เงินสนับสนุนการขาย

                ���   8   �ҧ��� ��ǹŴ ���ͻ���ª��� � ���ͧ�ҡ������������â�µ����� 1 �������ѡɳ��繤�ҵͺ᷹�ҡ��â���Թ������͡������ԡ�� ����ҵ�� 77/1(8) ����ҵ�� 77/1(10) ��觻�������ɮҡ� ����Ѻ�֧����ͧ���Թ�ҧ��� ��ǹŴ ���ͻ���ª��� � ���ͧ�ҡ������������â�´ѧ����������ӹdz��Ť�Ңͧ�ҹ���յ���ҵ�� 79 ��觻�������ɮҡ�

คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น เพื่อช่วยให้การทำงานหลักของเว็บไซต์ใช้งานได้ รวมถึงการเข้าถึงพื้นที่ที่ปลอดภัยต่าง ๆ ของเว็บไซต์ หากไม่มีคุกกี้นี้เว็บไซต์จะไม่สามารถทำงานได้อย่างเหมาะสม และจะใช้งานได้โดยการตั้งค่าเริ่มต้น โดยไม่สามารถปิดการใช้งานได้


คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์ จะช่วยให้เว็บไซต์เข้าใจรูปแบบการใช้งานของผู้เข้าชมและจะช่วยปรับปรุงประสบการณ์การใช้งาน โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลและรายงานผลการใช้งานของผู้ใช้งาน


คุกกี้ในส่วนการตลาด ใช้เพื่อติดตามพฤติกรรมผู้เข้าชมเว็บไซต์เพื่อแสดงโฆษณาที่เหมาะสมสำหรับผู้ใช้งานแต่ละรายและเพื่อเพิ่มประสิทธิผลการโฆษณาสำหรับผู้เผยแพร่และผู้โฆษณาสำหรับบุคคลที่สาม

             กรณีบริษัทฯ ได้รับเงินสนับสนุนค่าใช้จ่ายเพื่อการโฆษณาและส่งเสริมการขายจากบริษัท A ตามข้อเท็จจริงข้างต้น หากบริษัทฯ มิได้ขายสินค้าหรือให้บริการใดๆ แก่บริษัท A เพื่อตอบแทนเงินสนับสนุนที่ได้รับจากบริษัท A เงินสนับสนุนดังกล่าวไม่เข้าลักษณะเป็นรายรับจากการขายสินค้าหรือการให้บริการ บริษัทฯ ไม่ต้องนำมารวมคำนวณเป็นมูลค่าของฐานภาษีเพื่อเสียภาษีมูลค่าเพิ่มตามมาตรา 79 แห่งประมวลรัษฎากร

ภาษีเงินได้นิติบุคคล กรณีการจ่ายค่าตอบแทนให้แก่พนักงานในการยินยอมให้เปลี่ยนแปลงเงื่อนไขในข้อบังคับการทำงาน ระเบียบข้อบังคับการทํางาน 2563 ข้อบังคับเกี่ยวกับการทํางาน บริษัท ปตท ข้อบังคับเกี่ยวกับการทํางาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน 2564 แบบฟอร์ม ตัวอย่าง กฎ ระเบียบบริษัท ตัวอย่างข้อบังคับเกี่ยวกับการทํางาน 2564 ข้อบังคับเกี่ยวกับการทํางาน ภาษาอังกฤษ ข้อบังคับเกี่ยวกับการทํางาน pdf ตัวอย่างข้อบังคับเกี่ยวกับการทํางาน 2564 word

คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น เพื่อช่วยให้การทำงานหลักของเว็บไซต์ใช้งานได้ รวมถึงการเข้าถึงพื้นที่ที่ปลอดภัยต่าง ๆ ของเว็บไซต์ หากไม่มีคุกกี้นี้เว็บไซต์จะไม่สามารถทำงานได้อย่างเหมาะสม และจะใช้งานได้โดยการตั้งค่าเริ่มต้น โดยไม่สามารถปิดการใช้งานได้


คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์ จะช่วยให้เว็บไซต์เข้าใจรูปแบบการใช้งานของผู้เข้าชมและจะช่วยปรับปรุงประสบการณ์การใช้งาน โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลและรายงานผลการใช้งานของผู้ใช้งาน


คุกกี้ในส่วนการตลาด ใช้เพื่อติดตามพฤติกรรมผู้เข้าชมเว็บไซต์เพื่อแสดงโฆษณาที่เหมาะสมสำหรับผู้ใช้งานแต่ละรายและเพื่อเพิ่มประสิทธิผลการโฆษณาสำหรับผู้เผยแพร่และผู้โฆษณาสำหรับบุคคลที่สาม

               ในส่วนของโปรแกรม Business plus ERP ท่านสามารถบันทึกรับค่าส่งเสริมการขาย ตามหลักประมวลรัษฎากรของกรมสรรพากรได้ และสามารถออกหนังสือ รับรองหัก ณ ที่จ่ายให้กับเจ้าหนี้ได้ในกรณีที่ท่านเป็นผู้รับค่าส่งเสริมการขาย ทั้งนี้การบันทึกค่าส่งเสริมการขายในโปรแกรม  Business plus ERP ไม่ว่าจะเป็นผู้ให้ หรือผู้รับ โปรแกรมก็จะทำการลงบัญชีให้อัตโนมัติ (ตามที่มีการผูกบัญชีเอาไว้) และหากมีการรับค่าส่งเสริมการขายเป็นสินค้าโปรแกรมก็จะทำการบันทึกจัดเก็บสินค้าเข้าสต็อกให้ด้วย

                ข้อ   8   รางวัล ส่วนลด หรือประโยชน์ใด ๆ เนื่องจากการส่งเสริมการขายตามข้อ 1 ไม่เข้าลักษณะเป็นค่าตอบแทนจากการขายสินค้าหรือการให้บริการ ตามมาตรา 77/1(8) และมาตรา 77/1(10) แห่งประมวลรัษฎากร ผู้รับจึงไม่ต้องนำเงินรางวัล ส่วนลด หรือประโยชน์ใด ๆ เนื่องจากการส่งเสริมการขายดังกล่าวไปรวมคำนวณมูลค่าของฐานภาษีตามมาตรา 79 แห่งประมวลรัษฎากร

เลขที่หนังสือ: กค 0706/พ./10871 วันที่: 8 ธันวาคม 2547 เรื่อง: ภาษีมูลค่าเพิ่ม กรณีเงินสนับสนุนค่าใช้จ่ายส่งเสริมการขาย ข้อกฎหมาย: มาตรา 79 ข้อหารือ: กรณีบริษัทฯ ได้สั่งซื้อผลิตภัณฑ์นมผงจากบริษัทแม่ คือ บริษัท ม. ที่ประเทศญี่ปุ่นเพื่อมาจำหน่าย
ในประเทศไทย โดยได้รับเงินสนับสนุนค่าใช้จ่ายส่งเสริมการขายจากบริษัทแม่ หากเงินสนับสนุน
ค่าใช้จ่ายส่งเสริมการขายดังกล่าวเป็นเงินที่บริษัทฯ ได้มาโดยไม่มีข้อผูกมัดที่จะต้องกระทำการตอบแทน
ใด ๆ เงินที่ได้รับมิใช่มูลค่าของฐานภาษีสำหรับการขายสินค้าหรือการให้บริการตามมาตรา 79 แห่ง
ประมวลรัษฎากร ไม่อยู่ในบังคับต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม ทั้งนี้ จากการตรวจสภาพกิจการและ
ตรวจปฏิบัติการคืนภาษีมูลค่าเพิ่มพบว่า เงินสนับสนุนที่บริษัทฯ ได้รับจากบริษัทแม่ที่ประเทศญี่ปุ่นนั้น เป็น
เงินสนับสนุนค่าใช้จ่ายในแผนกส่งเสริมการขายของบริษัทฯ ทั้งแผนกที่บริษัทฯ ได้จ่ายไปจริง เช่น ค่า
โฆษณาสินค้า ค่าใช้จ่ายสนับสนุนสำหรับโรงพยาบาล หรือนำสินค้าให้โรงพยาบาลใช้เป็นอาหารนมให้เด็ก
ดื่ม การวิจัยตลาด ค่าเงินเดือนและค่าใช้จ่ายสำหรับการเดินทางและเบี้ยเลี้ยงพนักงาน เป็นต้น เมื่อ
บริษัทฯ ได้จ่ายค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ดังกล่าวไป บริษัทฯ จะเรียกเก็บเงินจากบริษัทแม่ทุกเดือน โดยแจ้ง
เป็นจำนวนเงินตราต่างประเทศ และบริษัทแม่จะส่งเงินโดยการโอนเข้าบัญชีของบริษัทฯ บวกค่าบริการ
ร้อยละ 10 บวกภาษีมูลค่าเพิ่มร้อยละ 7 โดยทางบริษัทฯ ไม่มีภาระต้องชำระคืนในภายหลัง แนววินิจฉัย: ความตกลงพื้นฐานสำหรับกิจกรรมสนับสนุนการตลาดระหว่างบริษัท ม. ซึ่งเป็นบริษัทแม่ที่
ประเทศญี่ปุ่นและบริษัทฯ มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มยอดขายผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯ ในประเทศไทยโดยผ่าน
กิจกรรมด้านการตลาด โดยบริษัทแม่ที่ประเทศญี่ปุ่นจ่ายเงิน (ค่าธรรมเนียม)ให้แก่บริษัทฯ ในหลักการ
เพื่อชดเชยค่าใช้จ่ายการจัดกิจกรรมด้านการตลาดของบริษัทฯ ซึ่งเป็นการให้ความช่วยเหลือค่าใช้จ่าย
ด้านการตลาดแก่บริษัทฯ เพื่อจัดกิจกรรมด้านการตลาดของบริษัทฯ เอง จึงไม่อาจถือได้ว่าบริษัทแม่ที่
ประเทศญี่ปุ่นว่าจ้างบริษัทฯ จัดกิจกรรมด้านการตลาดให้แก่บริษัทแม่ที่ประเทศญี่ปุ่น ดังนั้น เงินสนับสนุน
ค่าใช้จ่ายส่งเสริมการขายที่บริษัทแม่ที่ประเทศญี่ปุ่นจ่ายให้แก่บริษัทฯ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มยอดขาย
ผลิตภัณฑ์และเป็นเงินชดเชยค่าใช้จ่ายการจัดกิจกรรมด้านการตลาดของบริษัทฯ ตามข้อเท็จจริง มิใช่
รายรับที่บริษัทฯ ได้รับจากการขายสินค้าหรือการให้บริการ จึงไม่เป็นมูลค่าของฐานภาษีสำหรับการขาย
สินค้าหรือการให้บริการตามมาตรา 79 แห่งประมวลรัษฎากร ไม่อยู่ในบังคับต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม เลขตู้: 67/33218