หัวข้อ วิจัยในชั้นเรียน วิชา แนะแนว ที่น่าสนใจ

ดังนั้น  การทำวิจัยน ตาม พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 24(5)  และมาตรา 30 ไม่ได้ยากอย่างที่คิด เราไปยึดติดกับวิจัย 5 บท ที่เรียนในระดับปริญญาโท  ปริญญาเอก ที่ใครๆ เขาว่ายากแต่เปล่าเลยง่ายจริงๆ ขอให้ลงมือทำท่านทำ วิจัยมากมาแล้วแต่ท่านยังไม่รู้จักตนเองว่าได้ทำเนื่องจากกลัวผิด

1

บทท่ี 1
บทนำ
ความเปน็ มาและความสำคัญของปัญหา
เจตนารมณ์ของแผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ. 2545-2559) ได้นำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
มาเป็นปรัชญาพื้นฐานในการกำหนดแผน โดยมีศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และธรรมชาติ บูรณาการ
เชื่อมโยงเป็นกระบวนโดยรวมท่ี "คน" เป็นศนู ยก์ ลางของการพฒั นา ซึง่ จะเปน็ การพฒั นาทีย่ งั่ ยืนมีดุลย
ภาพทั้งเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และสิ่งแวดล้อม และมุ่งไปสู่การอยู่ดีมีสุขของคนไทยทั้งปวง โดย
เจตนารมณ์ของแผนการศึกษาแห่งชาตินี้มุ่งพัฒนาชีวิตให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ
สติปัญญา ความรูแ้ ละคุณธรรม มจี รยิ ธรรม และวฒั นธรรมในการดำรงชวี ติ สามารถอยรู่ ว่ มกับผู้อื่นได้
อย่างมีความสุข คนมีความสุขนั้นเป็นคนที่มีสุขภาพดีทั้งกายและจิต เป็นคนร่ำเริงแจ่มใส ร่างกาย
แข็งแรง จิตใจเข้มแขง็ มีมนุษยสัมพันธ์ มีความรักต่อทุกสรรพสิ่ง มีอิสรภาพปลอดพ้นจากการตกเป็น
ทาสของอบายมุข ได้ทำในสิ่งที่ตนสนใจตามความต้องการ สามารถเรียนให้รู้ความจริง บรรลุความดี
ความงาม มีความภาคภูมิใจในความเป็นไทย และสามารถดำรงชีวิตพอเพียงร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้
อย่างมีดลุ ยภาพ (สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, 2544, หน้า 2-6)
การพัฒนาคนนั้นจำเป็นอย่างยิ่งต้องพัฒนาคนในองค์รวม ที่ประกอบด้วยมิติด้านร่างกาย
อารมณ์ สังคม สตปิ ญั ญา และจิตใจ หลักสตู รการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 เป็นหลักสูตรที่
ม่งุ พฒั นาคนไทยให้เปน็ มนุษยท์ ี่สมบูรณ์ เปน็ คนดี มีปัญญา มคี วามสุขและมีความเปน็ ไทย มีศักยภาพ
ในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ โดยมีมาตรฐานเป็นตัวกำกับในการพัฒนาผู้เรียนไปสู่เป้าหมาย
(สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา, 2549, หน้า 1) หลักสูตรสถานศึกษาจะสัมฤทธิ์ผลตาม
จุดหมายของหลักสูตรมากน้อยเพีขงใดนั้นขึ้นอยู่กับกระบวนการบริหารจัดการนำหลักสูตรไปใช้ การ
บริหารจัดการหลักสูตรตามแนวทางการปฏิรูปการศึกษาทุกส่วนของสั่งคมจะต้องวางแผนบริหาร
จัดการหลักสูตรให้เป็นรูปธรรมที่ช่วยให้ทราบแนวทางปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ที่สนับสนุนการใช้
หลักสูตรให้มีประสิทธิภาพ โดยมุ่งหวังให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่เป็นทั้งคนเก่ง คนดี และมีความสุข
(สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา, 2549, หน้า 23) คุณลักษณะทั้ง 3 ประการนี้ ควรจะเกิดใน
ตัวผู้เรียนพร้อม ๆ กัน เพราะต้องเป็นปัจจัยอิงอาศัยซึ่งกันและกัน มิได้เรียงลำดับก่อนหลัง
จะช่วยให้เกิดการเรียนรู้ที่ดีและมีประสิทธิภาพ (กรมสุขภาพจิต, 2541) สำหรับงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ด้านเก่ง และดีของผู้เรียนนั้น มีผู้วิจัยได้ศึกษามากมายหลากหลายเรื่อง ส่วนงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับ
คุณลักษณะด้านความสุขของผ้เู รียนน้นั มผี ู้วิจยั จำนวนนอ้ ยทสี่ นใจเก่ียวกบั เร่ืองน้ี ดงั น้ัน ผู้วิจัยจึงเห็น
ว่าคุณลักษณะด้านความสุขของผู้เรียนเป็นเรื่องสำคัญที่ควรต้องศึกษา ประกอบกับพระราชวรมุนี
(ประยูร ธมฺมจิดุโต) (2541) ได้กล่าวว่าความสุขสำคัญที่สุดในฐานะที่เป็นพื้นฐานของชีวิต ชีวิตที่มี
ความสุขถือว่าเป็นชีวิตที่สมหวัง นอกจากนี้ความสุขยังเป็นฐานของความเก่ง และความดี ถ้าทำอะไร
แล้วมีความสุขทุกคนจะทำสิ่งนั้นได้ดีขึ้น (กรมวิชาการ, 2541, หน้า 5) และพระธรรมปิฎก ป.อ.ปยุต

2

โต (2546, หน้า 24) ได้กล่าวอีกว่า ความสุขกับการศึกษาที่ถูกต้องเป็นเรื่องที่ไม่สามารถแยกกันได้
ถ้าไมส่ ามารถทำใหค้ นมีความสุข การศึกษาก็ไม่สามารถเกดิ ขนึ้ ได้ (กรมวชิ าการ, 2541, หนา้ 7)

การศึกษา และการจัดการเรียนรู้ในโรงเรียน ได้นำหลักการจิตวิทยาทเ่ี ข้ามาเป็นส่วนสำคัญใน
การจัดการเรียนการสอน ที่มีความสัมพันธ์ทางบวกแบบส่งเสริมซึ่งกันและกันมาโดยตลอด การใช้
จิตวิทยาเชิงบวกควบคู่กบั การใช้หลักจิตวิทยาอื่นๆ ในโรงเรียนและ การจัดการเรยี นการสอน จะช่วย
ส่งเสริมให้นักเรียนเรียนรู้ได้อย่างมีความสุข จึงก่อให้เกิดแนวคิดเรื่อง “Positive Education” ขึ้น
หมายถึงระบบการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นการพัฒนาทักษะความสามารถตามความชอบหรือความถนัดของ
นักเรยี นโดยใช้จิตวิทยาเชิงบวกเปน็ ตัวส่งเสริมโดยให้ความสำคญั กบั หลักการทางจติ วิทยา และการอยู่
ดมี ีสขุ ทางสงั คมของนักเรยี นเป็นหลัก

การเรียนวิชาแนะแนวในภาคเรียนที่ผ่านมาพบว่านักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 บางส่วนไม่
สนใจในการเรียน ชอบเล่นโทรศัพทม์ ือถือในขณะทีค่ รกู ำลังสอน พูดคุยหยอกล้อกันในเวลาเรียน เม่ือ
ครูตักเตือนนักเรียนที่ได้ยินจะเชื่อฟังและหยุดการสนทนาตั้งใจเรียนในขณะที่บางส่วนที่ไม่ได้ยินคำ
เตือนครูมักจะพดู คุยสนทนากนั อย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ครไู ม่สามารถความคุมห้องเรียนและจดั กิจกรรม
การเรียนรู้ต่อไปได้ ทั้งนี้สาเหตุส่วนหนึ่งอาจเนื่องมาจากความคับแคบของห้องแนะแนว นักเรียน
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีจำนวนมาก ทำให้การควบคุมห้องเรียนค่อนข้างลำบาก อีกทั้งครูยัง
สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนพบว่านักเรียนเริ่มเบื่อหน่ายกับการเรียนเพราะครูไม่มีกิจกรรมอะไรที่
ช่วยกระตุ้นความสนใจของนักเรียน ทำให้ครูเริ่มศึกษาค้นคว้าแอปพลิเคช่ันใหม่ๆ เพื่อนำมาใช้ในการ
จดั กิจกรรมการเรียนรู้ อันจะสง่ ผลใหผ้ เู้ รียนได้เรยี นรู้อยา่ งมคี วามสุขและมีประสทิ ธิภาพ

จากปญั หาดังกล่าวผู้วจิ ัยในฐานะครผู ู้สอนจงึ มีความสนใจทีจ่ ะนำแอปพลิเคชัน class123 มา
ใช้ในกิจกรรมการเรียนการสอน เพราะเป็นแอปพลิเคชันที่ใช้งานง่าย ไม่จำเป็นที่จะต้องโหลดแอป
พลิเคชัน หากใช้กับคอมพิวเตอร์โดยทั่วไป มีความความน่าสนใจ สามารถกระตุ้นความสนใจ ส่งเสริม
พฤตกิ รรมทีพ่ งึ ประสงค์ และควบคมุ พฤติกรรมที่ไมพ่ ึงประสงคข์ องผูเ้ รยี นได้

วัตถปุ ระสงค์ของการวิจัย
1. เพอ่ื สำรวจความพึงพอใจของนักเรยี นระดับชนั้ ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 1 ปีการศึกษา

2563 โรงเรยี นเบญจมานุสรณ์ จงั หวดั จันทบุรี ทมี่ ีต่อการเรยี นวชิ าแนะแนว โดยการใชแ้ อปพลิเคชนั
Class123

2. เพื่อเสริมสรา้ งแรงจูงใจในการเรยี นวิชาแนะแนว
สมมติฐานการวิจยั

นกั เรียนระดบั ช้นั ระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนเบญจมานสุ รณ์
จังหวดั จนั ทบรุ ี จำนวน 303 คน มแี รงจูงใจต่อการเรียนวชิ าแนะแนว โดยการใช้แอปพลิเคชนั
Class123

3

ขอบเขตของการวจิ ัย

1. กลุม่ เปา้ หมายในการวจิ ัยในชัน้ เรียน

นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 303 คน โรงเรียนเบญจมานุสรณ์ จังหวัดจันทบุรี
อำเภอเมอื ง จงั หวัดจันทบุรี ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563

2. ระยะเวลา ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563

3. ตวั แปรที่ศกึ ษา

ตวั แปรตน้ คือ แอปพลิเคชัน Class123

ตัวแปรตาม คอื แรงจูงใจในการเรยี นวชิ าแนะแนว

นยิ ามศัพท์ทีใ่ ช้ในการวจิ ัย

1. นักเรียน หมายถึง นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาที่ 1 ที่กำลังศึกษาอยู่ในโรงเรียน
เบญจมานุสรณ์ จงั หวัดจันทบรุ ี ในภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563

2. โรงเรยี น หมายถงึ โรงเรียนเบญจมานุสรณ์ จงั หวัดจันทบุรี
3. แรงจูงใจ หมายถึง ความชอบ ความพึงพอใจ ความปรารถนาท่ีจะเรียนวิชาแนะแนว
โดยการใช้แอปพลิเคชนั Class123 ของนักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเบญจมานสุ รณ์ จังหวัด
จนั ทบรุ ี
4. แอปพลิเคชัน Class123 หมายถึง แอปพลิเคชันที่นำมาใช้ในการบริหารจัดการห้องเรียน
วิชาแนะแนว ให้กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเบญจมานุสรณ์ จังหวัดจันทบุรี
ประโยชน์ทไี่ ดร้ บั
1. นักเรียนไดเ้ รียนรอู้ ยา่ งมคี วามสขุ ในรายวิชาแนะแนว
2. ครูได้ทราบความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการใช้แอปพลิเคชัน class123 ในการจัด
กจิ กรรมการเรียนรู้ในรายวชิ าแนะแนว ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 ปีการศกึ ษา 2563
3. ผู้บริหารได้ทราบความพึงพอใจของนกั เรียนมีต่อการใชแ้ อปพลิเคชัน class123 ในการจดั
กิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาแนะแนว เพื่อจะได้ใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนบูรณาการแอปพลิเคชนั
class123 กับรายวิชาอน่ื ตอ่ ไป

4

บทที่ 2
เอกสารและงานวิจยั ทเ่ี กยี่ วข้อง
การศึกษาวิจัยเรื่อง การเสริมสร้างแรงจูงใจในการเรียนวิชาแนะแนวด้วยแอปพลิเคชัน
Class123 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนเบญจมานุสรณ์ จังหวัดจันทบุรี
ผู้ศกึ ษาได้ทบทวนเอกสารและวรรณกรรมที่เกีย่ วข้องดังรายละเอยี ดต่อไปนี้

1. ความหมายของความพงึ พอใจ แนวคดิ และทฤษฎเี กยี่ วกบั ความพงึ พอใจ
2. ความรู้เบ้อื งตน้ เกีย่ วกับแอปพลิเคชัน class123
3. งานวจิ ยั ทีเ่ กีย่ วข้อง
ความหมายของความพึงพอใจ แนวคดิ และทฤษฎีเกีย่ วกบั ความพงึ พอใจ
ความหมายของความพงึ พอใจ
ความพึงพอใจ (Satisfaction) ได้มีผู้ให้ความหมายของความพึงพอใจไว้หลายความหมาย
ดงั น้ี
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน (2542) ได้ให้ความหมายของความพึงพอใจไว้ว่า พึงพอใจ
หมายถึง รัก ชอบใจ และพึงใจ หมายถึง พอใจ ชอบใจ ดิเรก (2528) กล่าวว่า ความพึงพอใจ
หมายถงึ ทศั นคติทางบวกของบุคคลทีม่ ีต่อส่งิ ใดส่ิงหนึ่ง เป็นความรูส้ กึ หรือทัศนคติที่ดีต่องานท่ีทำของ
บุคคลที่มีตอ่ งานในทางบวก ความสุขของบุคคลอันเกิดจากการปฏบิ ัติงานและไดร้ ับผลเป็นที่พึงพอใจ
ทำให้บุคคลเกิดความกระตือรือร้น มีความสุข ความมุ่งมั่นที่จะทำงาน มีขวัญและมีกำลังใจ มีความ
ผูกพันกับหน่วยงาน มีความภาคภูมิใจในความสำเร็จของงานที่ทำ และสิ่งเหล่านี้จะส่งผลต่อ
ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการทำงานสง่ ผลต่อถงึ ความก้าวหนา้ และความสำเรจ็ ขององค์การ
อกี ดว้ ย

วิรุฬ (2542) กล่าวว่า ความพึงพอใจเป็นความรู้สึกภายในจิตใจของมนุษย์ที่ไม่เหมือนกัน
ขึ้นอยู่กับแตล่ ะบุคคลว่าจะมคี วามคาดหมายกับสิง่ หนึ่งสิ่งใดอย่างไร ถ้าคาดหวังหรอื มีความตั้งใจมาก
และได้รับการตอบสนองด้วยดีจะมีความพึงพอใจมากแต่ในทางตรงกันข้ามอาจผดิ หวังหรือไม่พึงพอใจ
เปน็ อยา่ งย่งิ เมือ่ ไม่ไดร้ บั การตอบสนองตามท่ีคาดหวงั ไว้ทง้ั น้ีข้นึ อยู่กบั สิง่ ท่ีตั้งใจไวว้ ่าจะมีมากหรือน้อย
สอดคล้องกบั ฉตั รชยั (2535) กลา่ วว่า ความพึงพอใจหมายถงึ ความรู้สึกหรือทัศนคติของบุคคลที่มีต่อ
สิ่งหนึ่งหรือปัจจัยต่างๆที่เกี่ยวข้อง ความรู้สึกพอใจจะเกิดขึ้นเมื่อความต้องการของบุคคลได้รับการ
ตอบสนองหรือบรรลุจุดมุ่งหมายในระดับหนึ่ง ความรู้สึกดังกล่าวจะลดลงหรือไม่เกิดขึ้น หากความ
ตอ้ งการหรอื จดุ มงุ่ หมายนนั้ ไม่ได้รบั การตอบสนอง

กิตติมา (2529) กล่าวว่า ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกชอบหรือพอใจที่มีต่อ
องคป์ ระกอบและสง่ิ จูงใจในด้านต่างๆเมื่อไดร้ บั การตอบสนอง

5

กาญจนา (2546) กล่าวว่า ความพึงพอใจของมนุษย์เป็นการแสดงออกทางพฤติกรรมที่เป็น
นามธรรม ไม่สามารถมองเห็นเป็นรูปร่างได้ การที่เราจะทราบว่าบุคคลมีความพึงพอใจหรือไม่
สามารถสังเกตโดยการ แสดงออกที่ค่อนข้างสลับซับซ้อนและต้องมีสิ่งเร้าที่ตรงต่อความต้องการของ
บุคคล จึงจะทำให้บุคคลเกดิ ความพึงพอใจ ดังนั้นการสิ่งเร้าจึงเป็นแรงจูงใจของบุคคลนั้นให้เกดิ ความ
พึงพอใจในงานนนั้

นภารัตน์ (2544) กล่าวว่า ความพึงพอใจเป็นความรู้สึกทางบวกความรู้สึกทางลบและ
ความสขุ ท่มี คี วามสมั พันธ์กนั อยา่ งซบั ซ้อน โดยความพึงพอใจจะเกิดขึ้นเม่ือความร้สู ึกทางบวกมากกว่า
ทางลบ

เทพพนม และสวิง (2540) กล่าวว่า ความพึงพอใจเป็นภาวะของความพึงใจหรือภาวะที่มี
อารมณใ์ นทางบวกทีเ่ กดิ ขึ้น เน่ืองจากการประเมินประสบการณข์ องคนๆหนึ่ง สง่ิ ทข่ี าดหายไประหว่าง
การเสนอให้กบั สง่ิ ทีไ่ ดร้ บั จะเป็นรากฐานของการพอใจและไม่พอใจได้

สงา่ (2540) กล่าวว่า ความพงึ พอใจ หมายถงึ ความรูส้ ึกท่ีเกิดขน้ึ เม่ือได้รับผลสำเร็จตามความ
มุ่งหมายหรอื เปน็ ความรูส้ ึกขัน้ สุดทา้ ยที่ไดร้ ับผลสำเร็จตามวตั ถุประสงค์

จากการตรวจเอกสารข้างต้นสรุปไดว้ ่า ความพึงพอใจ หมายถงึ ความร้สู ึกท่ีดีหรือทัศนคติที่ดี
ของบุคคล ซึ่งมักเกิดจากการได้รับการตอบสนองตามที่ตนต้องการ ก็จะเกิดความรู้สึกที่ดีต่อสิ่งนั้น
ตรงกันข้ามหากความต้องการของตนไม่ไดร้ บั การตอบสนองความไม่พงึ พอใจกจ็ ะเกิดข้นึ

แนวคดิ ทฤษฎีเก่ียวกับความพงึ พอใจ

Shelly อ้างโดย ประกายดาว (2536) ได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับความพึงพอใจ ว่าความพึง
พอใจเป็นความรู้สึกสองแบบของมนุษย์ คือ ความรู้สึกทางบวกและความรู้สึกทางลบ ความรู้สึก
ทางบวกเป็นความรู้สึกที่เกิดขึ้นแล้วจะทำให้เกิดความสุข ความสุขนี้เป็นความรู้สึกที่แตกต่างจาก
ความรู้สึกทางบวกอื่นๆ กล่าวคือ เป็นความรู้สึกที่มีระบบย้อนกลับความสุขสามารถทำให้เกิด
ความรู้สึกทางบวกเพิ่มขึน้ ได้อกี ดงั นนั้ จะเห็นไดว้ า่ ความสุขเป็นความรู้สึกที่สลบั ซบั ซ้อนและความสุขน้ี
จะมีผลต่อบุคคลมากกว่าความรู้สึกในทางบวกอื่นๆ ขณะที่วิชัย (2531) กล่าวว่า แนวคิดความพึง
พอใจ มีส่วนเกีย่ วข้องกับความตอ้ งการของมนษุ ย์ กล่าวคือ ความพึงพอใจจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อความ
ต้องการของมนุษย์ได้รับการตอบสนอง ซึ่งมนุษย์ไม่ว่าอยู่ในที่ใดย่อมมีความต้องการขั้นพื้นฐานไม่
ต่างกนั

พิทักษ์ (2538) กล่าวว่า ความพึงพอใจเป็นปฏกิ ิริยาด้านความรูส้ กึ ต่อสิ่งเร้าหรอื ส่ิงกระตนุ้
ที่แสดงผลออกมาในลักษณะของผลลัพธ์สุดท้ายของกระบวนการประเมิน โดยบ่งบอกทิศทางของผล

6

การประเมินว่าเป็นไปในลกั ษณะทศิ ทางบวกหรือทิศทางลบหรอื ไม่มปี ฏิกิรยิ าคือเฉยๆ ต่อส่ิงเร้าหรือสิ่ง
ทม่ี ากระตนุ้

สุเทพ (2541) ได้สรุปว่า สิ่งจูงใจที่ใช้เป็นเครื่องมือกระตุ้นให้บุคคลเกิดความพึงพอใจ มี
ดว้ ยกนั 4 ประการ คอื

1. สิ่งจูงใจที่เป็นวัตถุ (material inducement) ได้แก่ เงิน สิ่งของ หรือสภาวะทางกายท่ี
ใหแ้ ก่ผูป้ ระกอบกจิ กรรมตา่ งๆ

2. สภาพทางกายที่พึงปรารถนา (desirable physical condition ) คือ สิ่งแวดล้อมในการ
ประกอบกจิ กรรมต่างๆ ซงึ่ เป็นสง่ิ สำคญั อย่างหนึง่ อนั ก่อให้เกิดความสุขทางกาย

3. ผลประโยชน์ทางอุดมคติ (ideal benefaction) หมายถึง สิ่งต่างๆที่สนองความต้องการ
ของบคุ คล

4. ผลประโยชน์ทางสังคม (association attractiveness) หมายถึง ความสัมพันธ์ฉันท์มิตร
กับผู้ร่วมกิจกรรม อันจะทำให้เกิดความผูกพัน ความพึงพอใจและสภาพการร่วมกัน อันเป็นความพึง
พอใจของบุคคลในด้านสังคมหรือความมั่นคงในสังคม ซึ่งจะทำให้รูส้ ึกมีหลกั ประกันและมีความมัน่ คง
ในการประกอบกิจกรรม

ขณะที่ ปรียากร (2535) ได้มีการสรุปว่า ปัจจัยหรือองค์ประกอบที่ใช้เป็นเครื่องมือบ่งชี้ถึง
ปัญหาทเ่ี ก่ียวกบั ความพงึ พอใจในการทำงานนัน้ มี 3 ประการ คอื

1. ปัจจัยด้านบุคคล (personal factors) หมายถึง คุณลักษณะส่วนตัวของบุคคลที่เกี่ยวข้อง
กับงาน ได้แก่ ประสบการณ์ในการทำงาน เพศ จำนวนสมาชิกในความรับผิดชอบ อายุ เวลาในการ
ทำงาน การศึกษา เงินเดือน ความสนใจ เปน็ ต้น

2. ปัจจัยด้านงาน (factor in the Job) ได้แก่ ลักษณะของงาน ทักษะในการทำงาน ฐานะ
ทางวิชาชีพ ขนาดของหน่วยงาน ความห่างไกลของบ้านและที่ทำงาน สภาพทางภูมิศาสตร์ เป็นต้น

3. ปัจจัยด้านการจัดการ (factors controllable by management) ได้แก่ ความมั่นคงใน
งาน รายรบั ผลประโยชน์ โอกาสกา้ วหนา้ อำนาจตามตำแหนง่ หน้าท่ี สภาพการทำงาน เพอื่ นรว่ มงาน
ความรับผิด การสื่อสารกับผู้บังคับบัญชา ความศรัทธาในตัวผู้บริหาร การนิเทศงาน เป็นต้น

Kotler and Armstrong (2002) รายงานว่า พฤติกรรมของมนุษย์เกิดขึ้นต้องมีสิ่งจูงใจ
(motive) หรือแรงขับดัน (drive) เป็นความต้องการที่กดดันจนมากพอที่จะจูงใจให้บุคคลเกิด
พฤติกรรมเพื่อตอบสนองความต้องการของตนเอง ซ่งึ ความตอ้ งการของแต่ละคนไมเ่ หมือนกัน ความ
ต้องการบางอย่างเป็นความตอ้ งการทางชวี วิทยา(biological) เกิดขึ้นจากสภาวะตงึ เครยี ด เช่น ความ
หิวกระหายหรือความลำบากบางอย่าง เป็นความต้องการทางจิตวิทยา (psychological) เกิดจาก
ความต้องการการยอมรับ (recognition) การยกย่อง (esteem) หรือการเป็นเจ้าของทรัพย์สิน
(belonging) ความต้องการส่วนใหญ่อาจไม่มากพอที่จะจูงใจให้บุคคลกระทำในช่วงเวลานั้น ความ

7

ต้องการกลายเป็นส่ิงจูงใจ เมือ่ ไดร้ ับการกระตุ้นอย่างเพียงพอจนเกิดความตึงเครยี ด โดยทฤษฎีที่ได้รับ
ความนิยมมากท่สี ุด มี 2 ทฤษฎี คอื ทฤษฎขี องอบั ราฮมั มาสโลว์ และทฤษฎีของซิกมนั ด์ ฟรอยด์

1. ทฤษฎแี รงจงู ใจของมาสโลว์ (Maslow’s theory motivation)
อับราฮัม มาสโลว์ (A.H.Maslow) ค้นหาวธิ ที ี่จะอธบิ ายว่าทำไมคนจึงถูกผลักดันโดยความ
ตอ้ งการบางอย่าง ณ เวลาหนึ่ง ทำไมคนหนึ่งจึงทุ่มเทเวลาและพลงั งานอยา่ งมากเพ่ือใหไ้ ด้มาซึ่งความ
ปลอดภยั ของตนเองแต่อีกคนหน่งึ กลบั ทำสงิ่ เหล่าน้ัน เพ่ือให้ได้รบั การยกย่องนับถือจากผอู้ ่นื คำตอบ
ของมาสโลว์ คอื ความต้องการของมนุษยจ์ ะถูกเรียงตามลำดบั จากสิ่งที่กดดันมากท่ีสดุ ไปถึงน้อยท่ีสดุ
ทฤษฎขี องมาสโลวไ์ ด้จัดลำดับความตอ้ งการตามความสำคัญ คอื

1.1 ความตอ้ งการทางกาย (physiological needs) เปน็ ความต้องการพนื้ ฐาน คือ
อาหาร ท่พี ัก อากาศ ยารกั ษาโรค

1.2 ความตอ้ งการความปลอดภัย (safety needs) เป็นความต้องการท่เี หนือกวา่
ความตอ้ งการเพอ่ื ความอยู่รอด เปน็ ความต้องการในดา้ นความปลอดภยั จากอันตราย

1.3 ความต้องการทางสังคม (social needs) เปน็ การตอ้ งการการยอมรับจากเพอ่ื น
1.4 ความตอ้ งการการยกย่อง (esteem needs) เปน็ ความต้องการการยกย่อง
ส่วนตวั ความนบั ถอื
1.5 ความต้องการใหต้ นประสบความสำเร็จ (self – actualization needs) เป็น
ความต้องการสูงสดุ ของแตล่ ะบุคคล
ความตอ้ งการทำทกุ ส่งิ ทุกอยา่ งได้สำเร็จบคุ คลพยายามที่สร้างความพึงพอใจให้กับความ
ต้องการทส่ี ำคัญท่สี ดุ เปน็ อนั ดับแรกก่อนเมื่อความต้องการนั้นไดร้ ับความพงึ พอใจ ความต้องการนั้นก็
จะหมดลง และเป็นตัวกระตุ้นให้บุคคลพยายามสร้างความพึงพอใจให้กับความตอ้ งการท่ีสำคญั ทีส่ ุด
ลำดับตอ่ ไป ตัวอยา่ ง เช่น คนท่อี ดอยาก (ความต้องการทางกาย) จะไมส่ นใจต่องานศิลปะชน้ิ ล่าสุด
(ความต้องการสงู สดุ ) หรอื ไม่ตอ้ งการการยกย่องจากผูอ้ ่นื หรือไมต่ ้องการแม้แตอ่ ากาศท่ีบริสุทธิ์
(ความปลอดภัย) แตเ่ มื่อความตอ้ งการแต่ละขนั้ ไดร้ บั ความพงึ พอใจแลว้ กจ็ ะมีความต้องการในขน้ั
ลำดับต่อไป
2. ทฤษฎีแรงจูงใจของฟรอยด์
ซิกมนั ด์ ฟรอยด์ ( S. M. Freud) ต้งั สมมุติฐานวา่ บุคคลมักไม่รูต้ วั มากนักวา่ พลังทางจิตวิทยา
มีส่วนชว่ ยสร้างให้เกดิ พฤติกรรม ฟรอยด์พบวา่ บุคคลเพิ่มและควบคมุ สงิ่ เร้าหลายอยา่ ง ส่ิงเร้าเหล่านี้
อย่นู อกเหนอื การควบคุมอย่างส้นิ เชิง บุคคลจึงมคี วามฝัน พูดคำท่ไี ม่ตง้ั ใจพูด มีอารมณ์อยเู่ หนอื
เหตุผลและมีพฤติกรรมหลอกหลอนหรอื เกิดอาการวิตกจรติ อย่างมาก ขณะท่ี ชาริณี (2535) ได้เสนอ
ทฤษฎีการแสวงหาความพึงพอใจไวว้ า่ บคุ คลพอใจจะกระทำสิ่งใดๆที่ใหม้ คี วามสุขและจะหลีกเลีย่ งไม่
กระทำในส่งิ ทเี่ ขาจะได้รบั ความทุกขห์ รือความยากลำบาก โดยอาจแบ่งประเภทความพอใจกรณนี ี้ได้ 3
ประเภท คอื

8

1. ความพอใจดา้ นจติ วิทยา (psychological hedonism) เปน็ ทรรศนะของความพงึ พอใจว่า
มนุษยโ์ ดยธรรมชาติจะมีความแสวงหาความสุขสว่ นตัวหรือหลกี เลี่ยงจากความทุกข์ใดๆ

2. ความพอใจเกย่ี วกบั ตนเอง (egoistic hedonism) เปน็ ทรรศนะของความพอใจวา่ มนุษย์
จะพยายามแสวงหาความสุขสว่ นตวั แต่ไมจ่ ำเป็นวา่ การแสวงหาความสุขต้องเปน็ ธรรมชาตขิ องมนุษย์
เสมอไป

3. ความพอใจเก่ยี วกับจรยิ ธรรม (ethical hedonism) ทรรศนะน้ีถือว่ามนุษยแ์ สวงหา
ความสุข เพ่ือผลประโยชนข์ องมวลมนษุ ย์หรือสังคมทต่ี นเป็นสมาชกิ อยูแ่ ละเปน็ ผ้ไู ดร้ บั ผลประโยชน์ผู้
หน่ึงด้วย
ความรูเ้ บือ้ งต้นเก่ยี วกับแอปพลเิ คชนั class123

Class123 เป็นแอปพลเิ คชันทช่ี ่วยในการจดั การช้นั เรียน ดงึ ความสนใจของนักเรยี น เช็ค
คะแนนเชค็ การสง่ งาน เช็คเวลาเรยี น เพม่ิ ลดคะแนนพฤติกรรมของนักเรยี นได้ทันที

1. แอปพลเิ คชนั น้ีสามารถทำอะไรไดบ้ า้ ง
กำหนดห้องเรียนได้ ใสช่ ือ่ และกำหนดรูปแทนตัวนักเรยี นแต่ละคน นบั เวลาถอยหลัง สมุ่
เรยี กนกั เรยี นคนเดยี วหรือเป็นกล่มุ จัดผงั ที่น่ัง บนั ทึกการส่งงานได้หลายรูปแบบ สามารถกำหนด
คะแนนรายบุคคลได้วา่ จะมีคะแนนอะไรให้บ้าง เช่น การมีส่วนรว่ ม การตอบคำถาม สง่ งานตรงเวลา
เป็นตน้ ซง่ึ แต่ละคะแนนจะระบุไดเ้ ลยวา่ เกดิ จากพฤติกรรมอะไร ส่งรายงานรายบุคคลถึงผู้ปกครองได้
ทันที เมอ่ื คะแนนทัง้ ห้องรวมกนั 10 คะแนน จะได้ไข่ทองคำ 1 ใบ มกี ารหักคะแนนนักเรียนเมือ่ มี
พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ และมีตวั ช่วยเรียกความสนใจ คือ เสียงไก่ขัน เสยี งกร่งิ และUFO

2. ข้อดขี องแอปพลเิ คชัน class123
- บนั ทกึ คะแนนรายพฤติกรรม เห็นผลทันทีและมีหลกั ฐาน
- ภาพกราฟฟิกในเวบ็ ไซตน์ ่ารัก สามารถดึงดูดนกั เรยี นความสนใจของนักเรยี นได้ใน

ระดับหน่ึง
- ลกู เล่นในแอปพลิเคชัน เยอะ

3. ขอ้ เสยี ของแอปพลิเคชนั class123
- ตอ้ งมหี น้าจอและอนิ เทอรเ์ นต็ ในหอ้ งเรยี น
- เหมาะสำหรับนกั เรยี นชัน้ มธั ยมศึกษาตอนต้น ไม่เหมาะกบั นักเรียนชั้นมัธยมศึกษา

ตอนปลาย
- มหี ลายเมนูทร่ี สู้ ึกยงั ใชง้ านยาก เชน่ การจัดผังทน่ี ่ัง การกำหนด target จำนวนไข่

แต่ละคาบ

9

งานวิจัยทเ่ี ก่ียวขอ้ ง

กัญญารัตน์ อาโรโจ (2563,บทคัดย่อ) เรื่อง การเสริมสร้างแรงจูงใจในการเรียนวิชา
ภาษาไทยด้วยสื่อนวัตกรรมออนไลน์ (Class123) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดย ผลการวิจัยพบว่า
ดา้ นครูผูส้ อนสามารถใช้สื่อนวตั กรรมออนไลน์ (Class 123) เพื่อการจดั การเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียน
เป็นสำคัญได้ดียิ่งขึ้น ครูมีตัวช่วยในการดึงดูดความสนใจให้ผู้เรียน ด้านผู้เรียนจากการทำ
แบบสอบถามผลปรากฏว่า ผู้เรียนมีความสนุกสนานจากการเรียนโดยการใช้สื่อนวัตกรรมออนไลน์
(Class 123) ที่สามารถแบ่งกลุ่มนักเรียน สุ่มตอบคำถาม และมีการเก็บคะแนนจากการตอบคำถาม
โดยใช้โปรมแกรมที่มีสีสันสวยงาม มีการ์ตูน ที่สามารถดึงดูดและสร้างแรงจูงใจในการเรียนภาษาไทย
อยใู่ นระดบั ดีมาก

10

บทท่ี 3
วธิ ีดำเนนิ การวจิ ยั
การศึกษาวิจัยเรื่องการเสริมสร้างแรงจูงใจในการเรียนวิชาแนะแนวด้วยแอปพลิเคชัน
Class123 ระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 ปีการศกึ ษา 2563 โรงเรียนเบญจมานุสรณ์ จงั หวดั จนั ทบุรี เป็น
การวิจัยเชงิ ทดลอง ผูว้ จิ ัยได้กำหนดวธิ กี ารดำเนินการวจิ ัยดังน้ี
กล่มุ เป้าหมาย
นักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 1 จำนวน 303 คน โรงเรียนเบญจมานสุ รณ์ จงั หวัดจนั ทบุรี
อำเภอเมืองจนั ทบุรี จงั หวัดจนั ทบุรี ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563
เครือ่ งมือทใ่ี ชใ้ นการวจิ ัย
1. แอปพลเิ คชนั Class123
2. สำรวจความพงึ พอใจของนักเรยี นระดบั ชน้ั ระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 ปีการศึกษา 2563
โรงเรยี นเบญจมานสุ รณ์ จังหวดั จันทบุรี ท่มี ตี ่อการเรียนวชิ าแนะแนว โดยการใชแ้ อปพลเิ คชนั
Class123
ขั้นตอนการสรา้ งและหาคุณภาพเครื่องมือที่ใชใ้ นการวิจัย
1. วิเคราะห์หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 และหลักสูตร
สถานศึกษา กิจกรรมพฒั นาผู้เรียน กิจกรรมแนะแนว
2. ศกึ ษาเอกสาร แนวคดิ และเอกสารงานวิจัยท่เี กี่ยวกับวิธสี อน การใชแ้ อปพลเิ คชัน
Class123
3. ออกแบบกจิ กรรมการเรยี นรใู้ นรายวชิ าแนะแนว โดยการใช้แอปพลเิ คชนั Class123
4. นำกจิ กรรมการเรยี นรู้ทไ่ี ด้ออกแบบไว้ไปใชใ้ นการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้

5. สรา้ งแบบสอบถามและนำแบบสอบถามทสี่ รา้ งเสร็จแลว้ ไปให้ผู้ท่มี ีความเชยี่ วชาญด้านงาน

แนะแนววเิ คราะห์ข้อคำถามว่ามคี วามสอดคล้องกบั วยั ของผู้เรยี น และวตั ถปุ ระสงค์ของการวิจัย

การเก็บรวบรวมข้อมูล
การวจิ ยั ในครั้งนใ้ี ช้เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมลู คือ แบบสำรวจความพงึ พอใจของ

นักเรยี นระดบั ชั้นระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 ปีการศึกษา 2563 โรงเรยี นเบญจมานุสรณ์ จงั หวัด
จันทบุรี ท่ีมีต่อการเรยี นวิชาแนะแนว โดยการใชแ้ อปพลิเคชัน Class123 โดยสำรวจความพึงพอใจ
ของนักเรยี นในรปู แบบออนไลนผ์ ่าน google form ซงึ่ เปน็ แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณคา่
5 ระดบั ของ ลเิ คริ ท์ (Likert. 1976 : 247) โดยกำหนดคา่ นำ้ หนักคะแนน ดงั นี้

5 หมายถึง พงึ พอใจอยู่ในระดบั มากท่สี ดุ
4 หมายถงึ พึงพอใจอยู่ในระดับมาก
3 หมายถึง พึงพอใจอยู่ในระดับปานกลาง
2 หมายถึง พึงพอใจอยู่ในระดับน้อย
1 หมายถงึ พึงพอใจอยู่ในระดับน้อยท่สี ดุ

11

การวเิ คราะห์ขอ้ มูล
วเิ คราะหร์ ะดบั ความพงึ พอใจตอ่ ความพงึ พอใจของนกั เรียนระดับชัน้ ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปี

ที่ 1 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนเบญจมานุสรณ์ จงั หวัดจันทบรุ ี ท่มี ตี ่อการเรียนวิชาแนะแนว โดยการ
ใช้แอปพลิเคชัน Class123 โดยการหาคา่ เฉลย่ี (  ) และนำค่าเฉลีย่ ไปเปรยี บเทยี บกบั เกณฑใ์ นการ
แปลความหมายเป็นช่วงคะแนนดังน้ี (บญุ ชม ศรีสะอาด. 2554 : 121) ดังนี้

ค่าเฉล่ยี 4.51 – 5.00 หมายถึง พงึ พอใจอยูใ่ นระดบั มากท่สี ุด
ค่าเฉลีย่ 3.51 – 4.50 หมายถึง พึงพอใจอยู่ในระดับมาก
คา่ เฉลี่ย 2.51 – 3.50 หมายถึง พงึ พอใจอยใู่ นระดับปานกลาง
คา่ เฉลี่ย 1.51 – 2.50 หมายถึง พงึ พอใจอยู่ในระดับนอ้ ย
ค่าเฉลีย่ 1.00 – 1.50 หมายถงึ พงึ พอใจอยใู่ นระดับน้อยทีส่ ุด
สถิตทิ ใ่ี ช้ในการวิเคราะหข์ ้อมูล
สถติ พิ ืน้ ฐาน
1. คา่ ร้อยละ (%)
2. คา่ เฉลยี่ เลขคณติ (  )

12

บทท่ี 4
ผลการวิจยั
การวจิ ยั คร้ังนม้ี ่งุ สำรวจความพงึ พอใจของนักเรียนระดับชั้นระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 1 ปี
การศึกษา 2563 โรงเรยี นเบญจมานุสรณ์ จงั หวัดจันทบรุ ี ท่ีมตี ่อการเรียนวชิ าแนะแนว โดยการใช้
แอปพลิเคชนั Class123 ผ้วู ิจยั ไดน้ ำเสนอผลการวิจัยดังต่อไปนี้
1. สญั ลักษณ์ท่ใี ช้ในการวเิ คราะห์ขอ้ มลู
2. การนำเสนอผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู
3. ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู
สญั ลกั ษณ์ทีใ่ ช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล

 แทน ค่าเฉลีย่

 แทน จำนวนประชากร

13

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนระดับชั้นระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา

2563 โรงเรียนเบญจมานุสรณ์ จังหวัดจันทบุรี ที่มีต่อการเรียนวิชาแนะแนว โดยการใช้แอปพลิเคชัน
Class123

ตาราง คะแนนเฉลี่ย ระดับ และอันดบั ความพึงพอใจของนักเรยี นระดบั ชน้ั ระดับชนั้
มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนเบญจมานุสรณ์ จังหวดั จนั ทบุรี ท่มี ีต่อการเรยี นวชิ า
แนะแนว โดยการใชแ้ อปพลิเคชัน Class123 คะแนนเฉลี่ย ระดบั และอนั ดบั ความพึงพอใจกจิ กรรม
เสน้ ทางส่มู หาวิทยาลัย โดยรวม และรายด้าน

ความพึงพอใจของนกั เรยี นระดบั ชน้ั  N = 150 อันดับ
ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 1 ระดบั
4.24
ปกี ารศึกษา 2563 โรงเรียนเบญจมานุสรณ์ 4.21 มาก 2
จังหวดั จนั ทบุรี ท่มี ตี อ่ การเรยี นวิชาแนะแนว 4.20 มาก 3
4.11 มาก 4
โดยการใชแ้ อปพลเิ คชนั Class123 4.09 มาก 6
4.21 มาก 7
1. Class123 สามารถควบคุมนักเรียน 4.27 มาก 3
ทงั้ หอ้ งให้ต้ังในเรียนได้ มาก 1
2. ตัวแอปพลิเคชันมีสีสันสวยงาม 4.18
น่าสนใจ มตี วั อวตารใหเ้ ลือก 4.19 มาก 5
3. ใช้สุ่มนักเรียนเพื่อนำเสนองาน และ มาก
จดั กลุ่มนกั เรยี นได้
4. จบั เวลาในการทำงาน ทำให้
นกั เรียนทำงานรวดเรว็ ขนึ้
5. ควบคมุ นกั เรยี นให้อยใู่ นความสงบ
เรียบรอ้ ย
6. เพมิ่ คะแนนและลดคะแนนใหก้ บั
นักเรยี นได้
7. นักเรยี นทุกคนพยายามต้งั ใจเรียน
เพ่อื เพมิ่ คะแนนให้กับห้องเรียนของ
ตนเอง
8. มีตัวชว่ ยเรยี กความสนใจ คอื เสยี ง
ไกข่ ัน เสียงกระด่ิง และ UFO

รวม

14

จากตาราง พบว่าความพึงพอใจของนักเรียนระดับชั้นระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนเบญจมานุสรณ์ จังหวัดจันทบุรี ที่มีต่อการเรียนวิชาแนะแนวโดยการ
ใช้แอปพลิเคชัน Class123 อยู่ในระดับมาก เรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ได้แก่ นักเรียน
ทุกคนพยายามตั้งใจเรียน เพื่อเพิ่มคะแนนให้กับห้องเรียนของตนเอง (4.27) Class123 สามารถ
ควบคุมนักเรียนทั้งห้องให้ตั้งในเรียนได้ (4.24) ตัวแอปพลิเคชันมีสีสันสวยงามน่าสนใจ มีตัวอวตารให้
เลือก (4.21) เพิ่มคะแนนและลดคะแนนให้กบั นักเรียนได้ (4.21) ใช้สุ่มนักเรียนเพื่อนำเสนองาน และ
จัดกลุ่มนักเรียนได้ (4.20) มีตัวช่วยเรียกความสนใจ คือเสียงไก่ขัน เสียงกระดิ่ง และ UFO (4.18)
จับเวลาในการทำงาน ทำให้นักเรียนทำงานรวดเร็วขึ้น (4.11) และควบคุมนักเรียนใหอ้ ยู่ในความสงบ
เรียบร้อย (4.09) ตามลำดับ

15

บทท่ี 5
สรปุ อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
การวิจัยครั้งนี้มุ่งสำรวจความพึงพอใจของนักเรียนระดับชั้นระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ปี
การศึกษา 2563 โรงเรยี นเบญจมานุสรณ์ จงั หวดั จนั ทบุรี ที่มีต่อการเรียนวิชาแนะแนว โดยการใชแ้ อป
พลิเคชนั Class123 มีสาระสาํ คัญสรุปไดดงั น้ี ดงั น้ี

สรุปผลการวิจัย
วตั ถปุ ระสงคข์ องการวิจยั
1. เพอ่ื สำรวจความพึงพอใจของนักเรยี นระดับช้ันระดับช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 ปีการศกึ ษา

2563 โรงเรียนเบญจมานสุ รณ์ จังหวัดจนั ทบรุ ี ทีม่ ตี ่อการเรยี นวิชาแนะแนว โดยการใชแ้ อปพลเิ คชัน
Class123

2. เพอื่ เสรมิ สร้างแรงจูงใจในการเรยี นวชิ าแนะแนว

ขัน้ ตอนการสรา้ งและหาคณุ ภาพเครอื่ งมือทใี่ ช้ในการวิจยั
1. วิเคราะหห์ ลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 และหลักสตู ร

สถานศกึ ษา กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน กจิ กรรมแนะแนว
2. ศึกษาเอกสาร แนวคิด และเอกสารงานวจิ ยั ทเ่ี กี่ยวกับวิธีสอน การใชแ้ อปพลิเคชัน

Class123
3. ออกแบบกจิ กรรมการเรยี นรใู้ นรายวิชาแนะแนว โดยการใชแ้ อปพลเิ คชนั Class123
4. นำกจิ กรรมการเรยี นรู้ทไี่ ด้ออกแบบไว้ไปใช้ในการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้
5. สร้างแบบสอบถามและนำแบบสอบถามท่สี รา้ งเสร็จแลว้ ไปใหผ้ ู้ทมี่ ีความเชยี่ วชาญดา้ นงาน

แนะแนววเิ คราะห์ข้อคำถามว่ามคี วามสอดคล้องกบั วยั ของผเู้ รียน และวัตถปุ ระสงค์ของการวิจัย
การเก็บรวบรวมข้อมูล
การวิจัยในคร้งั น้ีใชเ้ คร่ืองมือในการเกบ็ รวบรวมข้อมูล คือ แบบสำรวจความพึงพอใจของ

นักเรียนระดบั ช้ันระดับชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนเบญจมานสุ รณ์ จังหวัด
จันทบรุ ี ท่มี ีตอ่ การเรยี นวิชาแนะแนว โดยการใชแ้ อปพลิเคชัน Class123 โดยสำรวจความพึงพอใจ
ของนักเรียนในรปู แบบออนไลน์ผา่ น google form

16

การอภปิ รายผล
จากการวิจัยพบว่า ความพึงพอใจของนักเรียนระดับชั้นระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนเบญจมานุสรณ์ จังหวัดจันทบุรี ที่มีต่อการเรียนวิชาแนะแนวโดยการ
ใช้แอปพลิเคชนั Class123 อยใู่ นระดับมากทุกข้อ โดย 3 ลำดับแรกจากมากไปหาน้อย ไดแ้ ก่ ลำดับที่
1 นกั เรยี นทุกคนพยายามต้งั ใจเรียน เพื่อเพิ่มคะแนนให้กับห้องเรียนของตนเอง มคี า่ เฉลีย่ 4.27 ลำดับ
ที่ 2 Class123 สามารถควบคุมนักเรียนทั้งห้องให้ตั้งในเรียนได้ มีค่าเฉลี่ย 4.24 ตัวแอปพลิเคชันมี
ลำดับที่ 3 มี 2 ข้อ คือสสี นั สวยงามนา่ สนใจ มีตวั อวตารให้เลือก และเพิม่ คะแนนและลดคะแนนให้กับ
นักเรยี นได้ มคี า่ เฉล่ยี เท่ากนั คือ 4.21 ท้ังนีอ้ าจเปน็ เพราะวา่ แอปพลเิ คชัน Class123 เป็นแอปพลิเค
ชันที่แปลกใหม่และมีลูกเล่นที่หลากหลายสามารถกระตุ้นให้นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นสนใจได้
และเมื่อนักเรียนเกิดความสนใจ จะเกิดความพึงพอใจ เรียนรู้ได้อย่างมีความสุขตามทฤษฎีแรงจูงใจ
ของมาสโลว์

17