รายงาน ระบบควบคุมในงานอุตสาหกรรม

1 หนวยที่ 1 ประวตั ิและความเปนมาของ Programmable Controller ทฤษฎี เรื่องที่ 1 การควบคมุ ในระบบอุตสาหกรรม สาระการเรียนรู เร่ืองการควบคุมในระบบอตุ สาหกรรม ซ่งึ ประกอบไปดวย 1. การควบคมุ ในระบบอตุ สาหกรรม 2. แนะนํา Programmable Controller (PLC) ซ่ึงเปน อุปกรณควบคุมที่สามารถ กาํ หนดโปรแกรมการทาํ งานไดโ ดยการโปรแกรมซ่งึ จะนาํ มาทดแทนการเดนิ สายทีม่ ีปญหา 3. ขอ ดีของ Programmable Controller (PLC) และเปรียบเทียบขอดีของ Programmable Controller (PLC) กับวงจรควบคุมทีใ่ ชระบบไฟฟา เชิงกล วชิ าการโปรแกรมและควบคุมไฟฟ้า รหัส 2104-2109

2 1. การควบคุมในระบบอุตสาหกรรม ในกระบวนการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรมไมวาจะเปนอุตสาหกรรมขนาดเล็ก ขนาดกลาง หรือ ขนาดใหญก ็ตาม ซงึ่ จะตองอาศยั กระบวนการผลติ ใหเปน ไปตามลําดับข้ันตอนตามที่ไดออกแบบและสรา งไว ในขั้นตอนตางๆ โดยกระบวนการผลิตในแตละข้ันตอนนั้นจะตองมีการควบคุมปริมาณตางๆ อาทิเชน อณุ หภูมิ ความชื้น ความดัน อตั ราการไหล ระดับ เปน ตน ซึ่งปริมาณดงั กลาวจะเปนสิ่งทร่ี ับประกันไดวา สินคาท่ีทําออกจากโรงงานอุตสาหกรรมนั้นมีคุณภาพเพียงใด โดยการจัดการและควบคุมปริมาณดังกลาว จะตองเปนไปแบบอัตโนมัติ เราจะเรียกการควบคุมแบบน้ีวาการควบคุมแบบซีเควนซ (Sequence Control) การควบคุมแบบซีเควนซ (Sequence Control) สามารถจําแนกออกไดอยู 4 แบบดวยกนั คอื 1.1 การควบคมุ ดวยแรงงานจากมนษุ ย (Manually) เปน การควบคุมท่ที ุกขน้ั ตอนจะใช แรงงานจากมนุษยเปน หลักไมวาจะเปน การควบคมุ ปริมาณ อุณหภูมิ ความดัน ความชื้น ฯลฯ จงึ ทาํ ให ผลผลิตทีไ่ ดไ มคอยมมี าตรฐาน เพราะแรงงานจากมนษุ ยมีมาตรฐานทไ่ี มเทากนั แสดงดังรปู ที่ 1 .1 รูปท่ี 1.1 แสดงกระบวนการผลิตที่ใชแ รงงานจากมนุษยเปนหลัก 1.2 การควบคุมดวยระบบไฟฟาเชิงกล (Electro Mechanically) เปนการพัฒนา กระบวน การผลิตจากการที่ใชแรงงานจากมนุษยสังเกตและตรวจวัดปริมาณตางๆในการบวนการผลิตมา เปนเซ็นเซอร (Sensor) ในการตรวจวดั ปริมาณตางๆ รวมกับอุปกรณไฟฟาเชิงกล อาทิเชน รีเลย คอนแทค เตอร ไทมเมอร มาใชควบคุมกระบวนการผลิตทําใหผลผลิตท่ีไดออกมามีมาตรฐานและคุณภาพมากขึ้น แสดงดงั รปู ที่ 1 .2 วชิ าการโปรแกรมและควบคุมไฟฟ้า รหัส 2104-2109

3 รปู ที่ 1.2 แสดงระบบควบคุมการผลิตท่ีใชระบบไฟฟาเชิงกล 1.3 การควบคุมดวยตัวคอนโทรลเลอร (Controller) เปนการควบคุมที่พฒั นานําเอา อปุ กรณอิเล็กทรอนิกสม าใชในการควบคุมโดยมีไมโครโปรเซสเซอรเปน พนื้ ฐานซึง่ จําแนกไดอีก 2 ลกั ษณะ ดงั นี้ 1.3.1 การควบคุมโดยใชไมโครโปรเซสเซอรหรือไมโครคอนโทรลเลอรซึ่งจะ ตองอาศัยหลักการโดยใชซอฟตแวรใ นการเขียนโปรแกรมเพื่อควบคุมกระบวนการผลิตตางๆ เพ่ือลดปญหา จากการเดินสายใหลดนอยลงไปเชน ภาษาซี ภาษาแอสเซมบลี ฯลฯ ซึ่งการออกแบบการควบคุมแบบน้ี จะตอ งมพี ืน้ ฐานทางดา นอิเลก็ ทรอนกิ สมากพอสมควรถงึ จะเขียนโปรแกรมควบคุมดังกลาวได 1.3.2 การควบ คุมโดยใชโป รแกรมเมเบิ ลคอน โท รล (Programmable Controller )หรือโปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรล( Programmable Logic Controller ) ซึ่งเปนอุปกรณ ควบคุมแบบหนึ่งที่สามารถโปรแกรมได โดยมีไมโครโปรเซสเซอรเปนพื้นฐานแตการควบคุมดวยอุปกรณ แบบน้จี ะเขียนโปรแกรมดว ยภาษาท่เี ขาใจงาย เชน ภาษาแลดเดอรไดอะแกรม (Ladder Diagram) เปน ตน ซึ่งเปนภาษาท่ีมีความเขาใจงายเพราะจะคลายคลึงกับการควบคุมดวยอุปกรณไฟฟาเชิงกล ซ่ึงการควบคุม ดว ยอปุ กรณแ บบนจ้ี ะเหมาะสมกับชางไฟฟา แสดงดงั รปู ท่ี 1.3 SENSOR CONTROLLE FINAL CONTROL LOAD รูปท่ี 1.3 แสดงการการควบคุมดว ยตัวคอนโทรลเลอร (Controller) 1.4 การควบคมุ แบบศูนยก ลาง (Central Control System) ซงึ่ การควบคมุ แบบนจี้ ะใช คอมพวิ เตอรเ ปน หลักในการควบคุม เพ่อื เช่ือมโยงระบบควบคุมท้ังหมดเขาดวยกนั ทาํ ใหงา ยตอ การ ตรวจสอบกระบวนการผลติ ตา งๆ จงึ ทําใหส ามารถผลิตและควบคุมงานทม่ี ีจํานวนมากได แสดงดงั รปู ท่ี 1.4 วชิ าการโปรแกรมและควบคุมไฟฟ้า รหสั 2104-2109

4 รปู ท่ี 1.4 การควบคุมแบบศนู ยกลาง (Central Control System) ในโรงงานอุตสาหกรรมในอดีตใชแรงงานคนในกระบวนการผลิตท้ังหมด ทําใหผ ลผลิตท่ีไดมีจาํ นวน นอยไมพ อเพียงกับความตอ งการของผบู รโิ ภค จงึ มีผคู ิดคน วธิ ีการผลติ ในรปู แบบใหมท ีใ่ ชเ คร่อื งจักร เขามาแทนแรงงานคนมากข้ึน หรือเราจะเรียกวา การควบคุมแบบซีเควนซ (Sequence Control) ซ่ึงเปน การพัฒนาทางดา นอุตสาหกรรมในยคุ ตอ มา การควบคุมแบบซีเควนซ (Sequence Control) เปนการควบคุมแบบหนึ่งที่ตองการให เครื่องจักรหรือขบวนการทํางานตามชวงเวลา ตามลําดับข้ันตอนตลอดจนตามเง่ือนไขท่ีไดกําหนดไว โดยมี ลักษณะของการควบคุมเปนแบบ ON-OFF หรือ 1-0 การควบคุมแบบซีเควนซนี้จะพบเห็นอยูเสมอในงาน อุตสาหกรรมแทบทุกชนิด ตัวอยางของการควบคุมแบบนี้ไดแก ระบบควบคุมเครื่องจักร ระบบลางรถ อัตโนมตั ิ ระบบปอ นวัสดุ ระบบผสมวสั ดุ ระบบควบคมุ ลิฟต ฯลฯ แสดงดงั รปู ที่ 1.5 รปู ที่ 1.5 การควบคมุ กระบวนการผลติ ในโรงงานอตุ สาหกรรมทนี่ าํ เอาเครอ่ื งจกั รเขา มาควบคมุ วชิ าการโปรแกรมและควบคมุ ไฟฟ้า รหสั 2104-2109

5 ระบบควบคุมแบบซีเควนซในยุคแรกๆจะใชอุปกรณไฟฟาเชิงกล (Electromechanical Device) เชน รีเลยแมเหล็กไฟฟา ตัวต้ังเวลา (Timer) ตัวนับ(Counter) มาประกอบกันเปนวงจรควบคุมเพื่อให เครอ่ื งจกั รหรือกระบวนการทาํ งานตามชวงเวลา ตามลําดบั ข้ันตอน และตามเง่อื นไขทีว่ ิศวกรหรอื ผอู อกแบบ ระบบกาํ หนดไว อยา งไรกต็ ามระบบควบคมุ แบบซเี ควนซทใ่ี ชอปุ กรณไฟฟาเชิงกลนัน้ มีขอ เสียมาก คือ 1. ขนาดของวงจรควบคมุ มขี นาดใหญ สิ้นเปลืองเนื้อท่ีและใชพลงั งานสูงทําใหร าคาแพง 2. ไมสามารถใชกับระบบควบคมุ ท่ีมีข้ันตอนการทํางานทยี่ ุงยากซบั ซอน 3. เมอื่ มีปญ หาเกิดขน้ึ ในวงจรควบคมุ การตรวจสอบแกไขทําไดย าก 4. การขยายระบบทาํ ไดยาก 5. ประการสาํ คญั การเปลย่ี นแปลงลําดบั ข้นั ตอน หรือเง่ือนไขการทํางานที่มีอยูเดิมเพื่อใชก ับงาน ใหมทาํ ไดยาก ตอมาเม่ืออุปกรณสารกึ่งตัวนํา (Solid State Device) ไดแพรหลายและกาวหนาขึ้นจึงมกี ารนําเอา เกต (gate) ตางๆมาประกอบกันเปนวงจรควบคุมแทนรีเลยและสามารถลดขอเสียของระบบลงไปไดมาก เชน วงจรควบคุมมีขนาดเล็กลง ส้ินเปลืองพลังงานนอยมาก ราคาถูก การขยายระบบทําไดงายข้ึน และยัง สามารถตอกับคอมพิวเตอรเ พื่อการเกบ็ ขอมลู และอนื่ ๆไดเปนตน แตก็ยังไมสามารถลดขอเสียที่สําคัญบางอยางได น่ันคือการตรวจสอบแกไขเมื่อมีปญหายังทําได ยาก และไมสามารถเปล่ียนแปลงลําดับข้ันตอน หรอื เง่ือนไขการทํางานได จึงไดมีการสรางเครื่องควบคุมที่ สามารถกําหนดโปรแกรมการทํางานได (Programmable Controller :PC หรือ Programmable Logic Control :PLC) ข้ึนมาเพื่อใหนํามาประยุกตใชกับระบบควบคุมแบบซีเควนซไดทุกระบบโดยไมตอง เปลย่ี นแปลงแกไขวงจรควบคมุ แตอ ยางใด แสดงดังรปู ท่ี 1.6 รปู ท่ี 1.6 PLC : Programmable Logic Control/ PC : Programmable Controller 2. แนะนํา Programmable Controller (PLC) PLC : Programmable Logic Control หรือ PC : Programmable Controller เปนเคร่ือง ควบคุมท่ีสามารถกาํ หนดโปรแกรมการทํางานได PLC/PC ถูกพัฒนาในประเทศสหรัฐอเมริกาในโรงงานผลิต รถยนตของบริษัท General Motor Corporations ค.ศ. 1968 โดยกลุมวิศวกร Hydrometric division ของบริษัท General Motors Corporations เน่ืองจากมีความตองการท่ีจะสรางอุปกรณควบคุมมาทดแทน การใชร ีเลยในการ ควบคุมสาํ หรบั โรงงานประกอบรถยนต ซึง่ จะตองสามารถรองรบั การประกอบรถยนต รุน ใหมๆ ไดตลอดเวลา ทั้งน้ีมีจุดประสงคท่ีจะนํามาใชแทนวงจรควบคุมแบบรีเลยท่ีมีขอเสียดังกลาวขางตน วชิ าการโปรแกรมและควบคมุ ไฟฟ้า รหสั 2104-2109

6 นอกจากนี้ยังตรวจสอบความผิดพลาดดวยตัวเอง (Self Diagnostic) จึงทําใหการตรวจสอบ แกไขไดงาย เม่ือมีปญหาเกิดข้ึนได ตอกับคอมพิวเตอรได ใชงานไดทุกสภาพแวดลอมของงานอุตสาหกรรม การติดตั้ง งา ย มีขนาดเลก็ สิ้นเปลอื งพลังงานนอ ย หนวยความจําขยายไดมาก ทําใหใ ชไ ดก ับระบบกระบวนการใหญๆ ไดและมีการจัดการเก่ียวกับขอมูลไดตามตองการ เหลานี้เปนตน และที่สําคัญเปล่ียนแปลงแกไขชวงเวลา ลําดับขั้นตอนหรือเงื่อนไขการทํางานไดตลอดเวลา หรือนําไปใชกับเคร่ืองจักรหรือระบบกระบวนการอื่นๆ ไดด ว ยถา เคร่ืองจกั รหรอื ระบบเดมิ ถูกยกเลกิ ไป 3. ขอ ดีของ Programmable Controller (PLC) และเปรียบเทยี บขอ ดขี อง Programmable Controller (PLC) กับวงจรควบคุมท่ีใชระบบไฟฟา เชงิ กล สรุปขอดีของ PLC/PC ขอ ดีของ PLC/PC สามารถจาํ แนกออกไดเปนขอ ๆดังน้ี 1. ส้นิ เปลอื งเน้ือทน่ี อยเพราะมขี นาดเลก็ 2. สามารถใชควบคุมเครอ่ื งจักรหรอื ระบบขบวนการใดๆ ถา เลือกขนาดของ PLC/PC ทเ่ี หมาะสม 3. การเปลีย่ นลําดบั ขน้ั ตอนหรอื เงื่อนไขของการทํางานไดตามตองการ เพราะใชห ลักของการ โปรแกรม 4. ตวั ต้งั เวลา ตัวนบั เปน ซอฟตแ วร ทาํ ใหการกําหนดคาตางๆงา ย เปลี่ยนแปลงคาไดต ลอดเวลา ไมต อ งมีฮารด แวรรว ม และทําใหราคาถูกลง 5. รเี ลยภ ายในเปน (Internal Relay) เปนซอฟตแ วร จึงลดคาใชจ า ยในการเดินสาย ลดฮารดแวร และทําใหข นาดเล็กลง 6. การติดตั้งทาํ ไดสะดวกและงาย 7. การขยายระบบใหใหญขึน้ ทําไดงา ย 8. ราคาถกู กวาระบบรเี ลย 9. ความนาเชอ่ื ถือ (Reliability) ดเี พราะเปน อปุ กรณสารก่ึงตวั นํา ไมม กี ารเดินสายมาก ไมม ี ปญ หาเก่ยี วกับหนา สัมผสั (Contact) แบบรเี ลย 10. มีระบบตรวจสอบหาทีผ่ ิดพลาดดวยตัวเอง ทาํ ใหก ารตรวจสอบแกไ ขเม่ือมปี ญหาทาํ ไดเร็ว 11. ลดการเดนิ สายยาวๆ และลดคาใชจ ายในการเดนิ สายได เพราะใชอ ินพุตแบบรีโมท 12. การบํารงุ รักษาทาํ ไดง าย 13. เวลาในการทาํ งานเรว็ กวา ระบบทใี่ ชร ีเลย 14. มีฟง กชันทางคณิตศาสตรไดแ ก บวก ลบ คูณ หาร และอนื่ ๆ ทําใหสามารถใชส ําหรับการ ควบคุมแบบ ON-OFF หรอื แบบ ANALOG ได 15. สามารถเช่อื มตอ กบั อปุ กรณการวัด เชน เทอรโมคัปเปล (Thermocouple) และอืน่ ๆได นอกเหนือจากอปุ กรณตรวจวดั ทีเ่ ปน สวติ ช (Switch) วชิ าการโปรแกรมและควบคุมไฟฟ้า รหัส 2104-2109

7 16. ตอเขา กบั คอมพวิ เตอรเพ่ือวตั ถุประสงคอ่ืนใด เชน การเก็บขอ มูล การกระจายการควบคุม (Distributed Control) เปน ตน 17. การโปรแกรมทําไดห ลายแบบ เชน คาํ สงั่ ในรูปของแลดเดอรไ ดอะแกรม (Ladder Diagram) คาํ สงั่ บูลลีน (Boolean Instruction) คาํ ส่งั ในรูปบล็อก (Block Instruction) หรือภาษาเบสกิ 18. ใชงานไดทุกสภาพแวดลอ มของงานอตุ สาหกรรม 19. การโปรแกรมทําไดโดยใชเ คร่ืองปอนโปรแกรม (Program Loader) หรือโปรแกรมลงบน คอมพิวเตอร จากการท่ีกลาวมาน้ีจะเหน็ วา PLC/PC เปนเคร่ืองควบคมุ ท่ีมีประสทิ ธภิ าพและมปี ระโยชนอ ยางย่งิ ตอ งานอุตสาหกรรมในปจ จบุ ันและอนาคต ตารางที่ 1.1 เปรียบเทยี บความแตกตา งระหวา งการใชง าน PLC และระบบรเี ลยในการควบคมุ คุณลักษณะ โปรแกรมเมเบิลลอจิก รีเลย (Relay) คอนโทรลเลอร(PLC) ราคาคาใชจ าย (ตอ การทาํ งานที่มกี ารใช ต่าํ กวา สูงกวา รเี ลยม ากกวา 20 ตัวข้นึ ไป) ขนาดเม่ือทําการติดตง้ั กะทัดรดั มขี นาดใหญกวา ความเร็วในการปฏบิ ตั ิการ มีความเรว็ สงู กวา ชากวา ความทนทานตอการรบกวนของ ดี ดมี าก สญั ญาณไฟฟา การติดต้ัง งา ยในการติดตั้งและ ใชเ วลามากกวา ในการ โปรแกรม ออกแบบและตดิ ตงั้ ความสามารถในการปฏบิ ัติการฟงกชันท่ีมี ทําได ไมสามารถกระทําได ซบั ซอ น ความสามารถในการเปลี่ยนแปลงลาํ ดบั สามารถกระทําไดงาย สามารถกระทําได แต การควบคมุ คอนขางยุงยาก การซอมบาํ รงุ และตรวจสอบแกไ ข ไมต องการการบํารุงรักษา กรณที เี่ กิดปญ หาภายใน มาก และงา ยในการ ระบบควบคุม ตอ งการการ ตรวจสอบแกไขใน ดูแลในสว นของคอยล และ หนาสัมผสั และยากในการ ตรวจสอบและ แกไขในกรณี ท่เี กิดปญ หา วชิ าการโปรแกรมและควบคมุ ไฟฟ้า รหสั 2104-2109

8 PLC สามารถจําแนกออกไดเ ปน 2 ประเภท 1) แบง ตามลักษณะภายนอก 2) แบงตามขนาดอินพตุ เอาตพุต 1) แบงตามลักษณะภายนอก การแบงประเภทของ PLC ตามลกั ษณะภายนอกนั้น PLC แตละยห่ี อ อาจแบง ไมเ หมือนกัน แต โดยทัว่ ไปแลว สามารถแบง ประเภทของ PLC ไดด ังนี้ 1.1 BLOCK TYPE (SHOE BOX) PLC 1.2 RACK TYPE PLC 1.3 SOFT PLC 1.1 BLOCK TYPE (SHOE BOX) แสดงดงั รปู ที่ 1.7 รูปที่ 1.7 ลกั ษณะของ PLC แบบ Block Type ลกั ษณะของ PLC แบบ Block Type คอื สวนประกอบตางๆของ PLC ไมว า จะเปน CPU หนว ยความจํา ภาคอนิ พุต เอาตพตุ จะรวมอยใู นบล็อกเดยี ว ขอดี 1.มีขนาดเลก็ 2.สามารถตดิ ตงั้ ไดงา ย 3.สามารถใชง านแทนวงจรรีเลยไ ด 4. มฟี ง กช ันพิเศษ เชน ฟงกช ันทางคณิตศาสตร และฟง กชนั อ่นื ขอ เสีย สามารถเพ่ิมอินพุต/เอาตพุตไดน อ ยเมื่ออินพุต/เอาตพตุ จุดใดจุดหนง่ึ เสีย ตอ งยก PLC ทัง้ ชุดออกจากกระบวนการผลิตทําใหเ สียเวลาในการผลติ วชิ าการโปรแกรมและควบคุมไฟฟ้า รหัส 2104-2109

9 1. 2 RACK TYPE PLC ลกั ษณะของ PLC แบบ Rack Type จะมี CPU หนวยความจาํ อินพุต/เอาตพตุ แหลง จา ยไฟ แยกกัน เปน สวนๆ เมื่อตอ งการใชง านอุปกรณใ ดจงึ จะนํามาประกอบกันอีกครงั้ หนึ่ง แสดงดงั รูปท่ี 1.8 รปู ที่ 1.8 ลกั ษณะของ PLC แบบ Rack Type ขอ ดี 1. สามารถเพิม่ จาํ นวนอินพุต/เอาตพุตและยูนิตพิเศษไดม าก 2. เมอ่ื อนิ พุต/เอาตพุตจุดใดจุดหน่งึ เสีย ไมจําเปน ตองยก PLC ทั้งชุดไปซอม สามารถนํายู นติ ทเ่ี สยี ไปซอมไดเลย ทําใหไมตอ งหยดุ กระบวนการการผลิตท้งั หมด ขอ เสยี ราคาแพงกวาแบบ Block Type PLC 1. 3 SOFT PLC เปน PLC ท่ใี ช Software เขามาทํางานเปน PLC โดยจะใชคอมพวิ เตอร PC (Personal Computer) รวมกับการดทใ่ี ชท าํ หนา ท่เี ปนอินพตุ /เอาตพุตแบบพเิ ศษ ใชง านทางดานนี้โดยเฉพาะ แสดงดงั รปู ที่ 1.9 Input Output Personal Computer รปู ท่ี 1.9 ลักษณะของ PLC แบบ SOFT PLC 2) แบงตามขนาดอนิ พตุ เอาตพ ตุ การแบงประเภท PLC ตามขนาด จะคิดทจี่ ํานวนอนิ พุต/เอาตพุตของ PLC ท่สี ามารถมไี ดมากท่ีสดุ ซง่ึ PLC แตล ะยหี่ อ จะแบงไมเหมอื นกัน เราสามารถแบง PLC ตามขนาดได 3 ขนาดดงั นี้ 1. ขนาดเลก็ (Small Size) มีจาํ นวนอินพุต/เอาตพุต ไมเ กิน 64 Points 2. ขนาดกลาง (Medium Size) มีจาํ นวนอินพุต/เอาตพตุ มากกวา 64 Points ข้ึนไป แตไม เกิน 512 Points วชิ าการโปรแกรมและควบคุมไฟฟ้า รหัส 2104-2109

10 3. ขนาดใหญ (Large Size) มีจํานวนอนิ พตุ /เอาตพตุ มาก กวา 512 Points การประยกุ ตใ ชงานอตุ สาหกรรม 1. อตุ สาหกรรมยางและพลาสตกิ - อุตสาหกรรมการผลิตยางรถยนต - อตุ สาหกรรมทํายาง ฯลฯ 2. อุตสาหกรรมเคมแี ละปโ ตรเคมี - อตุ สาหกรรมการผลิตแอมโมเนยี - อตุ สาหกรรมการยอมผา - การควบคุมพัดลม - การควบคมุ สง และจา ยแกส - การควบคุมสงน้าํ มันตามทอ ฯลฯ 3. แหลงจายกาํ ลัง - ระบบโรงจกั รไฟฟา - การควบคุมพลังงาน - การควบคมุ ประสทิ ธภิ าพของคอมเพรสเซอร ฯลฯ 4. อุตสาหกรรมโลหะ - การทาํ เหล็ก - การควบคุมการยกขึน้ /การยกลงของโลหะผสมตางๆ - การหลอโลหะตอเนื่อง - การทําอะลูมิเนยี ม ฯลฯ 5. อุตสาหกรรมผลติ เยื่อกระดาษ - การทาํ กระดาษ ฯลฯ 6. อุตสาหกรรมอน่ื ๆ เชน - อุตสาหกรรมผลติ แกว - ระบบสายพานลาํ เลยี ง - ระบบควบคมุ เครือ่ งจักรและเครื่องมือตางๆ ฯลฯ วชิ าการโปรแกรมและควบคุมไฟฟ้า รหสั 2104-2109

11 แบบฝก หัด เร่ืองท่ี 1 คาํ ชี้แจง - ใหน กั เรียนเติมคําหรอื อธิบายมาใหเขา ใจ ขอ ที่ 1. การควบคมุ แบบซีเควนซหมายถึงอะไร (1 คะแนน) ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ขอท่ี 2. จงยกตวั อยา งขอเสยี ของการควบคุมดวยระบบไฟฟา เชงิ กลมา 4 ตัวอยา ง (2 คะแนน) ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ขอ ท่ี 3. จงใหค าํ จาํ กัดความของProgrammable logic Control (PLC) และProgrammable Controller (PC) และทงั้ สองตวั มีลักษณะท่ีแตกตางกนั อยางไร ( 2 คะแนน) ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ขอ ที่ 4. จงบอกขอดีของระบบของการควบคุมดวย PLC/PCท่ีเห็นไดช ัดเจน มาอยางนอย 6 ขอ (3 คะแนน) ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ขอท่ี 5. การจาํ แนกขนาดของระบบ PLC แบง ไดกีล่ กั ษณะอะไรบาง อธบิ ายมาพอเขา ใจ (5 คะแนน) ………………………………………………………………………………………………………………..…………………………………… …………………………………………………………………………..………………………………………………………………………… ……………………………………..……………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………..…………………………………… …………………………………………………………………………..………………………………………………………………………… ……………………………………..……………………………………………………………………………………………………………….. ขอ ที่ 6. จงยกตวั อยา งงานท่ีควบคมุ ดว ยระบบ PLC/PC ท่ีนักเรยี นเคยพบเหน็ หรือคิดวามีการนําเอาระบบ PLC/PC มา 2 ตัวอยาง พรอมกบั บอกสถานท่ีดวย (2 คะแนน) ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………..…………………………………………………………………………… วชิ าการโปรแกรมและควบคุมไฟฟ้า รหสั 2104-2109

12 แบบฝกทดสอบหลงั เรียน ใหนักเรยี นทําแบบทดสอบหลังเรียน โดยเลือกคาํ ตอบทีถ่ ูกตอ งท่ีสดุ เพียงขอเดียว เม่ือทาํ แบบทดสอบผา นเกณฑที่กําหนด จะไดร ับเกยี รตบิ ตั ร ประจาํ หนวยการเรียนรูท่ี 1 โดย ระบบจะทําการ สง เกียรตบิ ตั ร Online ไปยัง E-mail ท่ี นกั เรยี นไดกรอกไว ตามตวั อยาง วชิ าการโปรแกรมและควบคุมไฟฟ้า รหสั 2104-2109