นักวิชาการคอมพิวเตอร์ โรงพยาบาล ทํา อะไรบ้าง

นักวิชาการคอมพิวเตอร์ โรงพยาบาล ทํา อะไรบ้าง

�ӹѡ�ҹ��Ѵ��з�ǧ�Ҹ�ó�آ
�.���ҹ��� �.��Ҵ��ѭ �.���ͧ �.������� 11000�Ѻ��Ѥ� :��ѡ�ҹ�Ҫ���          ���˹� :�ѡ�Ԫҡ�ä��������� �ç��Һ���صôԵ�� �ӹѡ�ҹ�Ҹ�ó�آ�ѧ��Ѵ�صôԵ���Թ��͹ :19,500 �ҷ������ :�ԪҪվ੾���ӹǹ :1 ���˹��дѺ����֡�� :��ԭ�ҵ��
�س���ѵ�੾������Ѻ���˹� :-�ѡɳЧҹ��軯Ժѵ� :-�Ըա�����͡��� :- ��������������ö
-
�Ըա�û����Թ : -

- �ѡ��
-
�Ըա�û����Թ : -

- ���ö��
-
�Ըա�û����Թ : -

ࡳ���û����Թ :-�Դ�Ѻ��Ѥ� :�ѹ����ʺ�շ�� 26 �չҤ� �.�. 2563 �֧ �ѹ�ظ��� 1 ����¹ �.�. 2563��С���Ѻ��Ѥ� :
นักวิชาการคอมพิวเตอร์ โรงพยาบาล ทํา อะไรบ้าง
���䫵� :
นักวิชาการคอมพิวเตอร์ โรงพยาบาล ทํา อะไรบ้าง

���˹觧ҹ��蹷���Ѻ��Ѥâͧ˹��§ҹ��� 6 ���͵��˹�
นักวิชาการคอมพิวเตอร์ โรงพยาบาล ทํา อะไรบ้าง
�Ѻ��Ѥ� ����Ҫ���
���˹� �ѡ෤�Ԥ���ᾷ�컯Ժѵԡ��
˹��§ҹ : �ӹѡ�ҹ��Ѵ��з�ǧ�Ҹ�ó�آ
�ѹ�������� : �ѹ��� 21 �ѹ�Ҥ� �.�. 2565
�ѹ�������ش :�ѹ��� 27 �ѹ�Ҥ� �.�. 25652 ���˹�
��ҹ 67 ����
นักวิชาการคอมพิวเตอร์ โรงพยาบาล ทํา อะไรบ้าง
�Ѻ��Ѥ� ����Ҫ���
���˹� �ѡ�ѧ�ա��ᾷ�컯Ժѵԡ��
˹��§ҹ : �ӹѡ�ҹ��Ѵ��з�ǧ�Ҹ�ó�آ
�ѹ�������� : �ѹ��� 19 �ѹ�Ҥ� �.�. 2565
�ѹ�������ش :�ѹ��� 23 �ѹ�Ҥ� �.�. 25651 ���˹�
��ҹ 344 ����
นักวิชาการคอมพิวเตอร์ โรงพยาบาล ทํา อะไรบ้าง
�Ѻ��Ѥ� ����Ҫ���
���˹� ��Һ���ԪҪվ��Ժѵԡ��
˹��§ҹ : �ӹѡ�ҹ��Ѵ��з�ǧ�Ҹ�ó�آ
�ѹ�������� : �ѹ��� 14 �ѹ�Ҥ� �.�. 2565
�ѹ�������ش :�ѹ��� 27 �ѹ�Ҥ� �.�. 25655 ���˹�
��ҹ 529 ����
นักวิชาการคอมพิวเตอร์ โรงพยาบาล ทํา อะไรบ้าง
�Ѻ��Ѥ� ����Ҫ���
���˹� ���Ѫ�û�Ժѵԡ��,ᾷ��Ἱ�»�Ժѵԡ��
˹��§ҹ : �ӹѡ�ҹ��Ѵ��з�ǧ�Ҹ�ó�آ
�ѹ�������� : �ѹ��� 13 �ѹ�Ҥ� �.�. 2565
�ѹ�������ش :�ѹ��� 19 �ѹ�Ҥ� �.�. 2565- ���˹�
��ҹ 719 ����1

ตอนแรกก่อนทำงาน ผมตั้งใจสุดซึ้งที่จะเข้าทำงานส่วนราชการให้ได้
ตอนนี้ปัจจุบันผมเข้าใจอย่างสุดซึ่งว่าผมตั้งใจถูกต้องแต่เดินทางผิด
(ต้องเข้าเป็นข้าราชการเท่านั้น เป็นลูกจ้างมา 2 ปี รู้ถึงชนชั้นวรรณะเลยครับ)
ผมไม่ยอมเป็นลูกจ้างของข้าราชการตลอดชีวิตแน่ๆ มีแต่แย่ กับแย่มากๆ
ลูกจ้างชั่วคราวเปรียบเหมือนกับทาส(บางแห่งนะครับ) ทำดีเสมอตัว โงหัวไม่ขึ้น มีแต่โดนเหยีบหากชูคอสูงเกินพวก
ข้าราชการเปรียบเหมือนกับนาย (บางแห่งนะครับ) ทำดีได้ดี ทำชั่วก็เสมอตัว

*** งานทุกอย่างคนเดียว (อย่ามองแค่ รพช.30เตียง นะครับ งานไม่ได้น้อยอย่างเตียง)
ลูกจ้างชั่วคราวต้องเป็นทาสเพราะอะไร ผมยกตัวอย่างครับ
ว่า งานเราขณะนั้นกำลังยุ่งมากๆ งานด่วนงานเร่ง แต่มีคนมาให้เราช่วยพิมพ์งาน เราบอกไม่ว่างยุ่งมาก
เขาคนนั้นมาอีกรอบ เราก็ยังงานไม่เคลียร์
แล้วเขาคนนั้นก็พูดกับใครหลายคน ว่าเราตามยาก ไม่ให้ความช่วยเหลือ ขู่ว่าจะเด้งออก(ก็เขามีสี)

ทำใจครับ ถ้าไม่ถูกใจใคร เขาก็หาเรื่องเด้งเราได้ เพราะน้ำหนักคำพูดลูกจ้างมันน้อยนิดมากๆครับ
บางครั้งก็เผลอใส่อารมณ์ไปบ้างเหมือนกัน รู้ตัวเองว่าผิด  แต่ผมก็ไม่ใช่ทาสนะครับ อิอิ
(เงินเดือนน้อยไม่ว่ากัน ขอแค่เห็นใจกันบ้าง คนนะครับ ขนาดหุ่นยนต์พลังงานก็ยังมีวันหมดเลย)

เงินเดิอน 6100 ครับ 2 ปีแล้ว ไม่มีขึ้น แต่มีประเมินตัวชี้วัดไม่ได้ (ใช้เวลาทำตัวชี้วัดให้คนอื่นหมด)

เส้นด้าย ครับ ทำงานระบบนี้(บางแห่ง) ทำด้วยใจรักจริงๆ ครับ แต่ถ้าคับอกคับใจ ก็คงอยู่ยาก

ตอนนี้ยอมรับชะตากรรม เพราะตัวเองอยู่ระหว่างทำเรื่องจบการศึกษา 555
ยอมทนไปก่อน แต่ถ้าจบแล้วว่ากันอีกที หากยังโดนหนักๆ คงไม่อยู่แล้วครับ

OT ไม่มี, ลากิจหักเงิน, ลาป่วย 1 วันขึ้นไป ต้องมีใบรับรองแพทย์, ลาพักแจ้งก่อน 1 สัปดาห์,
ลาป่วย+พักได้ปีละ 10 วัน, ก่อนลาออกแจ้งล่วงหน้า 30 วัน ครับผม

รักงาน รักองค์กร แต่ไม่รักคน(บางคน)

แวะมาที่ไรก็มีปัญหาข้อข้องใจมาถามอาจารย์ทุกทีเลย คือจะสอบถามอาจารย์ว่าการใช้บัญชีเงินเดือนใหม่ตามกลุ่มที่ 1-4 เป็นอย่างไรค่ะ ตามบัญชีที่บวก 5% แล้ว คือ

กลุ่มที่ 1 เดิมเต็มขั้นที่ 18,190 + 5 % เป็นเต็มขั้น 19,100

กลุ่มที่ 2 เดิมเต็มขั้นที่ 22,220 + 5 % เป็นเต็มขั้น 23,340

กลุ่มที่ 3 เดิมเต็มขั้นที่ 36,020 + 5 % เป็นเต็มขั้น 37,830

กลุ่มที่ 4 เดิมเต็มขั้นที่ 64,340 + 5 % เป็นเต็มขั้น 67,560

หมายความว่าสิ้นเดือนพฤษภาคม 2554 ทุกคนใช้บัญชีเงินเดือนใหม่ + 5 % ใช่ไหมค่ะ

แล้วสมมุติว่าพอเดือนตุลาคม 2554 ได้ขั้นเงินเดือนจนเต็มขั้นในกลุ่มที่ 1 เต็มขั้นที่ 19,100 ตำแหน่งพนักงานบริการ ยังไม่ได้ทำเรื่องขอปรับระดับ เดือนเมษายน 2555 ได้อีก 1 ขั้น จะใช้บัญชีเงินเดือนที่ขั้นไหนค่ะ

แต่ถ้าในกรณีที่ทำเรื่องขอปรับระดับเป็นพนักงานบริการ ระดับ 2 ได้แล้ว เดือนตุลาคม 2554 ได้เต็มขั้น 19,100 พอเมษายน 2555 ได้ 1 ขั้น จะใช้บัญชีขั้นไหนกลุ่มไหนค่ะ งงกับคำถามไหมค่ะ คนถามก็จะงงเอง ถ้าอาจารย์ลำดับใจความแล้วไม่งง คลายข้อสงสัยให้หน่อยนะค่ะ รบกวนอีกตามเคย แต่ถึงอย่างไรก้็ขอขอบคุณอาจารย์อย่างมากเลยที่เป็นกูรูให้กับผู้ที่ไม่รู้อีกหลายๆคนและขอให้อาจารย์มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงนะค่ะ....ขวัญใจลูกจ้างทั้งหลาย

น้องๆ คนไหนที่กำลังสนใจจะเข้าศึกษาต่อและทำงานทางด้านสายไอที ซึ่งในปัจจุบันกำลังเป็นต้องการของตลาดแรงงานโลกเป็นอย่างมาก ในบทความนี้ แคมปัส-สตาร์ ก็ได้รวบรวม 10 สาขาน่าเรียนด้าน IT มาฝากกันด้วย (หวังว่าจะช่วยทำให้น้องๆ ตัดสินใจเลือกเรียนในสาขาที่ชอบได้นะจ๊ะ) โดยในแต่ละสาขาวิชาถือได้ว่าเป็นสาขายอดฮิตและเป็นที่ต้องการเป็นอย่างมากเลยทีเดียว จะมีสาขาวิชาไหนกันบ้าง ตามมาดูกันเลย

10 สาขาน่าเรียนด้าน IT ที่เรียนจบมาแล้วเงินเดือนดีมาก

1. สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์

สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (Computer Science) เป็นสาขาวิชาโดยตรงของสายงานทางด้านไอที ซึ่งในสาขาวิชานี้น้องๆ จะได้เรียนเกี่ยวกับการเขียนโค้ด (Coding) การพัฒนาโปรแกรมด้านคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ในส่วน Network Software และ Hardware

โดยอาชีพที่น้องๆ สามารถทำได้หลังเรียนจบก็จะเป็นงานทางด้านไอทีเกือบทุกงานเลย ไม่ว่าจะเป็น โปรแกรมเมอร์ นักวิเคราะห์และออกแบบโปรแกรม ผู้ดูแลระบบฐานข้อมูล เจ้าหน้าที่เทคนิค หรืองานผู้เชี่ยวชาญระบบคอมพิวเตอร์ ฯลฯ

2. สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ

สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) เป็นสาขาวิชาประยุกต์ที่มีการเรียนการสอนคล้ายๆ กับสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ แต่จะไม่ได้เรียนการเขียนโปรแกรมหรือเจาะลึกด้านระบบมากเหมือนกับวิทยาการคอมพิวเตอร์ โดยที่สาขาวิชานี้จะเน้นให้เราได้เรียนรู้เกี่ยวกับการใช้โปรแกรมเบื้องต้น ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น กราฟิก และศาสตร์อื่นๆ ที่มีความเกี่ยวข้องทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (ในปัจจุบันสาขาวิชานี้เป็นที่ต้องการของตลาดแรงงานเป็นอย่างมากเลยทีเดียว)

สำหรับน้องๆ ที่เรียนจบในสาขาวิชานี้สามารถประกอบอาชีพทางด้านไอทีได้คล้ายๆ กับสาขาวิชาวิทยาการคอมเตอร์ เช่น นักวิชาการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ นักวิเคราะห์และออกแบบระบบงานด้านสารสนเทศ นักพัฒนาเว็บไซต์ เป็นต้น

3. สาขาเกมและสื่ออินเทอร์แอคทีฟ

สาขาเกมและสื่ออินเทอร์แอคทีฟ (Game and Interactive Media) เป็นสาขาวิชาที่ได้รวมเอา วิทยาการคอมพิวเตอร์ นิเทศศาสตร์ ศิลปะ การออกแบบ และสถาปัตยกรรมศาสตร์ มาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาระบบเกมและมัลติมีเดีย จะเน้นการเรียนรู้เกี่ยวกับการสร้างภาพเคลื่อนไหวและงานทางด้านกราฟิก โดยจะเป็นการใช้เครื่องมือทั้ง Software และ Hardware มาผสมผสานกันให้เกิดเป็นผลงานออกมา

สำหรับบัณฑิตที่จบการศึกษาในสาขาวิชานี้สามารถประกอบอาชีพ ได้ดังนี้ นักพัฒนาเกม ผู้เชี่ยวชาญเกมเอนจิ้น โปรแกรมเมอร์สำหรับเกม นักออกแบบเกม นักออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิก นักออกแบบเว็บไซต์ รวมไปถึงอาชีพในวงการผลิตภาพยนตร์ วงการโฆษณา วงการสื่อสารมวลชนทั้งภาครัฐและเอกชน อีกด้วย

นักวิชาการคอมพิวเตอร์ โรงพยาบาล ทํา อะไรบ้าง

4. สาขาสารสนเทศการแพทย์

สาขาสารสนเทศการแพทย์ (Medical Informatics) เป็นอีกหนึ่งสาขาวิชาที่มีความน่าสนใจไม่แพ้สาขาวิชาอื่นๆ เลย โดยในสาขานี้เราจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับทางด้านเทคโนโลยี และวิทยาศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข วิชาหลักๆ ที่จะได้เรียนก็คือ การพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ด้านการแพทย์ และการวิเคราะห์ข้อมูลทางการแพทย์ ซึ่งในแต่ละมหาวิทยาลัยที่เปิดสอนก็จะมีการเรียนชื่อที่ต่างกันออกไป เช่น สาขาสารสนเทศทางการแพทย์ หรือมีเดียทางการแพทย์และวิทยาศาสตร์ เป็นต้น

สำหรับอาชีพของบัณฑิตที่เรียนจบทางด้านนี้จะเป็นอาชีพเฉพาะทาง ได้แก่ นักวิเคราะห์ภาพถ่ายทางการแพทย์ นักวิเคราะห์ระบบด้านการแพทย์และโรงพยาบาล นักพัฒนาระบบสารสนเทศด้านการแพทย์และโรงพยาบาล ผู้ดูแลระบบฐานข้อมูลด้านการแแพทย์และโรงพยาบาล ผู้ประสานงานโครงการด้านการแพทย์และโรงพยาบาล และยังรวมถึงอาชีพที่เกี่ยวข้องทางด้านนักเวชระเบียน นักเวชสถิติ อีกด้วย

5. สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ (Business Computer) เป็นอีกหนึ่งสาขาวิชาที่มีน้องๆ สนใจเข้าศึกษาต่อกันเป็นจำนวนมากเลยทีเดียว เพราะสาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจจะเป็นการนำเอาระบบสารสนเทศและเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้กับงานด้านธุรกิจและการจัดการ โดยจะเน้นการนำเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามาช่วยในการวิเคราะห์ข้อมูลและระบบในการวางแผนการบริหารองค์กร

สำหรับน้องๆ ที่เรียนจบมาในสาขาวิชานี้สามารถประกอบอาชีพได้อย่างหลากหลาย เช่น เจ้าหน้าที่ฝ่ายคอมพิวเตอร์ เจ้าหน้าที่ฝ่ายสนับสนุนด้านซอฟต์แวร์ (Support) เจ้าหน้าที่ฝ่าย E–Learning เจ้าหน้าที่ฝ่ายบริหารสำนักงาน เจ้าหน้าที่ฝ่ายระบบงานสำนักงาน เจ้าหน้าที่ฝ่ายขาย และเจ้าหน้าที่ฝึกอบรม เป็นต้น

6. สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Engineering) เป็นสาขาวิชาที่จะเน้นเรียนในเรื่องการออกแบบ การสร้าง ทดสอบ วิเคราะห์ จนไปถึงเรื่องการบำรุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ (Software) อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ (Hardware) และเครือข่าย (Network) ที่เกี่ยวข้องกับการประมวลผลข้อมูล

สำหรับอาชีพในสาขาวิชานี้เราสามารถทำได้ตั้งแต่ วิศวกรคอมพิวเตอร์ วิศวกรระบบความปลอดภัยคอมพิวเตอร์ นักออกแบบซอฟต์แวร์ รวมไปถึงสายงานด้านออกแบบระบบและงานทางด้านไอทีในทุกประเภท

7. สาขาวิศวกรรมเครือข่ายและความปลอดภัย

สาขาวิศวกรรมเครือข่ายและความปลอดภัย (Network Engineering and Security) หรือในบางมหาวิทยาลัยก็จะให้ชื่อว่า วิศวกรรมระบบสารสนเทศและเครือข่าย เป็นสาขาวิชาที่เราจะได้เรียนเจาะลึกเกี่ยวกับระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต การออกแบบเครือข่าย การดูแลและจัดการระบบเสมือนจริง ความมั่นคงปลอดภัยในเทคโนโลยีเครือข่าย และยังรวมถึงเรื่องการพัฒนาโปรแกรมบนเครือข่าย อีกด้วย

ซึ่งในปัจจุบันเป็นสาขาวิชาใหม่ที่เป็นที่ต้องการของตลาดแรงงานในยุคดิจิทัลเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ สำหรับอาชีพของคนที่จบในสาขาวิชานี้ ได้แก่ วิศวกรเครือข่าย ผู้ดูแลความมั่นคงปลอดภัยของระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย วิศวกรควบคุมดูแลระบบคอมพิวเตอร์ นักบริหารเครือข่ายคอมพิวเตอร์ นักพัฒนาอุปกรณ์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ และนักเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์บนระบบเครือข่าย ฯลฯ

นักวิชาการคอมพิวเตอร์ โรงพยาบาล ทํา อะไรบ้าง

8. สาขากราฟิกดีไซน์

สาขากราฟิกดีไซน์ (Graphic design) เป็นสาขาวิชาที่น้องๆ จะเรียนเกี่ยวกับการคิดและออกแบบ การจัดองค์ประกอบ การใช้สี การพิมพ์ เช่น งานถ่ายภาพ งานสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโฆษณาทั้ง 2D และ 3D นอกจากนี้ยังจะได้เรียนเกี่ยวกับเครื่องมือต่างๆ ที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการทำงานออกแบบกราฟิกอีกด้วย

สำหรับน้องๆ คนไหนที่สนใจจะเรียนต่อในสาขาวิชานี้จะต้องเป็นคนที่มีความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการที่ดีด้วย อาชีพที่เกี่ยวข้อง เช่น นักออกแบบกราฟิก นักออกแบบเว็บไซต์ นักออกแบบนิทรรศการ และงานด้านการออกแบบที่เกี่ยวข้อง ฯลฯ

9. สาขาแอนิเมชันและมัลติมีเดีย

สาขาแอนิเมชั่นและมัลติมีเดีย (Animation and Multimedia) เป็นสาขาวิชาใหม่ที่เปิดโอกาสให้เราสามารถปล่อยไอเดีย ปล่อยความคิดสร้างสรรค์ออกมาได้อย่างเต็มที่ โดยในสาขาวิชานี้เราจะเรียนเกี่ยวกับการผลิตสื่อทางมัลติมีเดีย สื่อแอนิเมชัน 2D และ 3D นอกจากนี้เรายังจะเรียนเกี่ยวกับการสร้าง Visual Effect และสื่อสิ่งพิม์ต่างๆ อีกด้วย

อาชีพที่น่าสนใจของน้องๆ ที่เรียนจบมาทางด้านนี้ ได้แก่ นักสร้างแบบจำลอง ศิลปินดิจิทัล นักออกแบบ Special Effect หรือ Visual Effect นักออกแบบคอมพิวเตอร์ นักออกแบบเว็บไซต์ นักออกแบบกราฟิก เจ้าหน้าที่ตัดต่อ VDO ฯลฯ

10. สาขาวิชาวิศวกรรมนวัตกรรมคอมพิวเตอร์

สาขาวิชาวิศวกรรมนวัตกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Innovation Engineering : CIE) เป็นสาขาวิชาที่ได้มีการผสมผสานการเรียนรู้ทางวิชาการ ประสบการณ์และการเรียนรู้ที่เน้นการทำโครงงานและการปฏิบัติจริง ทั้งการเรียนรู้จากผู้เชี่ยวชาญด้านคอมพิวเตอร์ สู่การสร้างออกมาเป็นนวัตกรรม รวมถึงการปลูกฝังการคิดเชิงวิพากษ์ การสื่อสาร การคิดวิเคราะห์และการประยุกต์ใช้หลายทักษะร่วมกัน ซึ่งจะเน้นการเรียนรู้ทั้งด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรม เช่น เทคโนโลยีคลาวด์ Mobile computing Cybersecurity Big data analytics และ Internet of Things ที่จำเป็นต่อการขับเคลื่อนธุรกิจและอุตสาหกรรมดิจิทัลในอนาคต

ซึ่งผู้ที่เรียนจบทางด้านนี้เป็นที่ต้องการของตลาดแรงงานเป็นอย่างมากทั้งในประเทศและต่างประเทศ สามารถทำงานได้หลากหลายไม่ว่าจะเป็น วิศวกรระบบคอมพิวเตอร์แบบฝังตัว (Embedded) นักออกแบบผลิตภัณฑ์ นักพัฒนานวัตกรรมด้านไอที วิศวกรรทางด้านระบบ Cloud วิศวกรนวัตกรรม ฯลฯ

นักวิชาการคอมพิวเตอร์ โรงพยาบาล ทํา อะไรบ้าง

มหาวิทยาลัยที่เปิดสอน

สำหรับมหาวิทยาลัยหรือสถาบันการศึกษาทั้งของรัฐและเอกชน ที่มีความโดดเด่นในการเรียนการสอนทางด้านไอที มีดังต่อไปนี้

เจ้าหน้าที่คอมพิวเตอร์ โรงพยาบาล ทำอะไรบ้าง

23 กันยายน 2562 เวลา 00:31:11 น. โรงพยาบาล มนุษย์เงินเดือน.
ซ่อมเครื่อง USER..
ต้องเข้าเวร เพราะ รพ.เปิดตลอด 24 ชม. ดังนั้นพยาบาล เจ้าหน้าการเงิน ห้องจ่ายยา ห้องฉุกเฉิน ต้องใช้คอมพิวเตอร์ เสียไม่ได้ยกเว้ณโชคดีมี 2 เครื่อง.
Backup Data..
ปรับแก้ไข app ให้ตรงตามความต้องการของ User..
ดึง Report ให้แผนกต่างๆ.

ตําแหน่งนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ทําอะไรบ้าง

(1) ช่วยจัดทําคู่มือระบบและคู่มือผู้ใช้ เพื่อให้ผู้ใช้สามารถใช้งานคอมพิวเตอร์ได้ ด้วยตนเองอย่างมีประสิทธิภาพ (2) ดําเนินการฝึกอบรมหรือถ่ายทอดความรู้ สนับสนุนการใช้ระบบงานที่พัฒนา แก่เจ้าหน้าที่ผู้ใช้งาน เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในด้านวิชาการคอมพิวเตอร์ (3) ให้คําปรึกษาแนะนําแก่ผู้ใช้เมื่อมีปัญหาหรือข้อสงสัยในการใช้ ...

นักวิชาการคอมพิวเตอร์ มีกี่ระดับ

นักวิชาการคอมพิวเตอร์ชำนาญการ นักวิชาการคอมพิวเตอร์ชำนาญพิเศษ นักวิชาการคอมพิวเตอร์เชี่ยวชาญ

นักวิชาการคอมพิวเตอร์ ต้องจบอะไร

มีคุณวุฒิอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาใดสาขาวิชา หนึ่ง ทางคอมพิวเตอร์ ๒. ได้รับปริญญาโทหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาใด สาขาวิชา หนึ่ง ทางคอมพิวเตอร์