การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของโลกมี อะไร บาง

                กล่าวโดยสรุป สถานการณ์ด้านสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติในปัจจุบันของโลกและของประเทศกำลังประสบปัญหา เนื่องจากมีการพัฒนาในด้านต่างๆ ทั้งด้านเกษตร การอุตสาหกรรม ตลอดจนการขยายตัวของเมือง ส่งผลให้มีการใช้ทรัพยากรมากขึ้น เช่น ทรัพยากรดิน น้ำ ป่าไม้ และพลังงาน เป็นต้น ทำให้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมถูกทำลาย และเกิดการเปลี่ยนแปลงลักษณะทางกายภาพในส่วนต่างๆ ของโลกที่มีผลต่อการเกิดภูมิสังคมใหม่ในโลก…

โลกเกิดจากกลุ่มก๊าซร้อนที่รวมตัวกันและกลายเป็นดาวเคราะห์ที่เป็นบริวารของดวงอาทิตย์ เป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 4,500 ล้านปีมาแล้ว ในช่วงแรกๆ โลกเป็นของแข็งก้อนกลมอัดกันแน่นและร้อนจัด ต่อมาจึงเย็นตัวลง เมื่อโลกเย็นตัวลงใหม่ๆ นั้น ไม่ได้มีสภาพทั่วไปดังเช่นในปัจจุบันและไม่มีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่เลย โลกใช้เวลาปรับสภาพอยู่ประมาณ 3,000 ล้านปี จึงเริ่มมีสิ่งมีชีวิตเล็กๆ เกิดขึ้น และใช้เวลาวิวัฒนาการอีกประมาณ 1,000 ล้านปี จึงได้มีสภาพแวดล้อมทั่วไปคล้ายคลึงกับที่ปรากฏในปัจจุบัน

ในสมัยโบราณ มนุษย์เคยเชื่อกันว่า โลกมีสัณฐานแบนคล้ายจานข้าว นักเดินเรือในสมัยนั้นจึงไม่กล้าเดินทางไปในมหาสมุทรไกลๆ เพราะกลัวว่าจะตกขอบโลกออกไป ต่อมามีการเดินเรือรอบโลกโดย เฟอร์ดินานด์ มาเจลแลน (Ferdinand Magellan) นักเดินเรือชาวโปรตุเกสซึ่งสามารถพิสูจน์ได้ว่าโลกมีสัณฐานกลม และในปัจจุบันมีการส่งดาวเทียมหรือยานอวกาศออกไปนอกโลกในระยะไกลและถ่ายภาพโลกไว้ จากภาพถ่ายเหล่านั้นก็ปรากฏชัดว่าโลกมีสัณฐานกลม  

ขนาดของโลกเมื่อวัดระยะทางในแนวเส้นศูนย์สูตรจะได้ความยาวประมาณ 12,756 กิโลเมตร และวัดในแนวขั้วโลกเหนือ-ใต้ยาวประมาณ 12,719 กิโลเมตร ทำให้โลกมีลักษณะกลมแป้นเหมือนผลส้มที่ตรงกลางป่องเล็กน้อยและขั้วโลกทั้งสองมีลักษณะแบน โลกมีการเคลื่อนที่ตลอดเวลาโดยหมุนรอบตัวเองใช้เวลาประมาณ 24 ชั่วโมงและหมุนรอบดวงอาทิตย์ด้วยความเร็ว 106,200 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ใช้เวลาประมาณ 364 ¼ วัน

เมื่อพิจารณาถึงส่วนประกอบของโลกพบว่าโลกมีมีส่วนประกอบที่สำคัญอยู่ 4 ส่วนคือ  

  1. ธรณีภาค (Lithosphere) คือ แก่นโลกและเปลือกโลกส่วนที่รวมตัวเป็นของแข็ง ได้แก่ ดิน หิน แร่ธาตุ
  2. อุทกภาค (Hydrosphere) คือ ส่วนที่เป็นของเหลวหรือพื้นน้ำที่ปกคลุมผิวโลก เช่น ทะเล มหาสมุทร รวมถึงน้ำใต้ดิน ไอน้ำในอากาศและน้ำที่เป็นน้ำแข็งขั้วโลกด้วย
  3. บรรยากาศภาค (Atmosphere) คือ เปลือกโลกส่วนที่เป็นก๊าซอยู่เหนือผิวโลก ทำให้เกิดลักษณะภูมิอากาศ (Climate) และ ลมฟ้าอากาศ (Weather) ก๊าซต่างๆ บนโลกเรานี้ประกอบด้วยไนโตรเจนร้อยละ 78 ก๊าซออกซิเจนร้อยละ 21 และก๊าซอื่นๆ เช่น คาร์บอนไดออกไซด์ อาร์กอน ฮีเลียม อีกร้อยละ 1
  4. ชีวภาค (Biosphere) คือ สิ่งมีชีวิตบนพื้นผิวโลกทั้งบนบก ในดิน ในน้ำ และในอากาศ เช่น มนุษย์ สัตว์ พืช 

ทวีป หมายถึง แผ่นดินขนาดใหญ่ที่เชื่อมต่อกันบนพื้นโลก การแบ่งทวีปในโลกไม่มีมาตรฐานที่แน่นอน โดยทั่วไปทวีปต้องเป็นพื้นกว้างใหญ่ ไม่รวมพื้นที่ที่จมอยู่ใต้น้ำ และมีเขตแดนเด่นชัดทางภูมิศาสตร์ แม้ว่าบางคนเชื่อว่าในโลกมีทวีปอยู่ 4-5 ทวีป แต่ส่วนใหญ่จะนับได้ 6-7 ทวีป

การแบ่งทวีปที่ไม่ชัดเจน ทำให้เกิดการขัดแย้งกันอยู่ 2 กรณีใหญ่ๆ คือ ทวีปยุโรปกับเอเชียควรแยกกันหรือรวมกันเป็นทวีปยูเรเชีย (Eurasia) และทวีปอเมริกาเหนือกับทวีปอเมริกาใต้ควรแยกกันหรือรวมกันเป็นทวีปอเมริกา

นักภูมิศาสตร์บางท่าน (ส่วนน้อย) คิดว่าควรรวมยุโรป เอเชีย และแอฟริกา เป็นทวีปยูราเฟรเชีย (Eurafrasia) (ดู ทวีปแอฟริกา-ยูเรเชีย)

โรงเรียนในสหรัฐอเมริกาสอนว่ามี 7 ทวีป ขณะที่อเมริกาเหนือสอนว่ามี 6 ทวีป (รวมยุโรปกับเอเชียเป็นยูเรเชีย) ยุโรป อเมริกาใต้ รวมทั้งสหราชอาณาจักรและเม็กซิโก สอนว่ามี 5 ทวีป (รวมอเมริกาเหนือกับอเมริกาใต้เป็นทวีปอเมริกา ไม่มีทวีปแอนตาร์กติกา)

ในกีฬาโอลิมปิกแยกโลกเป็น 5 ทวีป (ตามสัญลักษณ์ห่วง 5 วง) ตามทวีปที่มีคนอาศัยอยู่ถาวร (ไม่รวมทวีปแอนตาร์กติกาที่มีคนอยู่ชั่วคราว และควบรวมอเมริกาเหนือกับอเมริกาใต้เป็นทวีปอเมริกา)

เราอาจรวมทวีปเป็น มหาทวีป (supercontinent) หรือแบ่งย่อยเป็น อนุทวีป (subcontinent) ก็ได้ แต่ก็ไม่มีนิยามที่แน่นอนชัดเจนเช่นกัน

ส่วนเกาะต่างๆ โดยปกติจะกำหนดให้เป็นส่วนหนึ่งของทวีปที่อยู่ใกล้เกาะนั้นที่สุด ดังนั้นหมู่เกาะบริติช (British Isles) จึงเป็นส่วนหนึ่งของยุโรป บางครั้งจะพบว่ามีการใช้คำว่า โอเชียเนีย (Oceania) โดยหมายถึงประเทศออสเตรเลียและหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก รวมทั้งประเทศนิวซีแลนด์. บางครั้งก็กำหนดให้ออสเตรเลีย (อาจรวมถึงนิวซีแลนด์) เป็นทวีปทวีปหนึ่ง โดยหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกไม่ได้อยู่ในทวีปใดๆ เลย

กล่าวโดยสรุป โลกต้องเผชิญกับภัยพิบัติทางธรรมชาติและการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติมากมาย ทั้งแผ่นดินไหว ภูเขาไฟปะทุ สึนามิ อุทกภัย แผ่นดินถล่ม การกัดเซาะชายฝั่ง วาตภัย ภาวะโลกร้อน สภาพอากาศแปรปรวน ไฟป่า ตลอดจนความแห้งแล้ง ซึ่งภัยพิบัติและการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวเกิดจากปัจจัยทางธรรมชาติและจากการกระทำของมนุษย์ ได้ส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมและความเป็นอยู่ของมนุษย์ และนับวันจะทวีความรุนแรงมากขึ้น จึงจำเป็นที่ทุกฝ่ายจะต้องหาทางป้องกันและแก้ปัญหา เพื่อให้ทุกคนได้ดำรงชีวิตได้อย่างปกติสุข

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 1 หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 4 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 5 หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 6

Slide PowerPoint_สอ่ื ประกอบการสอน

บรษิ ัท อกั ษรเจรญิ ทัศน์ อจท. จำกดั : 142 ถนนตะนำว เขตพระนคร กรงุ เทพฯ 10200
Aksorn CharoenTat ACT.Co.,Ltd : 142 Tanao Rd. Pranakorn Bangkok 10200 Thailand
โทรศพั ท์ : 02 622 2999 โทรสำร : 02 622 1311-8 [email protected] / www.aksorn.com

2หน่วยการเรยี นรู้ที่

การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของโลก

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
• กำรเปลย่ี นแปลงทำงกำยภำพ (ประกอบด้วย 1. ธรณภี ำค 2. บรรยำกำศภำค 3. อทุ กภำค 4. ชวี ภำค) ของพ้นื ที่ในประเทศไทยและภมู ภิ ำคต่ำง ๆ ของโลก

ซง่ึ ไดร้ บั อทิ ธพิ ลจำกปัจจยั ทำงภมู ศิ ำสตร์
• กำรเปล่ยี นแปลงทำงกำยภำพท่สี ง่ ผลตอ่ ภูมปิ ระเทศ ภูมอิ ำกำศ และทรัพยำกรธรรมชำติ

เปลอื กโลกภาคพนื้ มหาสมทุ ร โครงสรา้ งของโลก

เปลือกโลกภาคพ้นื ทวีป

ทวีป

เปลือกโลก ธรณีภาค
เนอื้ โลก ฐานธรณภี าค

เนอื้ โลกสว่ นลา่ ง

แก่นโลก แกน่ โลกชน้ั นอก
แกน่ โลกชั้นใน

การเปลี่ยนแปลงของแผน่ ธรณีภาคแบบเคลือ่ นหากนั

การเคล่ือนหากันระหว่าง

เปลอื กโลกภาคพนื้ มหาสมทุ ร กบั เปลอื กโลกภาคพน้ื มหาสมทุ ร

เปลอื กโลกภาคพน้ื มหาสมทุ ร เหวสมุทร
เนื้อโลกชัน้ บนสุด
เนื้อโลกส่วนบน เปลอื กโลกภาคพื้นทวปี
เนื้อโลกช้นั บนสดุ

การเปลยี่ นแปลงของแผน่ ธรณภี าคแบบเคลื่อนหากนั

การเคล่อื นหากันระหวา่ ง

เปลอื กโลกภาคพื้นทวปี กับ เปลอื กโลกภาคพ้ืนทวีป

เทือกเขา ท่ีราบสูง

เปลือกโลกภาคพ้นื ทวีป เปลอื กโลกภาคพน้ื ทวปี
เนือ้ โลกชน้ั บนสดุ เนอื้ โลกช้ันบนสุด
เนื้อโลกส่วนบน เปลือกโลกภาคพ้นื สมุทรโบราณ

การเปลี่ยนแปลงของแผน่ ธรณีภาคแบบเคลอื่ นหากนั

การเคลื่อนหากนั ระหวา่ ง

เปลือกโลกภาคพืน้ มหาสมทุ ร กับ เปลือกโลกภาคพ้นื ทวีป

เหวสมทุ ร

เปลือกโลกภาคพนื้ มหาสมุทร เปลอื กโลกภาคพืน้ ทวีป
เนอ้ื โลกชนั้ บนสดุ เน้ือโลกชัน้ บนสุด
เน้อื โลกส่วนบน

การเปลี่ยนแปลงของแผน่ ธรณภี าคแบบเคล่ือนหากนั

การเคลอื่ นหากันระหว่าง การเคลอ่ื นหากันระหว่าง การเคลอ่ื นหากันระหวา่ ง

เปลือกโลกภาคพนื้ มหาสมุทร เปลอื กโลกภาคพน้ื ทวปี เปลอื กโลกภาคพื้นมหาสมุทร
กบั เปลอื กโลกภาคพื้นมหาสมทุ ร กบั เปลอื กโลกภาคพื้นทวีป กับ เปลือกโลกภาคพนื้ ทวปี

การเคลื่อนทขี่ องแผน่ ธรณภี าคแยกจากกัน

การเคลอ่ื นท่แี ยกจากกนั ระหวา่ ง

เปลอื กโลกภาคพ้นื มหาสมทุ ร กับ เปลอื กโลกภาคพ้นื มหาสมุทร

เทอื กเขาแยกจากกันเกดิ หินใหม่ในบริเวณนนั้ ภเู ขาไฟเกดิ ขนึ้ ใกล้แนวเทือกเขา
และแผ่นเปลือกโลกถูกผลักใหแ้ ยกจากกัน

เปลอื กโลกภาคพืน้ สมทุ ร แมกมา

หนิ หลอมเหลวไหลขึน้ ไป
ระหวา่ งแผน่ เปลือกโลก
เคลอ่ื นที่แยกจากกัน

การเคลอื่ นทีข่ องแผน่ ธรณภี าคแยกจากกนั

การเคล่อื นทแ่ี ยกจากกันระหวา่ ง

เปลือกโลกภาคพน้ื ทวปี กับ เปลอื กโลกภาคพ้นื ทวปี

ภูเขาเลงไก หบุ เขาทรดุ ภูเขาคิลมิ นั จาโร

แมกมา

การเคลอื่ นท่ีของแผ่นธรณภี าคตามแนวระดบั

การเคล่อื นท่ีตามแนวระดับระหวา่ ง

เปลอื กโลกภาคพนื้ มหาสมุทร กับ เปลอื กโลกภาคพืน้ มหาสมทุ ร

เขตรอยแตก รอยเลือ่ นตามแนวระดับ เขตรอยแตก

การเคลอื่ นทขี่ องแผ่นธรณีภาคตามแนวระดับ

การเคล่อื นทต่ี ามแนวระดบั ระหวา่ ง

เปลอื กโลกภาคพื้นทวีป กับ เปลอื กโลกภาคพ้นื ทวปี

แผ่นเปลอื กโลกเคลือ่ นทต่ี ามแนวระดับ ทาใหเ้ กดิ แผน่ ดนิ ไหว

หินใกล้ขอบแผน่ เปลือกโลกเกิดรอยเลื่อนและเอยี ง

แผนท่แี สดงแผน่ เปลือกโลกสาคัญ

ขอบเขตแผ่นเปลอื กโลก
รอยแยกใต้พน้ื มหาสมทุ ร
ร่องลกึ ก้นสมุทร
ทศิ ทางการเคลอ่ื นที่
ทิศทางการมดุ ตัว
เขตรอยเลือ่ นชนกัน
เขตรอยเล่อื นตามแนวระดบั

แผนที่แสดงการกระจายของขนาดแผ่นดนิ ไหวของโลก

รอยเลือ่ นแซนแอนเดรียส รฐั แคลฟิ อรเ์ นยี
สหรัฐอเมริกา เป็นรอยเลอ่ื นขนาดใหญ่
ทีม่ พี ลังมากและมีโอกาสเกิดแผน่ ดินไหวรนุ แรง
สังเกตไดว้ ่าแผน่ ดินไหวจะเกดิ ตามแนวรอยตอ่ ของแผน่ เปลอื กโลก โดยเฉพาะรอบแผ่นเปลือกโลกแปซฟิ กิ หรือ วงแหวนแห่งไฟ

กระบวนการปรับระดับพ้ืนผิวโลก

การผุพังอยู่กบั ท่ี เป็นกระบวนการที่ทาใหแ้ รป่ ระกอบหินเกดิ การเปลยี่ นแปลงทางกายภาพและทางเคมี
ผกุ ร่อน แตกหกั ละลาย เป็นการเปลีย่ นสภาพที่อยู่ ณ ทีเ่ ดมิ
ทางกายภาพ
ทางเคมี ทางชวี ภาพ

เกิดจากแรงกดดนั และอุณหภมู ิ หนิ และแร่ เกิดจากโมเลกลุ ของนา้ หรอื ออกซเิ จน เกดิ จากกจิ กรรมของสิง่ มชี ีวิต เชน่

ขยายตวั ไม่เทา่ กันจนแตกหลดุ ออกจากกนั ทาปฏกิ ริ ยิ ากบั แร่จนเกดิ การละลาย ผกุ ร่อน รากพืชแทรกเข้าขยายรอยแตกของหนิ

กระบวนการปรบั ระดับพน้ื ผิวโลก

การกร่อน เปน็ กระบวนการทีห่ นิ หรือดนิ แตกหกั หรอื หลุดเปน็ กอ้ นเลก็ จากตวั กระทา
เชน่ ธารนา้ คลน่ื ลม ธารนา้ แขง็
จากแรงกระแทก
จากการครูดถู จากการละลาย

กระเสน้าหรือลมแรงจนเกดิ การกระแทก ธารนา้ แขง็ หรอื ลมและน้าพัดพาเศษหิน น้าทาปฏิกิรยิ ากบั แรใ่ นพ้ืนทห่ี ินปนู
ซ่งึ น้าจะละลายหินจนเปน็ หลุมบ่อ ถ้า
หน้าผาหรอื ก้อนหนิ จนสกึ กรอ่ นเป็นโพรง ก้อนกรวดทรายครูดถพู ้นื ผิว

จนสกึ กรอ่ น จนมลี กั ษณะเป็นแอ่ง หลุมบ่อ

การพัดพาและการทบั ถม กระบวนการปรับระดับพื้นผิวโลก

เป็นกระบวนการท่เี กิดค่กู นั เมื่อมีการพัดพาตะกอนออกไปจากทห่ี นง่ึ
ทาให้เกิดการทบั ถมของตะกอนในอีกทหี่ น่ึง

หนิ ดนิ เหนยี ว
น้า
ทราย ทรายแป้ง แผน่ ดินงอกเกดิ จากแมน่ ้า
พัดพาตะกอนมาทบั ถม
การคดั ขนาดตะกอนด้วยการพัดพาของน้า

การเคลอ่ื นทีข่ องมวล กระบวนการปรบั ระดับพ้ืนผิวโลก

เม่อื หินหรอื ดนิ มนี า้ หนกั มากและอยูบ่ นท่ีลาดชันมีโอกาสไหลหล่นมาตาม
แรงโน้มถว่ งของโลก อาจมปี จั จยั อื่น ๆ รว่ มดว้ ย เช่น นา้ การส่ันสะเทือน

หิมะถล่ม ดินถลม่ หนิ ถล่ม

? ภาพต่อไปนี้เป็นการเปลยี่ นแปลงทางธรณกี ระบวนการใด กิจกรรม

12 4

3 การกรอ่ นจากการครดู ถู 5 โครงสร้างรอยเล่อื น

การกรอ่ นจากการละลายหนิ ปูน การพัดพาและทับถม ทะเลสาบบนปากปลอ่ งภูเขาไฟเกดิ จากภูเขาไฟปะทุ

บรรยากาศภาค

500 ชน้ั ที่ 4 สะทอ้ นคลื่นวิทยคุ วามถ่ตี า่ ได้ มีแสงเหนือ อุณหภมู เิ พ่ิมข้ึน
km. เทอรโ์ มสเฟยี ร์ แสงใตเ้ กิดขน้ึ ตามลาดับความสงู

(thermosphere) วัตถุนอกโลกจะถูกเผาไหม้ -85 ℃

80 ชนั้ ที่ 3 อุณหภูมิลดลง
km. เมโซสเฟยี ร์ ตามลาดบั ความสงู

(mesosphere) 0℃

ชนั้ โอโซน

50 ชั้นที่ 2 มแี กส๊ โอโซนช่วยดูดกลนื รงั สีอัลตราไวโอเลต อุณหภูมิเพิม่ ข้ึน
km. สแตรโทสเฟียร์ จากดวงอาทิตย์ เครื่องบนิ บนิ ตามลาดับความสูง

(stratosphere) เกิดปรากฏการณส์ าคญั ไดแ้ ก่ เมฆ ฝน -60 ℃
หมิ ะ ลม พายตุ ่างๆ
15 ชนั้ ท่ี 1 อณุ หภูมลิ ดลง
km. โทรโพสเฟียร์ ตามลาดับความสูง

(troposphere) อณุ หภมู ิ
ความสงู
ชน้ั บรรยากาศ

สแตรโทสเฟียร์ เมโซสเฟียร์ ช้ันบรรยากาศ

เทอร์โมสเฟียร์

ชน้ั บรรยากาศทีอ่ ยู่ถัดจากโทรโพสเฟยี ร์ขนึ้ ไป ชนั้ บรรยากาศทอี่ ย่ถู ดั จากสแตรโทสเฟยี รข์ น้ึ ไป ชนั้ บรรยากาศที่อย่ถู ดั จากเมโซสเฟยี รข์ น้ึ ไป
อากาศมกี ารเคลอ่ื นทีเ่ ฉพาะในแนวระดบั เพียง เทหวัตถุจากนอกโลก เช่น อุกกาบาต ดาวตก มปี ระจไุ ฟฟ้ามาก จงึ สะท้อนคลื่นวิทยุไดด้ ี
อยา่ งเดยี ว ปราศจากเมฆและพายจุ งึ เปน็ ระดบั เศษซากดาวเทยี มจะถูกเสียดสีและเผาไหม้ใน เป็นประโยชน์กับการสอื่ สารระยะไกล เกิด
ท่ใี ชใ้ นกจิ การการบนิ ชัน้ น้ี ปรากฏการณ์แสงออโรรา หรือ แสงเหนอื แสงใต้

การเปลยี่ นแปลงทางบรรยากาศภาค กับ ทิศทางลม

L บรเิ วณความกดอากาศตา่
มีอณุ หภูมสิ ูง อากาศรอ้ นลอยตัว
L

H บรเิ วณความกดอากาศสงู
มีอุณหภูมติ า่ อากาศเย็นจมตัว

HL H L เส้นความกดอากาศย่ิงมีคา่ มาก
L แสดงวา่ มคี วามกดอากาศสงู

H HH อากาศจะเคลอ่ื นทีจ่ ากบรเิ วณ
ความกดอากาศสูง ส่บู ริเวณท่มี ี
? จากแผนที่แสดงวา่ ประเทศไทยอยู่ในฤดูใด? H ความกดอากาศต่ากวา่

แนวรอ่ งความกดอากาศต่า
เป็นบรเิ วณทีล่ มจากซกี โลกเหนอื
และซีกโลกใตจ้ ะพดั เบยี ดเข้าหากัน
ทาใหเ้ กดิ เมฆฝน

การเปลย่ี นแปลงทางบรรยากาศภาค : เมฆ

เมฆชั้นสูง ซีร์รสั (cirrus) ซีร์โรคิวมลู สั

อณุ หภมู ติ ำ่ มำกและไอนำ้ น้อย ซรี โ์ รสเตรตสั (cirrocumulus)
มองเหน็ ไดช้ ดั เจนช่วงฤดหู นำว
ทีท่ ้องฟ้ำโปรง่ ใส (cirrostratus) แอลโตควิ มูลัส

เมฆชน้ั กลาง (altocumulus)

อณุ หภูมิปำนกลำงและไอนำ้ แอลโตสเตรตัส ควิ มูลัส
ขนำดเล็ก เปน็ ละอองนำ้ สขี ำว
บำงคร้ังจับตัวเปน็ ก้อน (altostratus) (cumulus)

เมฆช้นั ตา่ นมิ โบสเตรตสั สเตรโทคิวมลู ัส คิวมูโลนิมบัส

อุณหภูมสิ ูงและไอนำ้ มำก (nimbostratus) (stratocumulus) (cumulonimbus)
มีเมฆท่ีทำใหฝ้ นตกหรือ
หมิ ะตกได้ สเตรตสั (stratus)

หยาดน้าฝน น้าในอากาศ เกดิ การกล่ันตวั อทุ กภาค
การระเหย การคายนา้ ของพืช
การระเหย

นา้ ผวิ ดิน มหาสมุทร

วฏั จักรของน้า

การหมนุ เวียนเปลีย่ นสภาวะของน้า
ในธรรมชาติ ทผ่ี ่านขั้นตอนกระบวนการตา่ ง ๆ
เชน่ การระเหย การกลายเปน็ ไอ การกล่ัน

แหล่งนา้ ผิวดนิ ทส่ี าคญั ของโลก

บริเวณที่มแี หลง่ นา้ จดื ผิวดนิ น้อย ไดแ้ ก่

• ทวปี แอฟริกาบรเิ วณทะเลทรายสะฮารา

?• ภูมภิ าคเอเชียตะวันตกเฉียงใตบ้ ริเวณคาบสมทุ รอาหรบั

• ภูมภิ บาคริเเวอณเชทียตมี่ ะแี วหันลอ่งอนก้าแจลืดะเอเชียกลางบริเวณทร่ี าบสูงทิเบต
• ทวผปี วิอดอินสเอตดุ รมเลสยี มบูรณ์ ได้แก่
เอเชีย ยุโรป แอฟรกิ าตอนกลาง อเมรกิ าเหนอื อเมรกิ าใต้

กระแสน้าในมหาสมุทร

? กระแสน้าสาคัญของโลก กระแสนา้ อนุ่ ยกตัวอย่างการไหลเวียน
กระแสนา้ เยน็ ของกระแสน้าในแผนที่ 1 จุด
ทีน่ กั เรยี นรู้จัก มอี ะไรบา้ ง

กระแสน้าในมหาสมทุ รแปซฟิ กิ

กระแสน้าในมหาสมทุ รอินเดยี

กระแสน้าในมหาสมทุ รแอตแลนตกิ

แผนท่แี สดงระบบนิเวศโลก

ป่าฝนเขตร้อน
ปา่ ผลัดใบ
ทุ่งหญา้
เมดิเตอรเ์ รเนียน
เทือกเขาสูง
ทะเลทราย
ป่าสนหรอื ไทกา
ทนุ ดรา

แผนทีแ่ สดงระบบนิเวศโลก

? เขตชีวนิเวศบริเวณใด

มคี วามหลากหลาย

ของส่ิงมชี ีวติ มากทส่ี ุด

เพราะเหตใุ ด

ภูมิประเทศที่เกดิ จากการกรอ่ นโดยธารนา้ แข็ง

ยอดเขารปู พรี ะมดิ อาแร็ต
เซริ ์ก
สนั เขา มวลธารนา้ แขง็ สายย่อย

ตะกอนธารนา้ แขง็ กลางลาธาร หุบเขารปู ตวั ยู
เหวน้าแข็ง
หินฐาน ตะกอนธารนา้ แขง็
มวลธารนา้ แขง็ ขนาดใหญ่

เซริ ์ก ภูมปิ ระเทศทีเ่ กิดจากการกรอ่ นโดยธารนา้ แข็ง
สันเขา
ธารนา้ หบุ เขาลอย
หลมุ ธารน้าแข็ง
จมูกเขาปลายตัด

หนิ ฐาน หุบเขาถูกครดู ถู
หบุ เขาธารนา้ แขง็

เขารูปหงอนไก่ เกิดจากการสกึ กร่อนผพุ งั ภูมิประเทศทเี่ กดิ จากการกร่อนโดยลม
ที่ไมเ่ ทา่ กนั โดยการกระทาของลมและเศษฝุ่น
ภมู ปิ ระเทศทะเลทรายลกั ษณะตา่ ง ๆ จากการพัดพาและทบั ถมของลม
ทพ่ี ดั แรงครูดถเู ขาจนมรี ปู รา่ งแปลกตา
12 3

เนนิ ทรายรูปพระจนั ทร์เสยี้ ว เนนิ ทรายตามขวาง เนนิ ทราย barchanoid
4 5 6

เนนิ ทรายตามยาว เนินทรายรปู โคง้ เนนิ ทรายรปู ดาว

ภมู ิประเทศทเ่ี กิดจากการกระทาของคลื่นและกระแสนา้ ชายฝง่ั

หัวแหลมผาชนั แม่นา้ ปากแม่น้า รอ่ งคล่นื เซาะ ชน้ั หิน

ผารมิ ทะเล เศษหินรว่ ง

เศษหนิ รว่ ง หนา้ ผาสงู ชนั

ทะเลสาบนา้ เค็ม หน้าผาทรุด
ที่ราบลมุ่ ป่าชายเลน โพรงหนิ
สันดอนจะงอย ชอ่ งโค้ง

ตะกอนชายฝั่ง หาดกรวด โขดหนิ อ่าว เกาะหนิ โดด

ภมู ิประเทศท่ีเกดิ จากการกระทาของคลนื่ และกระแสน้าชายฝงั่

เกาะขนาดเล็กใกลช้ ายฝัง่ พนื้ ท่ีของเขาหนิ ท่ีเคยเชอื่ มต่อกนั
ที่หินยอดเกาะมลี ักษณะโด่ง คลืน่ และลมกร่อนหนิ ผพุ งั ทลายลงไป
เกิดจากแหลมหนิ ทยี่ ืน่ ไปในทะเล
แตเ่ ดมิ ถกู คลืน่ เซาะทั้ง 2 ข้าง
จนสว่ นปลายถูกตดั ออก
เหลือเพียงเกาะโขดหนิ ขนาดเล็ก

? รู้หรือไม่ ลานคลน่ื เซาะในชว่ งเวลาน้าข้ึนน้าลง
ทาให้สว่ นฐานของเขาหนิ แคบลึกเข้าไป
สถานที่น้ีคอื ที่ใด

แผนท่แี สดงเขตภูมอิ ากาศตามลกั ษณะอณุ หภูมจิ ากเส้นอณุ หภูมเิ ทา่

แผนท่ีแสดงเขตภมู ิอากาศตามลักษณะปรมิ าณฝนจากเส้นนา้ ฝนเทา่

เสน้ อาร์กติกเซอร์เคิล

แผนท่ีแสดงเขตภูมิอากาศโลกแบบเคิปเปน

A มีอณุ หภูมสิ งู ตลอดปี Af Am Aw

ภมู อิ ากาศเขตร้อน เฉลี่ยเกนิ กว่ำ 18℃ ภมู ิอากาศแบบมรสมุ ภมู อิ ากาศแบบสะวันนา
และมีฝนตกชกุ ภูมิอากาศแบบรอ้ นช้นื

แผนที่แสดงเขตภูมิอากาศโลกแบบเคิปเปน

B มคี ่ำระเหยเกนิ กวำ่ คำ่ เฉล่ยี ของปรมิ ำณฝน BS BW

ภูมอิ ากาศเขตแหง้ แลง้ มีคำ่ อณุ หภมู ริ ะหวำ่ งวันแตกต่ำงกนั มำก ภมู ิอากาศแบบกงึ่ ทะเลทราย ภูมิอากาศแบบทะเลทราย