ขอบข่ายของงานอาชีวอนามัยที่องค์การอนามัยโลกและองค์การแรงงาน มีกี่ประการ

องค์การอนามัยโลก (WHO) เป็นองค์กรชำนาญพิเศษของสหประชาชาติ  ซึ่งรับผิดชอบการประสานงานด้านสาธารณสุขระหว่างประเทศ  ก่อตั้งเมื่อ 7 เมษายน ค.ศ. 1948 ประกอบด้วยสมาชิก 131 ประเทศ (ธันวาคม 2511) องค์การนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะคุ้มครองและส่งเสริมสุขภาพอนามัยของประชาชนทั่วโลก มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่นครเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์

องค์กรอนามัยโลกมีบทบาทเป็นหน่วยงานระหว่างประเทศที่ทำหน้าที่ดูแลและคอยประสานงานด้านการสาธารณสุขเพื่อคุ้มครองและส่งเสริมสุขภาพอนามัยของประชาชนทั้งโลกมี 4 หน้าที่หลักคือ

1. อำนวยความช่วยเหลือแก่ประเทศต่างๆตามความต้องการเมื่อได้ร้องขอมา

2. จัดให้บริการด้านสุขภาพอนามัยแก่ประเทศต่างๆทั่วโลก

3. ส่งเสริมและประสานงานด้านการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ระหว่างชาติเกี่ยวกับปัญหาสุขภาพต่างๆอันไม่อาจดำเนินไปได้โดยลำพังของแต่ละประเทศ 

4. ทำหน้าที่แก้ปัญหาโรคที่ยังไม่สามารถรักษาได้ เช่น ซาร์ส ไข้หวัดนก และล่าสุดคือโควิด-19

ทั้งนี้ความมุ่งหมายดั้งเดิมของการร่วมมือกันนี้ก็เพื่อช่วยกันหยุดยั้งการระบาดของโรคต่างๆแต่ในปัจจุบันได้ขยายความร่วมมือออกไปอีกโดยยกระดับเรื่องสุขภาพอนามัยทุกแห่งบนโลกและส่งเสริมความก้าวหน้าในด้านสาธารณสุขด้วยการศึกษาวิจัยและแลกเปลี่ยนความรู้ต่างๆอันเกี่ยวกับการคุ้มครองส่งเสริมสุขภาพอนามัยของประชาชน  และที่สำคัญงานขององค์การอนามัยโลกดำเนินการภายใต้นโยบายและการปกครองของสมัชชาอนามัยโลกที่ประกอบไปด้วยผู้แทนของประเทศสมาชิก และเพื่อเป็นการกระจายการปฏิบัติงานขององค์การให้ทั่วถึงส่วนต่าง ๆ ของโลก สมัชชาอนามัยโลกในการประชุมสมัยที่ 1 ได้มีมติกำหนดพื้นที่การดำเนินงานออกเป็น 6 ภูมิภาค คือ

1. ภูมิภาคอเมริกา มีสำนักงานอยู่ณกรุงวอชิงตันดีซี

2. ภูมิภาคเมดิเตอร์เรเนียนตะวันออก  มีสำนักงานอยู่ ณ เมืองอเล็กซานเดรีย

3. ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีสำนักงานอยู่ที่ณกรุงนิวเดลี

4. ภูมิภาคแอฟริกามีสำนักงานอยู่ณเมืองบราซาวีล

5. ภูมิภาคแปซิฟิกตะวันตกมีสำนักงานอยู่ณกรุงมะนิลา

6. ภูมิภาคยุโรปมีสำนักงานอยู่ณกรุงโคเปเฮเกน

สำหรับประเทศไทย อยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้  ซึ่งมีสมาชิกอยู่ทั้งหมด 11 ประเทศ คือ ประเทศบังคลาเทศ ประเทศพม่า ประเทศอินเดีย ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนเกาหลี ประเทศสาธารณรัฐมัลดีฟส์ ประเทศมองโกเลีย ประเทศเนปาล ประเทศศรีลังกา ประเทศภูฏาน และประเทศไทย

WHOยังให้ความสำคัญด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงานอีกด้วย

อาชีวอนามัยคืออะไร?

 Home

» Knowledge of Health » อาชีวอนามัยคืออะไร? 

สารบัญ Show

  • อาชีวอนามัยคืออะไร?
  • ความหมายของงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
  • Post navigation
  • ขอบเขตของงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัยคืออะไร
  • ข้อใดเป็นลักษณะงานด้านอาชีวอนามัย
  • ข้อใดคือผู้ที่กําหนดขอบเขตงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
  • องค์การอนามัยโลกและองค์การแรงงานระหว่างประเทศร่วมกันกําหนดขอบข่ายของงานอาชีวอนามัยกี่ข้อ

อาชีวอนามัยคืออะไร?

อาชีวอนามัย (Occupational Health) เป็นการส่งเสริมสุขภาพการทำงานให้คงไว้ซึ่งสุขภาพกาย ใจ และความเป็นอยู่ที่ดีในสังคม รวมทั้งเป็นการป้องกันไม่ให้เกิดการ เบี่ยงเบนด้านสุขภาพที่มีสาเหตุจากการทำงานของคนทำงานในทุกอาชีพ โดยการดูแลสภาพแวดล้อม เครื่องมือ กระบวนการให้เหมาะสมกับสภาพกาย และจิตใจของคนทำงาน โดยการปรับงานแต่ละงานให้เข้ากับคนแต่ละคน

องค์การอนามัยโลก (WHO) และองค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) ได้ให้นิยามโรคจากการประกอบอาชีพและโรคเนื่องจากงานตามสาเหตุปัจจัยไว้ดังนี้

  1. โรคจากการประกอบอาชีพ (Occupational Diseases) หมายถึง โรคหรือการเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นกับคนทำงาน โดยมีสาเหตุจากการสัมผัสสิ่งคุกคามสุขภาพในที่ทำงาน ซึ่งอาการเจ็บป่วยเกิดขึ้นกับผู้ปฏิบัติงานในขณะทำงานหรือหลังจากการทำงานเป็นเวลานาน โรคจากการประกอบอาชีพบางโรคอาจเกิดภายหลังหยุดการทำงานหรือลาออกจากงานนั้นๆแล้ว ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับประเภทของสิ่งคุกตามสุขภาพ รวมทั้งโอกาสหรือ วิธีการที่ได้รับ ตัวอย่างของโรคที่สำคัญ เช่น โรคพิษตะกั่ว โรคซิลิโคสิส(โรคปอดจากฝุ่นหิน) โรคพิษสารตัวทำละลายต่างๆ (Organic solvent toxicity) เป็นต้น
  2. โรคเนื่องจากงาน (Work-related Diseases) หมายถึง โรคหรือความเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นกับคนทำงาน โดยมีสาเหตุจากปัจจัยหลายอย่างประกอบกัน และการทำงานในอาชีพเป็นปัจจัยหนึ่งของการเกิดโรค ตัวอย่างเช่น โรคเบาหวานจะมีอาการโรคเส้นเอ็นอักเสบได้ง่าย ดังนั้นลักษณะการท างานในอาชีพ หากมีการ ออกแรงซ้ำๆ หรือมีท่าทางการท างานที่ไม่ถูกต้อง ก็จะแสดงอาการขึ้น เป็นต้น
  3. โรคจากมลพิษสิ่งแวดล้อม (Environmental Diseases) หมายถึงผลกระทบที่เกิดจากมลพิษปนเปื้อน ในดิน น้ำ อากาศ ทั้งจากธรรมชาติและกิจกรรมของมนุษย์ ที่ทำให้เกิดโรคหรือผลกระทบทั้งแบบเฉียบพลันและเรื้อรัง

การป้องกันโรค

  1. การรู้สาเหตุของการเกิดโรค ได้แก่ รู้ว่าโรคปอดที่ทำให้คนงานและผู้อาศัยใกล้เคียงโรงงานโม่หินที่มีฝุ่นหินทรายฟุ้งกระจายนั้นเป็นโรคปอดอักเสบจากฝุ่นซิลิกา การป้องกันคือคนทำงานต้องใส่เครื่องป้องกันฝุ่น และต้องกำจัดฝุ่นหินนั้นไม่ให้คนไปสัมผัส โดยการปรับปรุงสิ่งแวดล้อมให้สะอาด เป็นต้น

        2.การรู้การกระจายของโรค โดยใช้วิธีการทางระบาดวิทยา เพื่อให้ทราบกลุ่มบุคคลที่เกิดโรค พื้นที่เกิดโรคและเวลาในการเกิดโรค (person, place, time) จะได้ควบคุมป้องกันไม่ให้โรคแพร่กระจายได้อย่างทันท่วงที ในขณะเดียวกันต้องมีการอบรมสุขศึกษาและความรู้เรื่องโรคต่างๆให้กับพนักงานเพื่อทราบจะได้ป้องกันตัวเองอย่างถูกวิธีด้วย

  1. การรู้ธรรมชาติของการเกิดโรค เนื่องจากโรคแต่ละโรคและกลุ่มโรคจะมีการดำเนินของโรคที่ต่างกันออกไป ซึ่งมีผลต่อการกำหนดวิธีการป้องกันที่เหมาะสม ได้แก่ การป้องกันระยะที่เริ่มได้รับปัจจัยก่อโรค ระยะสะสมที่ยังไม่แสดงอาการ ระยะปรากฏอาการเริ่ม ระยะโรครุนแรง และระยะหายของโรคที่อาจตายหรือปรากฏความพิการ เป็นต้น

“เมื่อรู้ถึงสาเหตุของโรคแล้วก็จะทำให้สามารถวางแผนการรักษาได้อย่างถูกต้องแม่นยำ แต่ที่สำคัญที่สุดคือต้องมีมาตรการการป้องกันที่รอบคอบชัดเจน เพราะการป้องกันที่ดีจะนำมาซึ่งสุขภาพอนามัยที่แข็งแรงไม่เจ็บป่วยง่าย ทำให้คนทำงานมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดี ซึ่งจะทำให้งานที่ออกมานั้นได้ประสิทธิภาพ เป็นผลดีกับทั้งนายจ้างและลูกจ้าง”

ความหมายของงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

‘อาชีวอนามัย’ จัดอยู่ในวิชาวิทยาศาสตร์แขนงหนึ่ง  ซึ่งเป็นกระบวนเรียนรู้ทางด้านการดูแลสุขภาพอนามัย ในผู้ประกอบอาชีพทุกอาชีพ รวมทั้งยังจัดการดูแลผลกระทบอันเกิดมาจากการทำงาน ซึ่งก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ เพื่อทำให้การดำเนินงานของผู้ประกอบอาชีพ ได้รับความปลอดภัยสูงสุด นอกจากนี้ยังต้องได้รับการคุ้มครองตลอดจนได้รับสิทธิประโยชน์ตามกฎหมาย

ความหมายของ ‘อาชีวอนามัย’

  • อาชีวะ หมายถึง เลี้ยงตัวด้วยการประกอบอาชีพต่างๆ
  • อนามัย หมายถึง สุขภาพอนามัย ความสมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจ
  • อาชีวอนามัย หมายถึง ส่งเสริม, ควบคุม, ดูแล ป้องกันจากโรคร้ายต่างๆ รวมทั้งอุบัติเหตุ พร้อมดำรงรักษาสุขภาพอนามัยผู้ประกอบอาชีพให้มีความปลอดภัย ทั้งทางร่างกาย และทางจิตใจ

ลักษณะของงานอาชีวอนามัย 5 ประการสำคัญ ได้แก่

  1. ส่งเสริม งานที่เกี่ยวกับการส่งเสริม – รักษาไว้ ทั้งสุขภาพกาย – จิตใจ ให้มีความแข็งแรงสมบูรณ์
  2. ป้องกัน การป้องกันไม่ให้ผู้ประกอบอาชีพ มีสุขภาพทรุดโทรม อันเนื่องมาจากสภาพการทำงานที่ผิดปกติไป
  3. ปกป้องคุ้มครอง  การปกป้องคุ้มครองผู้ประกอบอาชีพ ไม่ให้มีการทำงานที่เสี่ยงต่ออันตรายทั้งปวง
  4. จัดการทำงาน จัดการสภาพสิ่งแวดล้อมในการทำงาน ให้มีความเหมาะสมกับสภาพร่างกาย และจิตใจ ของผู้ประกอบอาชีพ
  5. ปรับงานและคนให้มีความเหมาะสมกัน ให้สภาพของงานและบุคคลที่ทำงานมีประสิทธิภาพร่วมกัน โดยคำนึงถึงสภาพทางสรีรวิทยา รวมทั้งพื้นฐานที่มีความแตกต่างทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจให้มีความสอดคล้องมากสุดเพื่อสร้างประสิทธิผลของงานนั้นให้เติบโตถึงขีดสุด

ศึกษาสภาพแวดล้อมในการทำงาน ด้วยการใช้หลักวิเคราะห์ทาง อาชีวสุขศาสตร์ แบ่งออกเป็น 3 หลักการใหญ่ๆ ด้วยกัน ได้แก่

1. สืบค้น

เริ่มจากการศึกษาสภาพอันแท้จริงของงาน เพื่อค้นหาปัญหาอย่างเจาะลึกว่า ในงานนั้นๆ มีสิ่งใดบ้างที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพของผู้ประกอบงาน เช่น อันตรายจากสภาพแวดล้อม,  อันตรายจากสารเคมี, อันตรายทางด้านชีวภาพ เป็นต้น betflix บาคาร่า

2. ประเมินอันตราย

ต่อมาเมื่อรับทราบถึงปัญหาแล้ว คราวนี้ก็จะต้องมีการประเมินระดับอันตราย ที่สามารถเกิดขึ้นว่ามีผลกระทบต่อสุขภาพของคนงานหรือไม่ รวมทั้งมีมากน้อยเพียงใด โดยสามารถกระทำได้ด้วยการตรวจสอบ, ตรวจวัด ตลอดจนการวิเคราะห์ปัญหา ด้วยการนำค่าที่ได้นั้นมาเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐาน

3. ควบคุม

เป็นงานที่สืบเนื่องติดต่อกันมา เมื่อทราบแล้วว่างานนั้นมีสิ่งใดที่เป็นอันตราย ตลอดจนเข้าใจถึงความรุนแรงแล้ว ก็จะนำมาสู่การดำเนินควบคุม รวมทั้งป้องกันอันตราย ด้วยการใช้มาตรการ ตลอดจนวิธีที่เหมาะสม อีกทั้งยังมีประสิทธิภาพในการควบคุมอันตรายอย่างเต็มรูปแบบ เพราะฉะนั้นเพื่ออำนวยประโยชน์ทั้งหลายให้แก่ลูกจ้าง นายจ้างจำต้องมีความใส่ใจรวมทั้งคำนึงถึงการดำเนินการทางด้าน ‘อาชีวอนามัย’ เป็นหลักดำเนินงานรวมทั้งกิจกรรมต่างๆ

Post navigation

ขอบเขตของงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัยคืออะไร

ขอบเขตงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัยเป็นการด าเนินการโดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อ ดูแลสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงาน ให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างปลอดโรค ปลอดภัย มีสภาวะที่สมบูรณ์ทั้งทางร่างกายและจิตใจ และสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล งานบริการที่จัดขึ้นในสถานประกอบการโดยมีจุดมุ่งหมายที่จะ ...

ข้อใดเป็นลักษณะงานด้านอาชีวอนามัย

อาชีวอนามัย (Occupational Health) เป็นการส่งเสริมสุขภาพการทำงานให้คงไว้ซึ่งสุขภาพกาย ใจ และความเป็นอยู่ที่ดีในสังคม รวมทั้งเป็นการป้องกันไม่ให้เกิดการ เบี่ยงเบนด้านสุขภาพที่มีสาเหตุจากการทำงานของคนทำงานในทุกอาชีพ โดยการดูแลสภาพแวดล้อม เครื่องมือ กระบวนการให้เหมาะสมกับสภาพกาย และจิตใจของคนทำงาน โดยการปรับงานแต่ละงานให้ ...

ข้อใดคือผู้ที่กําหนดขอบเขตงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

ลักษณะงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย คณะกรรมการร่วมระหว่างองค์การแรงงานระหว่างประเทศ (International Labour Organization; IKO) และองค์การอนามัยโลก (World Health Organization; WHO) ได้กำหนดจุดมุ่งหมายหรือวัตถุประสงค์ของงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัยไว้ดังนี้ คือ

องค์การอนามัยโลกและองค์การแรงงานระหว่างประเทศร่วมกันกําหนดขอบข่ายของงานอาชีวอนามัยกี่ข้อ

(World Health Organization : WHO) และองค์การแรงงาน ระหว่างประเทศ (International Labor Organization : ILO) ได้ร่วมกันกำหนดขอบข่าย ลักษณะงานอาชีวอนามัยไว้ว่าประกอบด้วยงานสำคัญ 5 ประการดังนี้