครื่องสายผสมออร์แกน มีอะไรบ้าง

การประสมวงเครื่องสายผสมออร์แกนจะประกอบไปด้วยเครื่องด าเนินท านอง ได้แก่ ซอด้วง ซออู้ ขลุ่ยเพียงออ ออร์แกน ขิม เครื่องกากับจังหวะได้แก่ฉิ่งและโทนร ามะนา และผู้ขับร้อง โดยออร์แกนเป็นเครื่อง ดนตรีประเภทลิ่มนิ้ว ที่ใช้จะเป็นออร์แกนแบบถีบบรรเลงในวงเครื่องสาย หรือในสมัยนี้ได้มีออร์แกนแบบใหม่ ซึ่งไม่ต้องใช้เท้าถีบ เรียกว่า ...

วงเครื่องสายเครื่องคู่ใช้บรรเลงในโอกาสใด

๒.๒ วงเครื่องสายผสม โอกาสที่ใช้บรรเลง ใช้บรรเลงเพื่อความบันเทิงในแนวที่แตกต่างจากวงเครื่องสาย บทเพลงที่บรรเลงในวงดนตรี ใช้เช่นเดียวกับวงเคร่ื่องสายหรือวงปี่พาทย์ เช่น เพลง ตับวิวาห์พระสมุทร ปัจจุบันมีการนำาเพลงไทยสากลในทำานองเพลงไทยเดิมเข้ามาบรรเลงมากขึ้น เนื่องจาก

เปียโน สามารถนำมาผสมในวงดนตรีใดได้บ้าง

เปียโนมีบทบาทในฐานะเครื่องดนตรีเพื่อความบันเทิงในราชส านักรัชกาลที่ 6 เรื่อยมา ขณะเดียวกันก็ได้มีการน าเปียโนเข้ามาประสมกับวงเครื่องสายไทย และ ก่อให้เกิดวงเครื่องสายผสมเปียโนตามมา ภายหลังเมื่อวงเครื่องสายผสมได้รับความ นิยมอย่างแพร่หลาย จึงเกิดนักดนตรีตะวันตกในสังคมความบันเทิงไทยมากขึ้น