แบบประเมินความพึง พอใจ แบบฝึกทักษะ doc

1469 การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 29 ประจ�ำปี 2562 วิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน พร้อมแบบประเมินที่สร้างขึ้นเสนอผู้เชี่ยวชาญจานวน 5 คน ซึ่งเป็นบุคคลกลุ่มเดียวกันกับผู้เชี่ยวชาญที่ประเมินแบบฝึก ทักษะทาการประเมินเพื่อตรวจสอบความเหมาะสมในด้านต่างๆ โดยรวมของแผนการจัดการเรียนรู้ทั้ง 5 แผน 8. นาผลการ ประเมินที่ผู้เชี่ยวชาญทาการประเมินมาหาค่าเฉลี่ยปรับปรุงตามข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญ 9. นาแผนการจัดการเรียนรู้ที่ ผ่านการตรวจสอบคุณภาพเรียบร้อยแล้วไปทดลองกับนักเรียนแบบเดี่ยว แบบกลุ่ม แบบสนาม ร่วมกับแบบฝึกทักษะวิชา คณิตศาสตร์ เรื่องเลขยกกาลัง สาหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และนาไปใช้กับกลุ่มตัวอย่างต่อไป แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนคณิตศาสตร์โดยใช้แบบฝึกทักษะ วิชาคณิตศาสตร์ เรื่องเลขยกกาลัง สาหรับ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนนราธิวาส การสร้างและหาคุณภาพของแบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการ เรียนคณิตศาสตร์โดยใช้แบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์ เรื่องเลขยกกาลัง สาหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนนราธิวาส ผู้รายงานได้ดาเนินการตามขั้นตอนดังนี้1. ศึกษาการสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจ จากหนังสือการ วัดผลการศึกษาของสมนึก ภัททิยธนี (2549: 27-42) และการวิจัยเบื้องต้น ของบุญชม ศรีสะอาด (2554: 74-83) และเอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2. สร้างแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีต่อการใช้แบบฝึกทักษะ เรื่องเลขยกกาลัง จานวน 10 ข้อ ซึ่งมี เ กณฑ์การประเมินความพึงพอใจของนักเรียนเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ 3. นาแบบทดสอบความพึงพอใจเสนอผู้เชี่ยวชาญ เพื่อพิจารณาให้คะแนนประเมินความสอดคล้องระหว่างข้อคาถาม กับพฤติกรรมชี้วัดด้านความพึงพอใจของนักเรียนโดยใช้ค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคาถามกับพฤติกรรมชี้วัดด้าน ความพึงพอใจของนักเรียน (IOC : Index of Consistency) 4. นาแบบสอบถามที่ผ่านการประเมินจากผู้เชี่ยวชาญแล้ว มา วิเคราะห์หาค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคาถามกับพฤติกรรมชี้วัดด้านความพึงพอใจของนักเรียนโดยใช้ค่าดัชนีความ สอดคล้องระหว่างข้อคาถามกับพฤติกรรมชี้วัดด้านความพึงพอใจของนักเรียน (IOC : Index of Consistency) (สมนึก ภัททิยธนี. 2549: 220) เลือกข้อคาถามที่มีค่า IOC ตั้งแต่ 0.50 - 1.00 ซึ่งเป็นข้อคาถามที่อยู่ในเกณฑ์ที่ใช้ได้ 5. นา แบบสอบถามความพึงพอใจไปทดลองใช้กับนักเรียน ที่ผ่านการใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องเลขยกกาลัง มาแล้ว จากนั้นนาคาตอบที่ได้มาหาค่าความเชื่อมั่นโดยวิธีสัมประสิทธิ์แอลฟาของ Cronbach (บุญชม ศรีสะอาด. 2554: 117) จากนั้นพิมพ์แบบสอบถามความพึงพอใจเป็นฉบับสมบูรณ์ 6. นาแบบสอบถามความพึงพอใจฉบับสมบูรณ์ ไปใช้กับ นักเรียนกลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/11 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 จานวน 31คน เพื่อหาระดับ ความพึงพอใจ วิธีดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลในการเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้รายงานเก็บรวบรวมข้อมูลกับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1/11ภาคเรียนที่ 1ปีการศึกษา 2561จานวน 31 คน ได้ดาเนินการตามขั้นตอนดังต่อไปนี้ 1. ทดสอบก่อนเรียน โดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องเลขยกกาลัง สาหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จานวน 30 ข้อ ใช้เวลา 60 นาที และเก็บรวบรวมคะแนนผลสอบไว้ 2. ดาเนินการโดยใช้แบบฝึกทักษะเรื่องเลขยกกาลัง ตามแผนการ จัดการเรียนรู้ 5 แผน จานวน 16 ชั่วโมง ให้นักเรียนได้ทาแบบฝึกทักษะและทาแบบทดสอบย่อยหลังแบบฝึกทักษะในแต่ละ ชุด โดยผู้รายงานได้เก็บรวบรวมคะแนนไว้ 3. ทดสอบหลังเรียนหลังจากใช้แบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์ เรื่องเลขยกกาลัง ครบทุกแผนการจัดการเรียนรู้แล้ว ทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้แบบทดสอบฉบับเดียวกันสลับข้อกันใช้ในการ ทดสอบก่อนเรียนและเก็บรวบรวมคะแนนผลสอบไว้ 4. ประเมินความความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนคณิตศาสตร์ โดยใช้ แบบฝึกทักษะ เรื่องเลขยกกาลัง 5. นาผลที่ได้จากข้อ1-4 มาวิเคราะห์ทางสถิติ 1. คะแนนเฉลี่ย 2 . ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 3. การหาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา 4. ความยากง่าย (Difficulty) และค่าอานาจจาแนก (Discrimination) 5. การหาค่าความ เชื่อมั่น (Reliability) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 6. หาค่า ความเชื่อมั่นของแบบสอบถามความพึงพอใจ 7. การหาประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะ 8. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ความแตกต่างระหว่างคะแนนสอบก่อนเรียนและ หลังเรียนเพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

Made with FlippingBook

RkJQdWJsaXNoZXIy Mzk3MzI3