เรื่อง ศาสนาและหน้าที่พลเมือง

หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม

รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง

(สค21002)



ระดบมัธยมศึกษาตอนตน
หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

พุทธศักราช 2551

(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)

สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

กระทรวงศึกษาธิการ

หามจําหนาย

หนังสือเรียนเลมนี้จัดพิมพดวยงบประมาณแผนดินเพื่อการศึกษาตลอดชีวิตสําหรับประชาชน
ลิขสิทธิ์เปนของ สํานักงาน กศน. สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

เอกสารทางวิชาการลําดับที่ 42 /2557

หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม

รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค21002)

ระดับมัธยมศึกษาตอนตน

(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)

ลิขสิทธิ์เปนของ สํานักงาน กศน. สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

เอกสารทางวิชาการหมายเลข 42 /2557

คํานํา

สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ไดดําเนินการจัดทํา
หนังสือเรียนชุดใหมนี้ขึ้น เพื่อสําหรับใชในการเรียนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา

ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่มีวัตถุประสงคในการพัฒนาผูเรียนใหมีคุณธรรม จริยธรรม มีสติปญญา
และศักยภาพในการประกอบอาชีพ การศึกษาตอและสามารถดํารงชีวิตอยูในครอบครัว ชุมชน สังคมได

อยางมีความสุข โดยผูเรียนสามารถนําหนังสือเรียนไปใชในการศึกษาดวยวิธีการศึกษาคนควาดวยตนเอง
ปฏิบัติกิจกรรม รวมทั้งทําแบบฝกหัด เพื่อทดสอบความรูใหกับผูเรียน และไดมีการปรับเพิ่มเติม
เนื้อหาเกี่ยวกับ การมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามการทุจริต เพื่อใหสอดคลองกับนโยบาย

ของกระทรวงศึกษาธิการ นั้น
ขณะนี้ คณะกรรมการรักษาความสงบแหงชาติ (คสช.) มีนโยบายในการปลุกจิตสํานึกใหคนไทย

มีความรักชาติ เทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย เสริมสรางคุณธรรม จริยธรรม คานิยมในการอยู
รวมกันอยางสามัคคี ปรองดอง สมานฉันท สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม

อัธยาศัย จึงไดมีการดําเนินการปรับเพิ่มตัวชี้วัดของหลักสูตร และเนื้อหาหนังสือเรียนใหสอดคลอง
ตามนโยบายดังกลาว โดยเพิ่มเนื้อหาเกี่ยวหลักสําคัญของประชาธิปไตยและ คุณธรรม จริยธรรมใน

การอยูรวมกันอยางสันติ สามัคคีปรองดอง สมานฉันท เพื่อใหสถานศึกษานําไปใชในการจัดการเรียน
การสอนใหกับนักศึกษา กศน. ตอไป

ทั้งนี้ สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ไดรับความรวมมือ
ที่ดีจากผูทรงคุณวุฒิและผูเกี่ยวของหลายทานที่คนควาและเรียบเรียงเนื้อหาสาระจากสื่อตาง ๆ เพื่อให

ไดสื่อที่สอดคลองกับหลักสูตร และเปนประโยชน ตอผูเรียนที่อยูนอกระบบอยางแทจริง ขอขอบคุณ
คณะที่ปรึกษา คณะผูเรียบเรียง ตลอดจนคณะผูจัดทําทุกทานที่ไดใหความรวมมือดวยดีไว ณ โอกาสนี้

สํานักงาน กศน.

กันยายน 2557

สารบัญ

หนา

คํานํา

คําแนะนําการใชหนังสือเรียน

โครงสรางรายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง สค 21002

ขอบขายเนื้อหา

บทที่ 1 ศาสนาในประเทศไทยและในเอเชีย 1

เรื่องที่ 1 ความเปนมาของศาสนาในประเทศไทย 3
เรื่องที่ 2 ความเปนมาของศาสนาในทวีปเอเชีย 25

เรื่องที่ 3 หลักธรรมของศาสนาตาง ๆ 35
เรื่องที่ 4 หลักธรรมในแตละศาสนาที่ทําให 55

อยูรวมกับศาสนาอื่นไดอยางมีความสุข

บทที่ 2 วัฒนธรรม ประเพณี และคานิยมของไทยและเอเชีย 66

เรื่องที่ 1 วัฒนธรรม ประเพณีของไทยและเอเชีย 68
เรื่องที่ 2 การอนุรักษและการสืบสานวัฒนธรรม ประเพณี 81
เรื่องที่ 3 แนวทางการอนุรักษและการสานวัฒนธรรม ประเพณี 84

เรื่องที่ 4 คานิยมที่พึงประสงค 85

บทที่ 3 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย 88

เรื่องที่ 1 ความเปนมาหลักการและเจตนารมณ  89
ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

เรื่องที่ 2 โครงสรางและสาระสําคัญของรัฐธรรมนูญ 106
แหงราชอาณาจักรไทย

เรื่องที่ 3 จุดเดนของรัฐธรรมนูญที่เกี่ยวกับสิทธิ เสรีภาพ 108
และหนาที่ของประชาชน

เรื่องที่ 4 หลักการสําคัญของประชาธิปไตยและคุณธรรม จริยธรรม 111
คานิยมในการอยูรวมกันอยางสันติ สามัคคี ปรองดอง

สารบัญ (ตอ)

หนา

บทที่ 4 พัฒนาการทางการเมืองและการอยูรวมกันในระบอบประชาธิปไตย 125

อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข

เรื่องที่ 1 พัฒนาการทางการปฏิรูปทางการเมืองเพื่อการปกครอง 127

ในระบอบประชาธิปไตยอนมีพระมหากษัตริย
ทรงเปนประมุข

เรื่องที่ 2 การมีสวนรวมทางการเมืองและการอยูรวมกัน 136
อยางสันติในระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริยทรงเปนประมุข

บทที่ 5 สิทธิมนุษยชน 147

เรื่องที่ 1 กําเนิดและหลักสิทธิมนุษยชน 149
เรื่องที่ 2 การคุมครองตนเองและผูอื่นตามหลักสิทธิมนุษยชน 159

บทที่ 6 การมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามการทุจริต 162

บรรณานุกรม 189

คณะผูจัดทํา 193

คําแนะนําในการใชหนังสือเรียน

หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง ระดับมัธยมศึกษาตอนตน

เปนหนังสือเรียนที่จัดทําขึ้น สําหรับผูเรียนที่เปนนักศึกษานอกระบบใชประกอบการศึกษา รายวิชา
ศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค21002) จํานวน 2 หนวยกิต 80 ชั่วโมง
ในการศึกษาหนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง ผูเรียน

ควรปฏิบัติ ดังนี้
1) ศึกษาโครงสรางรายวิชาใหเขาใจในหัวขอ สาระสําคัญ ผลการเรียนรูที่คาดหวัง และ

ขอบขายเนื้อหา
2) ศึกษารายละเอียดเนื้อหาของแตละบทอยางละเอียด และปฏิบัติกิจกรรมทายเรื่อง

เพื่อเปนการสรุปความรู ความเขาใจของเนื้อหาในตอนนั้น ๆ อีกครั้ง โดยผูเรียนสามารถ
นําไปตรวจสอบกับครู เพื่อน ๆ ที่เรียนในรายวิชาและระดับเดียวกันได

3) หนังสือเลมนี้มี 6 บท ดังนี้
บทที่ 1 ศาสนาในประเทศไทยและในเอเชีย

บทที่ 2 วัฒนธรรม ประเพณี และคานิยมของไทยและเอเชีย
บทที่ 3 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยและหลักสําคัญของ

ประชาธิปไตยและมีคุณธรรม จริยธรรมในการอยูรวมกันอยางสันติ
สามัคคี ปรองดอง สมานฉันท

บทที่ 4 พัฒนาการทางการเมืองและการอยูรวมกัน
ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข

บทที่ 5 สิทธิมนุษยชน

บทที่ 6 การมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามการทุจริต

โครงสรางรายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง
ระดับมัธยมศึกษาตอนตน

สาระสําคัญ

ประเทศไทย เปนประเทศที่มีการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรง
เปนประมุข มีประชากรอาศัยอยูหลายเชื้อชาติ มีภาษา ศาสนา วัฒนธรรม ความเชื่อที่แตกตางกัน การให

ความรูเกี่ยวกับความสําคัญ หลักธรรมทางศาสนา และวัฒนธรรม คานิยมของประเทศตาง ๆ ตลอดจน
ความเปนมา หลักการ ความสําคัญของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย หลักการอยูรวมกัน หลักการ

สําคัญของประชาธิปไตยและคุณธรรม จริยธรรม คานิยมในการอยูรวมกันอยางสันติ สามัคคี ปรองดอง


หลักสิทธมนุษยชน และความตระหนักในการมีจิตสํานึกในการมีสวนรวมที่จะปองกันและปราบปราม
การทุจริต จะทําใหคนในสังคมไทยสามารถ นําหลักการ คําสอนและกฎระเบียบตาง ๆ ของสังคมมาปรับ

ใชในการดําเนินชีวิตของตนไดอยางถูกตอง มีความสุข อันจะสงผลตอความสันติสุขของสังคม

ผลการเรียนที่คาดหวัง
1. อธิบายความเปนมา ความสําคัญ หลักคําสอน ศาสนาวัฒนธรรม ประเพณี คานิยมของ

ประเทศไทยและประเทศในทวีปเอเชียได
2. ยอมรับและปฏิบัติตนเพื่อการอยูรวมกันอยางสันติสุขในสังคมที่มีความหลากหลายทาง

ศาสนา วัฒนธรรม และประเพณี
3. อนุรักษและสืบสานประเพณี วัฒนธรรม ตลอดจนปฏิบัติตามคานิยมที่พึงประสงค

ของไทย และอธิบายวัฒนธรรม ประเพณี คานิยมของชาติตาง ๆ ในเอเชีย
4. อธิบายความเปนมา หลักการ เจตนารมณ โครงสราง สาระสําคัญของรัฐธรรมนูญได

5. มีความรูความเขาใจในหลักสําคัญของประชาธิปไตยและมีคุณธรรม จริยธรรมในการ
อยูรวมกันอยางสันติ สามัคคี ปรองดอง สมานฉันท

6. อธิบายจุดเดนของรัฐธรรมนูญเกี่ยวกับสิทธ เสรีภาพ และหนาที่ของประชาชนได

7. อธิบายสิทธิ เสรีภาพและคุณธรรม จริยธรรม การอยูรวมกันตามวิถีทาง
ประชาธิปไตยได

8. อธิบายการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และมีสวนรวมการเมืองการปกครอง

ตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขได
9. อธิบายหลักสิทธิมนุษยชน ตระหนักถึงประโยชนและมีสวนรวมตามหลักสิทธิมนุษยชนได

10. วิเคราะหการแกปญหาการทุจริตและมีสวนรวมในการปองกันและปราบปราม
การทุจริต

ขอบขายเนื้อหา

บทที่ 1 ศาสนาในประเทศไทยและในเอเชีย
บทที่ 2 วัฒนธรรม ประเพณี และคานิยมของไทยและเอเชีย

บทที่ 3 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย และหลักสําคัญของประชาธิปไตยและ
มีคุณธรรม จริยธรรมในการอยูรวมกันอยางสันติ สามัคคี ปรองดอง สมานฉันท

บทที่ 4 พัฒนาการทางการเมืองและการอยูรวมกันในระบอบประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข

บทที่ 5 สิทธิมนุษยชน
บทที่ 6 การมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามการทุจริต

สื่อประกอบการเรียนรู

1. ซีดีศาสนาสากล
2. ซีดีวัฒนธรรม ประเพณีไทย และประเทศตาง ๆ ในเอเชีย

3. เอกสารที่เกี่ยวของกับศาสนา วัฒนธรรม การเมืองการปกครอง สิทธิมนุษยชน
4. อินเทอรเน็ต

5. แหลงเรียนรู ภูมิปญญาในทองถิ่น

1

บทที่ 1

ศาสนาในประเทศไทยและในทวีปเอเชีย

สาระสําคัญ


เนื้อหาสาระเกี่ยวกับความเปนมาของศาสนาตาง ๆ ในประเทศไทยและประเทศในทวปเอเชีย
หลักธรรมสําคัญของศาสนาตาง ๆ การอยูรวมกับคนตางศาสนาไดอยางมีความสุข กรณีตัวอยางของ
บุคคลตัวอยางในแตละศาสนา

ผลการเรียนรูที่คาดหวัง


1. ประวติความสําคัญหลักคําสอนศาสนาวัฒนธรรม ประเพณีของประเทศในทวีปเอเชีย
ู
2. ยอมรับและปฏิบัติตนเพื่อการอยรวมกันอยางสันติสุขในสังคมที่มีความหลากหลายทาง
ศาสนา

ขอบขายเนื้อหา
เรื่องที่ 1 ความเปนมาของศาสนาในประเทศไทย

เรื่องที่ 2 ความเปนมาของศาสนาในทวีปเอเชีย
เรื่องที่ 3 หลักธรรมของศาสนาตาง ๆ

สื่อการเรียนรู

1. ใบงาน
2. หนังสือเรียน

2

แผนที่ประเทศในทวีปเอเชีย

3

ี่
เรื่องท 1 ความเปนมาของศาสนาในประเทศไทย

ศาสนาในประเทศไทยที่รัฐบาลใหการอุปถัมภดูแล มีทั้งสิ้น 5 ศาสนา ไดแก ศาสนาพุทธ

ศาสนาอิสลาม ศาสนาคริสต ศาสนาฮินดู และศาสนาซิกซ ซึ่งทุกศาสนาลวนมีองคประกอบหลัก
ที่สําคัญ ๆ 5 ประการ คือ

1. ศาสดา หมายถึง ผูที่คนพบศาสนาและเผยแผคําสั่งสอนหรือหลักธรรมของศาสนา
2. ศาสนธรรม หรือหลักธรรมของศาสนา เปนคําสั่งสอนของแตละศาสนา

3. ศาสนิกชน หมายถึง บุคคลและปวงชนที่ใหการยอมรับนับถือในคําสั่งสอนของศาสนา
นั้น ๆ

4. ศาสนาสถาน หมายถึง สถานที่อยูอาศัยของนักบวชใชเปนที่ประกอบพิธีกรรมทาง
ศาสนา รวมถึงการเปนที่ที่ใหศาสนิกชนไปปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนา

5. ศาสนพิธี หมายถึง พิธีทางศาสนาตาง ๆ ที่ถูกกําหนดขึ้นจากศาสดาโดยตรงหรือจาก
การคิดคนของผูปฏิบัติ มีเนื้อหาเกี่ยวกับความตองการขจัดความไมรู ความกลัว

ความอัตคัด สนองความตองการในสิ่งที่ตนขาดแคลน จึงจําเปนตองมีวัตถุประสงคของ
การศึกษาคนควาปฏิบัติตามหลักของศาสนา

ประเทศไทยมีศาสนาพุทธ เปนศาสนาประจําชาติและมีผูนับถือจํานวนมากที่สุดในประเทศ
รองลงมา คือ ศาสนาอิสลาม ศาสนาคริสต และศาสนาฮินดู การศึกษาความเปนมาของศาสนา

ดังกลาวในประเทศไทยมีความสําคัญและจําเปน เพราะทําใหเกิดความเขาใจในศาสนาที่ตนนับถือและ
เพื่อรวมศาสนาอื่น ๆ ในประเทศ อันจะสงผลใหสามารถอยูรวมกันไดอยางมีความสุข

4

1.1 ศาสนาพุทธในประเทศไทย

พุทธประวัติ
ศาสดาผูที่คนพบศาสนาและเผยแผคําสั่งสอนหรือหลักธรรมของศาสนาพุทธ คือ

พระพุทธเจา
พระพุทธเจา พระนามเดิมวา "สิทธัตถะ" เปนพระราชโอรสของพระเจาสุทโธทนะและ

พระนางสิริมหามายา แหงกรุงกบิลพัสด แควนสักกะ พระองคทรงถือกําเนิดในศากยวงศ สกุลโคตมะ

พระองคประสูติในวันศุกร ขึ้น 15 ค่ํา เดือน 6 (เดือนวิสาขะ) ปจอ กอนพุทธศักราช 80 ป ณ สวนลุมพินีวัน
ซึ่งตั้งอยูระหวางกรุงกบิลพัสดุ แควนสักกะ กับกรุงเทวทหะ แควนโกลิยะ (ปจจุบัน คือ ตําบลรุมมินเด

ประเทศเนปาล) ทั้งนี้ เปนเพราะธรรมเนียมที่สตรีจะตองไปคลอดบุตรที่บานบิดามารดาของตนพระนาง-
สิริมหามายา จึงตองเดินทางไปกรุงเทวทหะ

หลังจากประสูติได 5 วัน พระเจาสุทโธทนะ โปรดใหประชุมพระประยูรญาติ และเชิญพราหมณ
ผูเรียนไตรเพท จํานวน 108 คน เพื่อมาทํานายพระลักษณะของพระราชกุมาร พระประยูรญาติได

พรอมใจกันถวายพระนามวา "สิทธัตถะ" มีความหมายวา "ผูมีความสําเร็จสมประสงคทุกสิ่งทุกอยาง
ที่ตนตั้งใจจะทํา" สวนพราหมณเหลานั้นคัดเลือกกันเองเฉพาะผูที่ทรงวิทยาคุณประเสริฐกวาพราหมณ

ทั้งหมดได 8 คน เพื่อทํานายพระราชกุมาร พราหมณ 7 คนแรก ตางก็ทํานายไว 2 ประการ คือ
"ถาพระราชกุมารเสด็จอยูครองเรือนก็จักเปนพระเจาจักรพรรดิผูทรงธรรม หรือถาเสด็จออกผนวช
เปนบรรพชิตจักเปนพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจาผูไมมีกิเลสในโลก" สวนโกณทัญญะพราหมณผูมี

อายุนอยกวาทุกคนไดทํานายเพียงอยางเดียววา “พระราชกุมารจักเสด็จออกจากพระราชวังผนวช

เปนบรรพชิตแลวตรัสรูเปนพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจาผูไมกิเลสในโลก" เมื่อเจาชายสิทธัตถะ
ประสูติได 7 วัน พระราชมารดาก็เสด็จสวรรคต พระเจาสุทโธทนะทรงมอบหมายใหพระนางมหาปชาบดี-
โคตรมี ซึ่งเปนพระขนิษฐภคินีของพระนางสิริมหามายา เปนผูถวายอภิบาลเลี้ยงดู เมื่อพระสิทธัตถะ

ทรงพระเจริญมีพระชนมายุได 8 พรรษา ไดทรงศึกษาในสํานักอาจารยวิศวามิตร ซึ่งมีเกียรติคุณแผ
ขจรไกลไปยังแควนตาง ๆ เจาชายสิทธัตถะ ทรงศึกษาศิลปวิทยาเหลานี้ไดอยางวองไวและเชี่ยวชาญ

จนหมดความสามารถของพระอาจารย
ดวยพระราชบิดามีพระราชประสงคมั่นคงที่จะใหเจาชายสิทธัตถะทรงครองเพศฆราวาส เปน

พระจักรพรรดิผูทรงธรรม จึงพระราชทานความสุขเกษมสําราญแวดลอมดวยความบันเทิง
นานาประการแกพระราชโอรส เพื่อผูกพระทัยใหมั่งคงในทางโลก เมื่อเจาชายสิทธตถะเจริญพระชนมได

16 พรรษา พระเจาสุทโธทนะมีพระราชดําริวา พระราชโอรสสมควรจะไดอภิเษกสมรสจึงโปรดให
สรางประสาทอันวิจิตรงดงามขึ้น 3 หลัง สําหรับใหพระราชโอรสไดประทับอยางเกษมสําราญตาม

ฤดูกาลทั้ง 3 คือ ฤดูรอน ฤดูฝน และฤดูหนาว จากนั้นทรงสูขอพระนางพิมพายโสธรา พระราชธิดาของ
พระเจาสุปปพุทธะ และพระนางอมิตา แหงเทวทหะนคร ในตระกูลโกลิยวงศ ใหอภิเษกดวย เจาชายสิทธัตถะ

5

ไดเสวยสุขสมบัติจนพระชนมายุได 29 พรรษา พระนางพิมพายโสธรา จึงประสูติพระโอรส พระองคมี

พระราชหฤทัยสิเนหาในพระโอรสเปนอยางยิ่ง เมื่อพระองคทรงทราบถึงการประสูติของพระโอรส
พระองคตรัสวา “ราหุลชาโตพันธนาชาต” แปลวา “บวงเกิดแลว เครื่องจองจําเกิดแลว”

ถึงแมเจาชายสิทธัตถะจะทรงพรั่งพรอมดวยสุขสมบัติมหาศาลก็มิไดพอพระทัยในชีวิต
คฤหัสถ พระองคยังทรงมีพระทัยฝกใฝใครครวญถึงสัจธรรมที่จะเปนเครื่องนําทางซึ่งความพนทุกข

อยูเสมอ พระองคไดเคยเสด็จประพาสอุทยาน ไดทอดพระเนตรเทวทูตทั้ง 4 คือ คนแก คนเจ็บ คนตาย
และบรรพชิต พระองคจึงสังเวชพระทัยในชีวิตและพอพระทัยในเพศบรรพชิต มีพระทัยแนวแนที่จะ

ทรงออกผนวช เพื่อแสวงหาโมกขธรรม อันเปนทางดับทุกขถาวรพนจากวัฏสงสาร ไมกลับมาเวียนวาย
ตายเกิดอีก พระองคจึงตัดสินพระทัยเสด็จออกผนวช โดยพระองคทรงมากัณฐกะ พรอมดวยนายฉันนะ


มุงสูแมน้ําอโนมานที แควนมัลละ รวมระยะทาง 30 โยชน (ประมาณ 480 กิโลเมตร) เสด็จขามฝงแมน้ํา-
อโนมานที แลวทรงอธิษฐานเพศเปนบรรพชิต และทรงมอบหมายใหนายฉันนะ นําเครื่องอาภรณและ

มากัณฐกะกลับนครกบิลพัสดุ

การแสวงหาธรรมระยะแรกหลังจากทรงผนวชแลว สมณสิทธัตถะ ไดทรงศึกษาในสํานักอาฬาร-

ดาบสกาลามโคตรและอุทกดาบสรามบุตร ณ กรุงราชคฤห แควนมคธ พระองคไดทรงประพฤติ
พรหมจรรยในสํานักของอาฬารดาบสกาลามโคตร ทรงไดสมาบัติ คือ ทุติยฌาน ตติยฌาน อากาสานัญ-
จายตนฌาน วิญญานัญจายตนฌาน และอากิญจัญญายตนฌาน สวนการประพฤติพรหมจรรยใน

สํานักอุทกดาบสรามบุตร นั้น ทรงไดสมาบัติ ๘ คือ เนวสัญญา นาสัญญายตนฌาน สําหรับฌานที่ 1
คือ ปฐมฌาน นั้น พระองคทรงไดขณะกําลังประทับขัดสมาธิเจริญอานาปานสติกัมมัฏฐานอยูใตตนหวา

เนื่องในพระราชพิธีวัปปมงคล (แรกนาขวัญ) เมื่อครั้งทรงพระเยาว เมื่อสําเร็จการศึกษาจากทั้งสอง
สํานักนี้แลว พระองคทรงทราบวามิใชหนทางพนทุกขบรรลุพระโพธิญาณตามที่ทรงมุงหวัง พระองคจึง

ทรงลาอาจารยทั้งสองเสด็จไปใกลบริเวณแมน้ําเนรัญชรา ที่ตําบลอุรุเวลาเสนานิคม กรุงราชคฤห
แควนมคธ

เมื่อพระองคทรงหันมาศึกษาคนควาดวยพระปญญาอันยิ่งดวยพระองคเองแทนการศึกษา
เลาเรียนในสํานักอาจารย ณ ทิวเขาดงคสิริ ใกลลุมแมน้ําเนรัญชรา นั้น พระองคไดทรงบําเพ็ญ

ทุกรกิริยา คือ การบําเพ็ญอยางยิ่งยวดในลักษณะตาง ๆ เชน การอดพระกระยาหาร การทรมาน
พระวรกาย โดยการกลั้นพระอัสสาสะ พระปสสาสะ (ลมหายใจ) การกดพระทนต การกดพระตาลุ

(เพดาน) ดวยพระชิวหา (ลิ้น) เปนตน พระมหาบุรุษไดทรงบําเพ็ญทุกรกิริยาเปนเวลาถึง 6 ป ก็ยังมิได
คนพบสัจธรรมอันเปนทางหลุดพนจากทุกข พระองคจึงทรงเลิกการบําเพ็ญทุกรกิริยาแลวกลับมาเสวย


พระกระยาหาร เพื่อบํารุงพระวรกายใหแข็งแรงในการคิดคนวิธีใหมในขณะที่พระมหาบุรุษ ทรงบาเพ็ญ
ทุกรกิริยา นั้น ไดมีปญจวัคคีย คือ พราหมณทั้ง 5 คน ไดแก โกณฑัญญะ วัปปะ ภัททิยะ มหามานะ

และอัสสชิ เปนผูคอยปฏิบัติรับใชดวยหวังวา พระมหาบุรุษตรัสรูแลวพวกตนจะไดรับการสั่งสอน

6

ถายทอดความรูบาง และเมื่อพระมหาบุรุษเลิกลมการบําเพ็ญทุกรกิริยา ปญจวัคคียก็ไดชวนกันละทิ้ง

พระองคไปอยู ณ ปาอิสิปตนมฤคทายวัน นครพาราณสี เปนผลใหพระองคไดประทับอยูตามลําพังในท ี่
อันสงบเงียบปราศจากสิ่งรบกวนทั้งปวง พระองคไดทรงตั้งพระสติดําเนินทางสายกลาง คือการปฏิบัติ

ในความพอเหมาะพอควร นั่นเอง
พระพุทธเจาทรงตรัสรูเวลารุงอรุณในวันเพ็ญ เดือน 6 (เดือนวิสาขะ) ประกา กอนพุทธศักราช

45 ป นางสุชาดาไดนําขาวมธุปายาส เพื่อไปบวงสรวงเทวดาครั้นเห็นพระมหาบุรุษประทับที่โคน
ตนอชปาลนิโครธ (ตนไทร) ดวยอาการอันสงบ นางคิดวาเปนเทวดาจึงถวายขาวมธุปายาส แลวพระองค

เสด็จไปสูทาสุปดิษฐ ริมฝงแมน้ําเนรัญชรา หลังจากเสวยแลวพระองคทรงจับถาดทองคําขึ้นมาอธิษฐานวา
“ถาเราจักสามารถตรัสรูไดในวันนี้ก็ขอใหถาดทองคําใบนี้จงลอยทวนกระแสน้ําไปไกลถึง 80 ศอก จึง

จมลงตรงที่กระแสน้ําวน” ในเวลาเย็นพระองคเสด็จกลับมายังตนโพธิ์ที่ประทับ คนหาบหญา ชื่อ โสตถิยะ
ไดถวายปูลาดที่ประทับ ณ ใตตนโพธิ์ พระองคประทับหันพระพักตรไปทางทิศตะวันออก และทรงตั้งจิต
อธิษฐานวา “แมวาเลือดในกายของเราจะเหือดแหงไปเหลือแตหนัง เอ็น กระดูก ก็ตาม ถายังไมบรรลุ

ธรรมวิเศษแลวจะไมยอมหยุดความเพียรเปนอันขาด” เมื่อทรงตั้งจิตอธิษฐานเชนนั้นแลว พระองคก็

ทรงสํารวมจิตใหสงบแนวแน มีพระสติตั้งมั่น มีพระวรกายอันสงบ มีพระหทยแนวแน เปนสมาธิบริสุทธิ์

ผุดผอง ปราศจากกิเลส ปราศจากความเศราหมอง มีความตั้งมั่นไมหวั่นไหว
ในปฐมยามแหงราตรี พระองคทรงตรัสรูปุพเพนิวาสานุสติญาณ คือ ญาณที่ระลึกถึงชาติตาง ๆ

ในปางกอน ตอมาในมัชฌิมยาม คือ ยามกลางแหงราตรี พระองคทรงตรัสรูจุตูปปาตญาณ คือ ญาณ
กําหนดรูการเกิดของสัตวทั้งหลาย และในยามสุดทาย คือ ปจฉิมยาม พระองคทรงตรัสรู อาสวักขยญาณ

คือ ญาณหยั่งรูในการสิ้นไปแหงอาสาวกิเลสทั้งหลาย พระองคทรงตรัสรูอริยสัจ 4 คือ ทุกข สมุทัย
นิโรธ มรรค วันที่พระองคทรงตรัสรูในวันเพ็ญ เดือน 6 ประกา พระชนมายุได 35 พรรษา นับแตวันที่

ออกผนวชจนถึงวันตรัสรูธรรม รวมเปนเวลา 6 ป
หลังจากตรัสรูแลวพระองคทรงเสวยวิมุตติสุข ณ บริเวณตนพระศรีมหาโพธิ์ เปนเวลา

7 สัปดาห ทรงรําพึงวา ธรรมะของพระองคเปนเรื่องยากสําหรับคนทั่วไปจะรู พระองคนอมพระทัย
ที่จะไมประกาศศาสนา แตเมื่อพิจารณาแลวเห็นสภาวธรรมวา สติปญญาของบุคคลเปรียบเสมือน

ดอกบัว 4 เหลา คือ พวกที่ฟงธรรมแลวรูเขาใจโดยงาย คือ บัวที่อยูพนน้ํา พวกที่ฟงธรรมที่อธิบาย
ขยายความแลวจะรูธรรม คือ บัวที่อยูปริ่มน้ํา พวกที่ฟงธรรมแลวตองใชระยะเวลานานไตรตรอง

ทบทวนไปมาจึงจะเขาใจเหมือนบัวที่อยูใตน้ํา และพวกสุดทาย คือ พวกที่ฟงธรรมแลวทําอยางไรก็
ไมเขาใจเหมือนบัวที่อยูใตตม เปนอาหารเตา ปู ปลา จากนั้นดวยพระเมตตาของพระองค จึงประกาศ

เผยแผศาสนา พระองคทรงพิจารณาจะสอนพระธรรมใหกับใครกอนเปนคนแรก ครั้งแรกคิดจะสอน
พระธรรมแกอาฬารดาบส แตอาจารยทั้งสองทานตายแลว พระองคจะเผยแผธรรมแกปญจวัคคียทั้ง 5

ที่ปาอิสิปตนมฤคทายวัน พระองคทรงแสดงปฐมเทศนา ในวันขึ้น 15 ค่ํา เดือน 8 (เดือนอาสาฬหะ)

7

เรียกวา ธรรมจักกัปปวัตตนสูตร ทานโกณทัญญะ ฟงธรรมแลวเกิดดวงตาเห็นธรรม คือ บรรลุโสดาบัน

จึงทูลขออุปสมบท เรียกการบวชครั้งนี้วา “เอหิภิกขุอุปสัมปทา” เปนพระสงฆที่พระพุทธเจาบวชให
วันขึ้น 15 ค่ํา เดือน 8 เปนวันที่พระรัตนตรัย คือ พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ ครบเรียกวา

อาสาฬหบูชา เปนครั้งแรก
การเผยแผศาสนา เมื่อพระพุทธเจาไดโปรดปญจวัคคียและสาวกอื่น ๆ ซึ่งเลื่อมใสนับถือ

ศาสนาพุทธ ตอมาพระพุทธเจาทรงอนุญาตใหพุทธสาวก สามารถบวชใหกับผูที่เลื่อมใสในศาสนาพุทธได
เรียกวิธีบวชเชนนี้วา "ติสรณคมนูปสัมปทา" คือ การบวชดวยการปฏิญาณตนเปนผูถึงไตรสรณคมน

พระพุทธศาสนาจึงหยั่งรากฝงลึกในดินแดนสุวรรณภูมิ เชน ประเทศอินเดีย ประเทศปากีสถาน
ประเทศเนปาล เปนตนมา พระพุทธเจาประกาศเผยแผคําสอนจนเกิดพุทธบริษัท 4 อันมี ภิกษุ ภิกษุณี

อุบาสก อุบาสิกา และพุทธบริษัท 4 นี้จะทําหนาที่เผยแผคําสอนของพระพุทธเจาและสืบทอดพระพุทธ-
ศาสนาใหคงอยูตอไป


เมื่อพระพุทธเจามีพระชนมายุ 80 พรรษา พระองคเสด็จจาพรรษาสุดทาย ณ เมองเวสาลี
ในวาระนั้นพระพุทธองคทรงชราภาพ และประชวรหนัก พระองคไดทรงดําเนินจากเวสาลีสู

เมืองกุสินารา เพื่อเสด็จดับขันปรินิพพาน ณ เมืองนั้น พระองคเสวยอาหารมื้อสุดทายที่นายจุนทะ
ปรุงดวยเนื้อสุกรถวาย พระองคเสวยและใหนําอาหารนั้นไปฝง ทรงมีอาการประชวร ถายเปน
พระโลหิต

กอนที่พระองคจะเสด็จปรินิพพาน ซึ่งหมายถึง การไมมาเวียนวายตายเกิดในวัฏสงสาร
พระองคทรงมีพระดํารัสกับพระอานนท ซึ่งเปนพุทธอนุชาและเปนพระอุปฏฐากของพระพุทธเจา

ความวา “โยโวอานฺทธมฺมจวินฺโยมหาเทสิโตปฺญตโตโสโวมมจฺจเยนสตฺถา” แปลวา “ดูกอนอานนท
ธรรมและวินัยอันที่เราแสดงแลว บัญญัติแลว แกเธอทั้งหลาย ธรรมวินัยนั้นจักเปนศาสดาของเธอ

ทั้งหลาย เมื่อเราลวงลับไปแลว”
และพระพุทธองคไดแสดงปจฉิมโอวาทแกพระภิกษุสงฆวา “ดูกอนภิกษุทั้งหลายนี่เปน

วาจาครั้งสุดทายที่เราจะกลาวแกทานทั้งหลาย สังขารทั้งหลายทั้งปวง มีความสิ้นไปและเสื่อมไป
เปนธรรมดา ทานทั้งหลายจงทําความรอดพนใหบริบูรณถึงที่สุดดวยความไมประมาทเถิด"

8

พระพุทธเจา ประสูติ ตรัสรู ปรินิพพาน ในวันเดียวกัน คือ วันเพ็ญ เดือน 6 เรียกวา

วัน “วิสาขบูชา”

วันวิสาขบูชา

ประสูติ ตรัสรู ปรินิพพาน

การเผยแผพุทธศาสนาเขาสูประเทศไทย
พระพุทธศาสนาเผยแผเขามาในประเทศไทย ประมาณป พ.ศ. 270 หลังจากพระพุทธเจา

เสด็จปรินิพพาน พระเจาอโศกมหาราช สถาปนาศาสนาพุทธเปนปกแผน และสงพระเถระไปเผยแผ
พระพุทธศาสนายังประเทศตาง ๆ รวมทั้งประเทศไทย พระเถระที่เขามามี 2 รูป คือ พระโสณเถระ

และพระอุตตระเถระ ซึ่งเปนนิกายเถรวาท ขณะนั้นไทยอยูบนดินแดนที่เรียกวา สุวรรณภูมิ มีขอบเขต
ประเทศที่รวมกัน คือ ไทย พมา เวียดนาม กัมพูชา ลาว มาเลเซีย และสันนิษฐานวาใจกลางอยูที่

จังหวัดนครปฐม มีหลักฐาน คือ พระปฐมเจดีย และรูปธรรมจักรกวางหมอบ สมัยนี้เรียกวา
สมัยทวารวดี

ตอมาสมัยอาณาจักรอายลาว ศาสนาพุทธนิกายมหายาน เผยแผมายังอาณาจักรนี้เพราะ
พระเจามิ่งตี่ กษัตริยจีน ทรงรับพระพุทธศาสนาไปเผยแผในประเทศจีน และสงฑูตมาเจริญ

สัมพันธไมตรีกับอาณาจักรอายลาว จึงทําใหไทยนับถือศาสนาพุทธแบบมหายาน เปนครั้งแรกแทน
การนับถือเทวดาแบบดั้งเดิม

9

ในพุทธศตวรรษที่ 13 พ.ศ. 1300 สมัยอาณาจักรศรีวิชัย ในเกาะสุมาตราไดเจริญรุงเรือง

และนําพระพุทธศาสนาแบบมหายานเขามาเผยแผดังมีหลักฐานที่ปรากฏอยู คือ พระบรมธาตุไชยา
จังหวัดสุราษฎรธานี และพระมหาธาตุ จังหวัดนครศรีธรรมราช

ในพุทธศตวรรษที่ 15 พ.ศ. 1500 อาณาจักรลพบุรีเจริญรุงเรือง ในขณะเดียวกันอาณาจักรขอม
ก็เจริญรุงเรืองดวย ในสมัยราชวงศสุริยวรมันเรืองอํานาจ พระองครับเอาพุทธศาสนาแบบมหายาน

ผสมผสานกับศาสนาพราหมณ และทรงสรางศาสนาสถานเปนพระปรางคและปราสาท อาณาจักรลพบุรี
ของไทยรับอิทธิพลนี้มาดวยมีภาษาสันสกฤต เปนภาษาหลักของศาสนาพราหมณเขามามีอิทธิพลใน

ภาษาไทย วรรณคดีไทย จะเห็นสิ่งกอสราง คือ พระปรางคสามยอด จังหวัดลพบุรี ปราสาทหินพิมาย
ที่จังหวัดนครราชสีมา ปราสาทหินพนมรุง ที่จังหวัดบุรีรัมย สวนพระพุทธรูปไดรับอิทธิพลของขอม

เชน ศิลปะแบบขอม
พุทธศตวรรษที่ 16 พ.ศ. 1600 อาณาจักรพุกาม ประเทศพมา เจริญรุงเรือง กษัตริยผูปกครอง
ชื่อพระเจาอนุรุทธิ์มหาราช กษัตริยพุกามเรืองอํานาจ ทรงรวบรวมเอาพมากับมอญเขาเปนอาณาจักร

เดียวกัน และแผขยายอาณาจักรถึงลานนา ลานชาง คือ เชียงใหม ลําพูน เชียงราย จึงรับพระพุทธศาสนา

แบบเถรวาท หลักฐานที่ปรากฏ คือ การกอสรางเจดียแบบพมา ซึ่งปรากฏอยูตามวัดตาง ๆ
สมัยสุโขทัย เจริญรุงเรืองเปนปกแผนมีอาณาจักรของไทย คือ อาณาจักรลานนาและ
อาณาจักรสุโขทัย พอขุนรามคําแหงมหาราช ทรงสดับกิตติศัพทของพระสงฆลังกา ซึ่งเผยแผศาสนา

อยูที่นครศรีธรรมราช จึงนิมนตมาที่สุโขทัย นับเปนจุดสําคัญที่ทําใหพุทธศาสนาดํารงมั่นคงมาใน
ประเทศไทยสืบมาจนทุกวันนี้ พระพุทธศาสนาแบบลังกาวงศไดเขามาเผยแผในประเทศไทยถึง 2 ครั้ง

คือ ครั้งที่ 1 ในสมัยพอขุนรามคําแหงมหาราช ในสมัยที่ 2 คือ สมัยพระยาลิไท กษัตริยทุกพระองค
ปกครองบานเมืองดวยความสงบรมเย็น ประชาชนอยูดวยความผาสุก ศิลปะสุโขทัย มีความงดงาม

โดยเฉพาะพระพุทธรูป ไมมีศิลปะสมัยใดงามเสมือน
สมัยลานนา พ.ศ. 1839 พระยามังราย ทรงสรางราชธานีชื่อ นพบุรีศรีนครพิงคเชียงใหม

ตั้งถิ่นฐานที่ลุมแมน้ําปง สนับสนุนใหพุทธศาสนารุงเรืองในเมืองเชียงราย ลําพูน ลําปาง แพร นาน
พะเยา ในสมัยพระเจาติโลกราชแหงเชียงใหม ทําการสังคายนาพระไตรปฎกเปนครั้งแรกในประเทศไทย

สมัยกรุงศรีอยุธยา พุทธศาสนาสมัยนี้ไดรับอิทธิพลจากศาสนาพราหมณเปนอันมาก
พิธีกรรมตาง ๆ จึงปะปนกับพิธีพราหมณ ประชาชนทําบุญกุศลสรางวัดบํารุงศาสนา พระมหากษัตริยที่

ทรงผนวช คือ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ และทรงริเริ่มใหเจานายและขาราชการบวชเรียน ทรงรจนา
หนังสือมหาชาติคําหลวงขึ้นในป พ.ศ. 2025 และในสมัยพระเจาทรงธรรม ไดพบรอยพระพุทธบาท

ที่จังหวัดสระบุรี จึงโปรดใหสรางมณฑป วรรณคดีในสมัยนี้ ไดแก กาพยมหาชาติ ในสมัยพระเจาอยูหัว-
บรมโกษฐ พ.ศ. 2275 - 2300 พุทธศาสนาไดเจริญรุงเรืองมาก พระเจาแผนดินของลังกา มีพระราชสาสน

มาทูลเชิญพระภิกษุสงฆไปเผยแผศาสนาที่ลังกา เพราะศาสนาพุทธที่เรียกวา ลังกาวงศ นั้น เสื่อมลง

10

ไทยจึงสงพระอุบาลีไปประกาศศาสนาและเผยแผศาสนาจนรุงเรืองอีกครั้ง และเรียกศาสนาพุทธ

ในครั้งนี้วา นิกายสยามวงศ
สมัยกรุงธนบุรี ปพ.ศ. 2310 กรุงศรีอยุธยาถูกพมายกทัพเขาตีจนบานเมืองแตกยับเยิน วัดวา-

อารามถูกทําลายยอยยับ พระเจาตากสินมหาราช ทรงเปนผูนําในการกอบกูอิสรภาพ ทรงตั้งเมืองหลวงที่
กรุงธนบุรี และทรงบูรณปฏิสังขรณวัดวาอารามและสรางวัดเพิ่มเติมอีกมากและไดอัญเชิญพระแกวมรกต

จากเวียงจันทนมายังประเทศไทย
สมัยรัตนโกสินทร รัชกาลที่1 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช

ี่
(พ.ศ. 2325 - 2352) พระองคยายเมืองหลวงมาตั้งทกรุงเทพมหานคร และทรงปฏิสังขรณวัดตาง ๆ คือ
การสรางวัดพระศรีรัตนศาสดาราม วัดสุทัศนเทพวราราม วัดสระเกศ และวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม

และโปรดใหมีการสังคายนาพระไตรปฎกครั้งที่ 9 และถือเปนครั้งที่ 2 ในดินแดนประเทศไทยปจจุบัน
รัชกาลที่ 2 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย (พ.ศ. 2352 - 2367) ทรงบรณะวัดอรุณ-

ราชวราราม วัดสุทัศนเทพวราราม และฟนฟูประเพณีวิสาขบูชา

รัชกาลที่ 3 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (พ.ศ. 2367 - 2394) ทรงสราง 3 วัด คือ

วัดเฉลิมพระเกียรติ วัดเทพธิดารามวรวิหาร และวัดราชนัดดารามวรวิหาร และทรงบูรณะ ปฏิสังขรณวัด
มีจํานวนมากถึง 50 วัด พระองคเชิดชูกําเนิดธรรมยุติกนิกาย ในป พ.ศ. 2376 เนื่องจากพระองค
เลื่อมใสในจริยาวัตรของพระมอญ ซึ่งเปนรูปแบบนิกายธรรมยุต มีวัดบวรนิเวศราชวรวิหาร เปน

ศูนยกลาง ทรงสรางพระไตรปฎกเปนจํานวนมากยิ่งกวารัชกาลใด ๆ
ตอมาสมัยรัชกาลที่ 4 พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว (พ.ศ. 2394 - 2411) ทรงสราง

พระไตรปฎก ปฏิสังขรณวัด กําเนิดการบําเพ็ญกุศลพิธีมาฆบูชา เปนครั้งแรกที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
และสงสมณฑูตไปลังกา

สมัยรัชกาลที่ 5 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยหัว (พ.ศ. 2411 - 2453) ทรงสราง
ู
พระไตรปฎกแปลจากอักษรขอมเปนอักษรไทย ปฏิสังขรณวัดตาง ๆ ทรงตราพระราชบัญญัติคณะสงฆ

และสถาปนาการศึกษาสําหรับพระสงฆ 2 แหง คือ มหามกุฏราชวิทยาลัย ที่วัดบวรนิเวศวิหาร และมหา-
จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ที่วัดมหาธาตุ

ู
สมัยรัชกาลที่ 6 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยหัว (พ.ศ.2453 - 2468) ทรงประกาศใช
พุทธศักราชทางราชการตั้งแตวันที่ 1 เมษายน 2456 เปนตนมา ทรงสรางโรงเรียนและบูรณะวัดตาง ๆ

ทรงพระราชนิพนธหนังสือทางพระพุทธศาสนา คือ พระพุทธเจาตรัสรูอะไร และเทศนาเสือปา
สมัยรัชกาลที่ 7 พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว (พ.ศ. 2468 - 2477) ทรงพิมพระไตรปฎก

เรียกวา "พระไตรปฎกสยามรัฐ" มีตราชางเปนเครื่องหมายเผยแพร ทรงประกวดหนังสือสอนพระพุทธศาสนา

สําหรับเด็ก ทรงเพิ่มหลักสูตรจริยศึกษา (อบรมใหมีศีลธรรมดีงามขึ้น) แตเดิมมีเพียงหลักสูตรพุทธศึกษา
(ใหมีปญญาความรู) และพลศึกษา (ฝกหัดใหเปนผูมีรางกายสมบูรณ)

11

สมัยรัชกาลที่ 8 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวอานันทมหิดล (พ.ศ. 2477 - 2489) มีการแปล

พระไตรปฎกเปนภาษาไทย ทรงตราพระราชบัญญัติคณะสงฆ พ.ศ. 2484 เลิกการปกครองสงฆแบบ
มหาเถรสมาคมที่ใชมาตั้งแตสมัยรัชกาลที่ 5

สมัยรัชกาลที่ 9 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (พ.ศ. 2489 - 2559) มีการ
จัดงานฉลอง 25 พุทธศตวรรษในป พ.ศ. 2500 มีการสรางพุทธมณฑลไวที่ตําบล ศาลายา จังหวัดนครปฐม

มีการสงพระสงฆไปเผยแผศาสนาพุทธในตางประเทศ เสด็จออกผนวชที่วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร และ
มีโรงเรียนพุทธศาสนาในวันอาทิตย

1.2 ศาสนาอิสลามในประเทศไทย

ประวัติศาสดา

ศาสดาของศาสนาอิสลาม คือ ทานนบีมุฮัมมัด เปนบุตรของอับดุลลอหแหงอารเบีย
ทานไดรับมอบหมายใหเผยแผสาสนของอัลลอฮพระผูเปนเจา

ทานศาสดานบีมุฮัมมัด เกิดที่มหานครมักกะห (เมกกะ) ตรงกับวนจันทรที่ 17 (บางก็วา 12)

เดือน รอบีอุลเอาวัล ในปชาง ค.ศ. 570 (พ.ศ. 1113) ในตอนแรกเกิดกายของมุฮัมมัด มีรัศมีสวางไสวและ
มีกลิ่นหอมเปนศุภนิมิตบงถึงความพิเศษของทารก ปที่ทานเกิดนั้นเปนปที่อุปราชอับรอฮะห แหง

อาณาจักรอักซุม (เอธิโอเปยปจจุบัน) กรีฑาทัพชางเขาโจมตีมหานครมักกะฮ เพื่อทําลายกะอบะฮ

อันศักดิ์สิทธิ์ แตอัลลอฮไดทรงพิทักษมักกะฮดวยการสงกองทัพนกที่คาบกรวดหินลงมาทิ้งบนกองทัพนี้
จนไพรพลตองลมตายระเนระนาด เนื้อตัวทะลุดุจเหมือนใบไมถูกหนอนกัดกิน อุปราชอับรอฮะห
จึงตองถอยทัพกลับไปและเสียชีวิตไปในที่สุด

12

ในปเดียวกันนั้นมีแผนดินไหวเกิดขึ้นในเปอรเซีย เปนเหตุใหพระราชวังอะนูชิรวานของ
จักรพรรดิเปอรเชียสั่นสะเทือนถึงรากเหงาและพังทลายลง ยังผลใหไฟศักดิ์สิทธิ์ในวิหารบูชาไฟของ
พวกโซโรอัสเตอรที่ลุกอยูเปนพันปนั้นตองดับลงไปดวย

เมื่อมูฮัมมัดมี อายุได 20 ป กิตติศัพทแหงคุณธรรมและความสามารถในการคาขายกเขาถึงหู

ของเคาะดีญะฮ บินติคุวัยลิค เศรษฐีนีหมายผูมีเกียรติจากตระกูลอะซัดแหงเผากุเรช นางจึงเชิญให
ทานเปนผูจัดการในการคาของนาง โดยใหทานนําสินคาไปขายยังประเทศซีเรีย ในฐานะหัวหนากองคาราวาน
ปรากฏผลวา การคาดําเนินไปดวยความเรียบรอย และไดกําไรเกินความคาดหมาย จึงทําใหนางพอใจ

ในความสามารถและความซื่อสัตยของทานเปนอยางมาก
เมื่ออายุ 30 ป ทานไดเขารวมเปนสมาชิกในสหพันธฟุดูลอัน เปนองคการพิทักษสาธารณภัย

ประชาชน เพื่อขจัดทุกขบํารุงสุขใหประชาชน กิจการประจําวันของทาน ก็คือประกอบแตกุศลกรรม
ปลดทุกขขจัดความเดือดรอน ชวยเหลือผูตกยาก บํารุงสาธารณกุศล

เมื่ออายุ 40 ป ทานไดรับวิวรณจากอัลลอฮพระผูเปนเจาในถ้ําฮิรออ ซึ่งอยูบนภูเขาลูกหนึ่ง
นอกเมืองมักกะฮ โดยทูตสวรรคญิบรีล เปนผูนํามาบอกเปนครั้งแรกเรียกรองใหทานรับหนาที่เปน

ผูเผยแผศาสนาของอัลลอฮ ดั่งที่ศาสดามูซา (โมเสส) อีซา (เยซู) เคยทํามา นั่นคือ ประกาศใหมวล
มนุษยนับถือพระเจาเพียงองคเดียว ทานไดรับพระโองการติดตอกันเปนเวลา 23 ป พระโองการ

เหลานี้รวบรวมขึ้นเปนเลม เรียกวา คัมภีรอัลกุรอาน
ในตอนแรกทานเผยแผศาสนาแกวงศญาติและเพื่อนใกลชิดเปนภายในกอน ทานค็อดีญะหเองได

สละทรัพยสินเงินทองของทานไปมากมาย และทานอบูฎอลิบก็ไดปกปองหลานชายของตนดวยชีวิต
ตอมาทานไดรับโองการจากพระเจาใหประกาศเผยแผศาสนาโดยเปดเผย ทําใหญาติพี่นองในตระกูล

เดียวกันชาวกุเรชและอาหรับเผาอื่น ๆ ที่เคยนับถือทานพากันโกรธแคนตั้งตนเปนศัตรูกับทานอยาง
รุนแรงถึงกับวางแผนสังหารทานหลายครั้ง แตก็ไมสําเร็จ ชนมุสลิมถูกคว่ําบาตรไมสามารถทําธุรกิจกับ

13

ผูใดจนตองอดอยากเพราะขาดรายไดและไมมีเงินที่จะซื้ออาหาร อบูซุฟยาน แหงตระกูลอุมัยยะห

และอบูญะฮัล คือ สองในจํานวนหัวหนามุชริกูนที่ไดพยายามทําลายลางศาสนาอิสลาม
เมื่อชาวมุชริกูนเอาชนะรัฐอิสลามไมได ก็ไดมีการทําสัญญาสงบศึกกันในเดือน มีนาคม ค.ศ. 628

เรียกสัญญาสงบศึกครั้งนั้นวา สัญญาฮุดัยบียะห
ตอมาในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 629 ชาวมักกะหไดละเมิดสัญญาสงบศึกในเดือนมกราคม

ป ค.ศ. 630 ทานนบีจึงนําทหาร 10,000 คน เขายึดเมืองมักกะห ทานจึงประกาศนิรโทษกรรมใหชาวมักกะห
เกือบทั้งหมด ยกเวนบางคนในจํานวนนั้นมีอัลฮะกัม แหงตระกูลอุมัยยะห ที่ทานนบีประกาศใหทุกคน

คว่ําบาตรเขา การนิรโทษกรรมครั้งนี้ มีผลใหชาวมักกะหซาบซึ้งในความเมตตาของทาน จึงพากัน
หลั่งไหลเขานับถือศาสนาอิสลามเปนจํานวนมาก ทานนบีมูฮัมมัดไดสิ้นชีวิต ที่เมืองมดีนะห เมื่อวันจันทร

ที่ 12 ป ค.ศ. 632 รวมอายุได 63 ป

การเผยแผศาสนาอิสลามเขามาสูประเทศไทย

จากบันทึกทางประวัติศาสตรของมุสลิม ชนชาติเปอรเซียและชนชาติอาหรับ ไดเดินทางมา
ทางทะเลมาทําการคาขายกับเมืองไทยตั้งแตสมัยสุโขทัยแตไมมีผูใดรับราชการในราชสํานักไทย
นอกจากชาวมุสลิมในทองถิ่นภาคใต นับตั้งแตนครศรีธรรมราชลงไปจรดปลายแหลมมลายู สิงคโปร

และมะละกา นั้น เจาผูครองนครแทบทุกเมืองเปนชาวมุสลิมมาแตเดิม ไมปรากฏวาทางกรุงสุโขทัย
สงคนทางสุโขทัยไปปกครองแมแตคนเดียว และเมืองตาง ๆ ทางภาคใต เปนประเทศราชของกรุงสุโขทัย

ตองสงดอกไมเงินดอกไมทองเปนเครื่องบรรณาการตามกําหนด หากเมืองใดแข็งเมืองทางเมืองหลวง
จะยกกองทัพไปปราบเปนครั้งคราวและอยูรวมกันอยางมีความปกติสุขเปนเวลาหลายรอยป

เจาพระยาบวรราชนายก ตําแหนง วางจางมหาดไทย นับวาทานเปนผูนําศาสนาอิสลาม
นิกายชีอะหเขามาสูประเทศไทย และเปนจุฬาราชมนตรีคนแรก เมื่อทานถึงแกกรรมศพทานฝงไวที่

สุสานบริเวณทากายี ปจจุบันเปนมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ทานเปนตนตระกูลอหะหมัดจุฬา
ตระกูลจุฬารัตน ตระกูลบุญนาค ตระกูลศรีเพ็ญ ตระกูลบุรานนท ตระกูลศุภมิตร ในสมัยพระเจาทรงธรรม

มีชาวเปอรเซีย ชื่อวา ทานโมกอล อพยพครอบครัวและบริวารมาจากเมืองสาเลห เกาะชวากลาง
เนื่องจากถูกชาติโปรตุเกสรุกราน ทานสะสมกําลัง สรางปอมคายที่บานหัวเขาแดง จังหวัดสงขลา

เพราะตองปองกันตัวจากโจรสลัด เจาพระยานครศรีธรรมราช ซึ่งมีหนาที่ดูแลหัวเมืองภาคใตได
รายงานเรื่องนี้ใหกรุงศรีอยุธยาทราบเรื่อง พระเจาทรงธรรม โปรดเกลาฯ แตงตั้งใหทานโมกอล เปน

ขาหลวงผูสําเร็จราชการเมืองสงขลา เมื่อทานโมกอลถึงแกอสัญกรรมบุตรชาย คือ ทานสุลัยมาน เปน
ผูสําเร็จราชการตอมา และเมื่อเจาพระยากลาโหมศรสุริยวงศ ปราบดาภิเษกโดยทําการประหาร

พระเชษฐาธิราช คือ พระเจาทรงธรรม และพระโอรสสิ้นชีวิตและสถาปนาตนเปนกษัตริย ทรงพระนามวา
พระเจาปราสาททอง ทานสุลัยมานจงรักภักดีตอพระเจาหลวง จึงไมเห็นดวย แลวประกาศแข็งเมือง

14

เมื่อ พ.ศ. 2173 สถาปนาตนเปนสุลตาน ชื่อ สุลตานสุลัยมานชาห ตลอดสมัยปรับปรุงเมืองสงขลาเปน

เมืองทาสําคัญ มีกําลังทหารเขมแข็งทั้งทางน้ําและทางบก กรุงศรีอยุธยาเคยยกกองทัพไปปราบ 2 ครั้ง
แตเอาชนะไมได สุลตานสุลัยมานชาห ปกครองสงขลาอยู 46 ป สรางความเจริญกาวหนาทั้งดาน

การคา มีโกดังสินคามากมาย และการทางคมนาคม ทําใหไมตองออมเรือไปยังสิงคโปร ทําใหยนระยะทาง
ไดมาก ทานถึงแกกรรม เมื่อ พ.ศ. 2211 ศพทานฝงไว ณ สุสานบริเวณเขาแดง ปจจุบันขึ้นทะเบียนเปน

โบราณสถานของชาติ คนทั่วไปนับถือทานมาก เรียกทานวา ดาโตะมะหรุม หมายถึง ดาโตะผูลวงลับ
นั่นเอง ในสมัยสมเด็จพระนารายณมหาราชดําริวา ในพระราชอาณาจักรของพระองคไมควรมีกษัตริย

องคอื่นอีก จึงยกทัพไปปราบนครสงขลา ซึ่งสุลตานมุตตาฟา บุตรของสุลตานสุลัยมานชาห ครองอยู
และรบชนะ สมเด็จพระนารายณมหาราช จึงใหทานสุลตานมุตตาฟา และครอบครัวยายไปอยูเมืองไชยา

และสลายเมืองสงขลาเสีย สมเด็จพระนารายณมหาราช มิไดถือโทษสุลตานมุตตาฟา เพราะถือวาเปน
ชวงผลัดแผนดิน ตอมาพระองคโปรดเกลาฯ ใหสุลตานมุตตาฟา เปนพระไชยา ภาษาถิ่นนามวา ยา มี
ตําแหนงเปน “พระยาพิชิตภักดีศรีพิชัยสงคราม”ที่ไชยา เกิดเปนหมูบางสงขลา มีการปกหลักประตูเมือง

เรียกวา เสาประโคน อยูกลางเมืองเปนหลักฐานมาจนทุกวันนี้ สวนนองชายของพระชายา คือ

ทานหะซันและทานรูเซ็น โปรดเกลาฯ ใหรับราชการในกรุงศรีอยุธยาพรอมกับบุตรชายคนโต คือ เตาฟค
ทานหะซัน ชํานาญการเดินเรือและทหารเรือ จึงโปรดเกลาฯ เปน พระยาราชบังสัน วาที่แมทัพเรือ
ของกรุงศรีอยุธยา และตําแหนงนี้ไดสืบทอดตอเนื่องในสายสกุลของทาน นับวาโชคดีของประเทศไทย

ที่ตลอดระยะเวลาของกรุงศรีอยุธยา กรุงธนบุรี และกรุงรัตนโกสินทร จนถึงสมัยของพระบาทสมเด็จ-
พระจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 4 มีขาราชการตําแหนงสําคัญ ๆ นับถือศาสนาอิสลามไมขาดสาย

เชน ตําแหนงลักษมณา เปนภาษามาเลเซีย แปลวา นายพลเรือ ตั้งแตสมัยกรุงศรีอยุธยาถึงกรุง-
รัตนโกสินทร เปนตําแหนงที่แตงตั้งเฉพาะคนมุสลิมเทานั้น

เปนที่นาสังเกตอีกอยางหนึ่งวา ศาสนาอิสลาม นิกายซุนหนี่และนิกายชีอะหในประเทศไทย
อยูรวมกันมาตั้งแตสมัยพระเจาทรงธรรม แหงกรุงศรีอยุธยา นิกายซุนหนี่นั้นมีมาแตเดิมในแผนดิน

สุวรรณภูมิ สวนนิกายชีอะหนั้นไดเขามาพรอมกับทานเฉกอะหมัด สมัยพระเจาทรงธรรม ทั้งสองนิกายนี้
ผูกมิตรกันโดยมีการแตงงานระหวางกัน

หัวเมืองชายแดนภาคใต ตั้งแตสมัยกรุงศรีอยุธยา ดินแดนของไทยครอบคลุมถึงหลายหวเมือง

ในประเทศมาเลเซียปจจุบัน คือ ไทรบุรี (เคดาห) กลันตัน ตรังกานู ปะลิศ สวนดินแดนในเขตประเทศไทย

ปจจุบันมีปตตานี เปนเมืองใหญ ครอบคลุมไปถึงยะลา นราธิวาส สตูล ตกอยูในประเทศราชของไทย
ตองสงดอกไมเงินดอกไมทองเปนบรรณาการมายังกรุงศรีอยุธยามาโดยตลอด บางครั้งเมื่อมีการผลัด

แผนดินโดยการปราบดาภิเษก เจาเมืองเหลานั้นมักถือโอกาสแข็งเมือง ตั้งตนเปนอิสระบอยครั้ง ทาง
กรุงศรีอยุธยาตองสงกองทัพไปปราบ เมื่อปราบแลวไดกวาดตอนคนมากรุงศรีอยุธยาดวย เชน ที่ตําบล

คลองตะเคียน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีชาวมุสลิมเชื้อสายปตตานีจํานวนมาก สวนชาวมุสลิม

15

แขกเทศหรือแขกแพ เชื้อสายเปอรเซียหรืออาหรับ มีภูมิลําเนาอยูแถบหัวแหลม หรือทากายี เปนชาว-

มุสลิมชีอะห เชื้อสายเปอรเซีย
ในปจจุบันชาวมุสลิมในประเทศไทย สามารถอยูรวมกับคนไทยพุทธไดโดยมีกิจกรรมที่สําคัญ ๆ

รวมกัน คือ การติดตอคาขาย การศึกษารัฐธรรมนูญไทยทุกฉบับปรากฏขอความสําคัญ คือ
พระมหากษัตริยไทยทรงเปนอัครศาสนูปถัมภกทุกศาสนา แตในปจจุบันมีปญหาที่ 3 จังหวัดภาคใต

คือ ยะลา ปตตานี นราธิวาส ซึ่งไมไดเกิดจากปญหาความแตกตางทางศาสนา แตเกิดจากคนบางกลุม
ยังไมเขาใจกันดีเพียงพอ จึงเกิดการปะทะกัน และรัฐบาลไทยทุกสมัยพยายามแกไขปญหานี้โดยตลอด

ในป พ.ศ. 1847 - 1921 อิบนีบาตูเตาะห ชาวโมร็อกโกเชื้อสายอาหรับ ทําการเผยแพรศาสนา
อิสลาม นิกายซุนหนี่ ขึ้นทางเกาะสุมาตราตะวันตกเฉียงเหนือ โดยทําใหราชาซอและหยอมรับนับถือ

ศาสนาอิสลาม เพราะในคัมภีรอัลกุรอานนั้น มีบทบัญญัติทั้งทางโลกทางธรรมมีหลักวิชาเศรษฐศาสตร
นิติศาสตร วิทยาศาสตร ปรัชญา การเมือง การสังคม การอาชีพ การคาขาย การแพทยการเปนหนี้สิน
การบริโภคอาหาร การสมรส การหยาราง การครองเรือน การแบงมรดก การศึกษาการทูต

การสงคราม และกิจวัตรประจําวันของบุคคลแตละคน ดังนั้น เมื่อมีพระราชาศรัทธาในศาสนาจึง

เผยแผศาสนาอิสลามไปในหมูพสกนิกรและจัดระบบการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ สังคม การสมรส
การครองเรือน ตามพระราชบัญญัติพระคัมภีรอัลกุรอาน และพระราชาธิบดี เปลี่ยนจากราชาซอและห
มาเปน สุลตานซอและห ที่เขมแข็งและเด็ดขาด และจากนั้นศาสนาอิสลามเผยแผไปยังรัฐใกลเคียง

จนกลายเปนรัฐอิสลาม และขยายขึ้นมาจากตอนเหนือของมลายูเขามาสูตอนใตของประเทศไทย และ
ปรากฏหลักฐานวา เจาผูครองนครทางภาคใตของประเทศไทยจนถึงเมืองนครศรีธรรมราช นับถือ

ศาสนาอิสลามทั้งสิ้น ศาสนาอิสลามจากอินเดียใตเขามาสูมาเลเซีย ภาคใตของประเทศไทย สุมาตรา
ชวา บอรเนียว แบบพิธีของศาสนาอิสลามในสวนนี้ของโลกเปนแบบอินโด - เปอรเซียน เชนเดียวกับ

ในอินเดียและเปอรเซีย ซึ่งตางจากศาสนาอิสลามในอาระเบีย ประมาณคริสตศตวรรษที่ 9 อิสลามได
มาถึงฝงมะละกา เมื่อมารโคโปโลเดินทางเรือผานชวาเขาเขียนวา ผูคนตามเมืองทาเปนมุสลิมทั้งสิ้น

1.3 ศาสนาคริสตในประเทศไทย

ประวัติศาสดา

ศาสดาของศาสนาคริสต คือ พระเยซู เกิดในชนชาติฮีบรู หรือ ยิว หรือ อิสราเอล พระเยซูคริสต
ถือเปนพระบุตรของพระเจามาบังเกิดในชาตินี้ เมื่อจัดศาสนาของพระเจา คือ พระยะโฮวาคริสต
มีรากศัพทมาจากภาษาโรมัน หรือ ภาษากรีก ที่แปลมาจาก คําวา เมสสิอาห ในภาษาฮีบรู แปลวา

ผูปลดเปลื้องทุกขภัย

16

พระเยซู เกิดที่หมูบานเบธเลเฮม แขวงยูดาย กรุงเยรูซาเล็ม ในปาเลสไตน เมื่อ พ.ศ. 543

แตไปเติบโตที่ เมืองนาซาเรธ แควนกาลินี หางจากนครยูซาเล็ม ประมาณ 55 ไมล มารดาของพระเยซู
ชื่อมาเรีย หรือ มารีย บิดาชื่อ โยเซฟ อาชีพชางไม ตามประวัติมาเรีย มารดาพระเยซูนั้น ตั้งครรภมากอน

ขณะที่โยเซฟ ยังเปนคูหมั้นมิไดอยูกินดวยกัน รอนถึงเทวทูตของพระเจา หรือ พระยะโฮวาห คือ เทวา-
คาเบรียล ตองมาเขาฝนบอกโยเซฟใหรูวาบุตรในครรภของมาเรีย เปนบุตรของพระเจา เปนผูมีบุญมาก

ใหตั้งชื่อวา พระเยซู ตอไปคนผูนี้จะชวยไถบาปใหชาวยิวรอดพนจากความทุกขทั้งปวง โยเซฟ ปฏิบัติ
ตามคําของทูตแหงพระเจา รับมาเรียมาอยูดวยกันโดยมิไดสมสูเยี่ยงสามีภรรยา พระเยซูไดรับการ

เลี้ยงดูอยางดี มีความรูภาษากรีกแตกฉาน ศึกษาพระคัมภีรเกา ไดมอบตัวเปนศิษยของโยฮัน
ผูแตกฉานในคัมภีรของยิว เมื่อเยซูเติบโตเปนผูใหญ มีนิสัยใฝสงบ ชอบอยูในวิเวก ใฝใจทางศาสนา

เมื่ออายุได 30 ป ไดรับศีลลางบาปจากจอหน โดยอาบน้ําลางบาปที่แมน้ําจอรแดน ตั้งแตนั้นมา
ถือวา พระเยซูไดสําเร็จภูมิธรรมสูงสุดในศาสนาคริสต เปนศาสดาบําเพ็ญพรต อดอาหาร เพื่อการคิด
พิจารณาธรรมอยูในปาสงัด ถึง 40 วัน จากนั้นจึงออกประกาศศาสนาเผยแผศาสนาอยู 3 ป พระเยซู

สั่งสอนไปทั่วประเทศปาเลสไตน หรือ อิสราเอล ประมาณ 3 ป มีผูนับถือพระเยซูมากขึ้น แตก็ทําให

พวกปุโรหิต พวกธรรมาจารย และพวกฟารซี เกลียดชัง ขณะที่พระเยซูพรอมสาวก 12 คนกําลัง
รับประทานอาหารค่ํามื้อสุดทาย ทหารโรมันก็จูโจมเขาจับพระเยซูและสาวกในขอหาเปนกบฏตอ
ซีซารโรมัน ตั้งตนเปนบุตรพระเจา เปนพระเมสสิอาห ถูกตัดสินใหลงโทษประหารชีวิตโดยการตรึงกับ

ไมกางเขนไว 3 วน ไดสิ้นพระชนมและเสด็จไปสูสวรรค พระเยซูไดเลือกอัครสาวก 12 คนเปนหลัก

สืบศาสนาตอไป โดยมีนักบุญเปโตร (Saint Peter) เปนหัวหนา ผูรับตําแหนงนักบุญเปโตร ตอ ๆ มาจนถึง

ปจจุบัน เรียกวา สมเด็จพระสันตะปาปา


ประเทศไทยมศาสนาคริสตที่สําคัญอยู 2 นิกาย คือ นิกายโรมันคาทอลิกและนิกายโป
รเตสแตนดดังนี้

1. นิกายโรมันคาทอลิก คริสตศาสนานิกายโรมันคาทอลิก นับถือพระแมมารี และนักบุญตาง ๆ
มีศูนยกลางอยูที่กรุงวาติกัน กรุงโรม มีพระสันตะปาปา เปนประมุขโดยสืบทอดมาตั้งแต

สมัยอัครสาวกกลุมแรก โดยถือวา นักบุญเปโตร หรือ นักบุญปเตอร คือ พระสันตะปาปา
พระองคแรก ทรงไปสั่งสอนที่กรุงโรม ขณะนั้นเทียบไดกับนครหลวงของโลก ทรงเผยแผ

คําสอนอยู 25 ป ทําใหกรุงโรมเปนศูนยกลางของศาสนา จึงเกิดคําวา โรมันคาทอลิก
พระองคไดรับการยินยอมจากพระเจาใหปกครองศาสนจักรทั้งมวลและสืบทอดมาถึง

พระสันตะปาปาเบนนิดิก ที่ 16 องคปจจุบันเปนองคที่ 265 คาทอลิกนั้นจะมีนักบวช
ที่เรียกวา บาทหลวง และซีสเตอร (แมชี) ชาวไทยจะเรียกผูนับถือนิกายนี้วา “คริสตรัง”

17

ตามเสียงอานภาษาโปรตุเกส ผูเผยแพรยุคแรก ๆ มีผูนับถือนิกายนี้ประมาณ 1,000 ลานคน

นิกายนี้ถือวา พระ (บาทหลวง) เปนสื่อกลางของพระเจา
2. นิกายโปรเตสแตนต แยกตัวมาจากนิกายโรมันคาทอลิก ในชวงคริสตศตวรรษที่ 16



เปนนิกายที่ถือวา ศรัทธาของแตละคนที่มีตอพระเจาสําคัญกวาพิธีกรรม ซึ่งยงแตกยอย
ออกเปนหลายรอยนิกาย เนื่องจากมีความเห็นแตกตางเกี่ยวกับพระคัมภีรและการ
ปฏิบัติในพิธีกรรม นิกายนี้มีเพียงไมกางเขน เปนเครื่องหมายแหงศาสนาเทานั้น มีผูนับถือ
รวมกันทุกนิกายยอยประมาณ 500 ลานคน

การเผยแผนิกายโรมันคาทอลิกในประเทศไทย

คริสตศาสนาที่เผยแผในไทยเปนครั้งแรกตรงกับสมัยกรุงศรีอยุธยา ตั้งแตรัชสมัยสมเด็จ
พระมหาธรรมราชา ประมาณ พ.ศ. 2127 (ค.ศ. 1584) โดยนิกายแรกที่มาเผยแพร คือ นิกายโรมัน-


คาทอลิก ซึ่งมีทั้งคณะโดมินิกัน (Dominican) คณะฟรังซิสกัน (Franciscan) และคณะเยซอิต (Jesuit)
บาทหลวงสวนมากมาจากโปรตุเกสและสเปน โดยเดินทางมาพรอมกับทหารและพอคา

ระยะแรกที่ยังถูกปดกั้นทางศาสนา มิชชันนารี จึงเนนการดูแลกลุมคนชาติเดียวกัน กระทั่ง
รัชสมัยสมเด็จพระนารายณมหาราช ประเทศไทยไดมีสัมพันธภาพอันดีกับฝรั่งเศส ตรงกับรัชสมัย

พระเจาหลุยสที่ 4 ทําใหมีจํานวนบาทหลวงเขามาเผยแผศาสนามากขึ้น และการแสดงบทบาททาง
สังคมมากขึ้นบางก็อยูจนแกหรือตลอดชีวิตก็มี

ดานสังคมสงเคราะห มีการจัดตั้งโรงพยาบาล ดานศาสนา มีการตั้งโรงเรียนสําหรับสามเณร
คริสเตียน เพื่อผลิตนักบวชพื้นเมือง และมีการโปรดศีลบวชใหนักบวชไทยรุนแรก และจัดตั้ง คณะภคิณี

คณะรักไมกางเขน
เมื่อสิ้นรัชสมัยสมเด็จพระนารายณมหาราชแลว คริสตศาสนากลับไมไดรับความสะดวกใน

การเผยแผศาสนาเชนเดิม เพราะถูกจํากัดขอบเขต ถูกหามประกาศศาสนา ถูกหามเขียนหนังสือ
ศาสนาเปนภาษาไทยและภาษาบาลี ประกอบกับพมาเขามารุกรานประเทศไทย บาทหลวงถูกย่ํายี
โบสถถูกทําลาย มิชชันนารีทั้งหลายรีบหนีออกนอกประเทศ การเผยแผคริสตศาสนายุติในชวงเสีย

เอกราชใหพมา
กระทั่ง พระเจาตากสินมหาราช กอบกูเอกราชสําเร็จ แมการเผยแผคริสตศาสนาเริ่มตนขึ้นใหม

แตเพราะประเทศกําลังอยูในภาวะสรางบานเมืองขึ้นใหม จึงไมกาวหนาเทาที่ควร
เมื่อเขาสูราชวงศจักรีแลว ชาวคริสตอพยพเขามามากขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่งในรัชสมัย

พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว พระองคทรงเปดเสรีการนับถือศาสนาและทรงประกาศ
พระราชกฤษฎีกาใหทุกคนมีสิทธิในการนับถือศาสนาใดก็ได

18

ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว แมวาสัมพันธภาพระหวางไทยกับ

ฝรั่งเศสไมดีนัก แตพระองคก็ทรงรับรองมิสซังโรมันคาทอลิก เปนนิติบุคคล
ดานสังคมสงเคราะห ในรัชสมัยนี้ทรงพระราชทานเงินทุนในการกอสรางโรงเรียน เกิดโรงเรียน

อัสสัมชัญ ใน พ.ศ. 2420 (ค.ศ. 1877) ภายหลังเกิดโรงเรียนอีกหลายแหง เชน โรงเรียนอัสสัมชัญ-
คอนแวนต โรงเรียนเซ็นตฟรังซิสซาเวียร และโรงพยาบาลเซนตหลุยส

การเผยแพรคริสตศาสนานิกายโปรเตสแตนตในประเทศไทย
คณะเผยแพรของนิกายโปรเตสแตนต กลุมแรกที่เขามาประเทศไทยตามหลักฐานที่ปรากฏ

คือ ศิษยาภิบาล 2 ทาน ศาสนาจารยคารล ออกัสตัส เฟรดเดอริค กุตสลาฟ เอ็ม.ดี (Rev. Carl Friedrich
Augustus Gutzlaff) ชาวเยอรมันจากสมาคมเนเธอรแลนดมิชชันนารี (Netherlands Missionary

Society) และศาสนาจารยจาคอบ ทอมลิน (Rev.Jacob Tomlin) ชาวอังกฤษ จากสมาคมลอนดอน
มิชชันนารี (London Missionary Society) มาถึงประเทศไทย เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2371

(ค.ศ. 1828) ทั้งสองทานชวยกันเผยแพรศาสนาดวยความเขมแข็ง
ตอมาจึงมีศาสนาจารยจากคณะอเมริกันบอรด (The American Board of Commissioners

for Foreign Missions หรือ A.B.C.F.M.) เขามา
ในบรรดานักเผยแพรศาสนานั้น ผูที่มีชื่อเสียง คือ หมอสอนศาสนา แดน บีช บรัดเลย เอ็ม ดี


(Rev. Dan Beach Bradley,M.D.) หรือ หมอบรัดเลย (คนไทยมกเรียกวา หมอบลัดเล) ซึ่งเปนเพรส-
ไบทีเรียน ในคณะอเมริกันบอรด เขามากรุงเทพฯ (ขณะนั้นเรียกวา บางกอก) พรอมภรรยา เมื่อวันที่

18 กรกฎาคม พ.ศ. 2378 (ค.ศ. 1835)
ตลอดเวลาที่ทานอยูในประเทศไทยไดสรางคุณประโยชนมากมาย โดยเฉพาะอยางยิ่งทาง

การแพทยและการพิมพ ทั้งรักษาผูปวยไขทรพิษและอหิวาตกโรค นําการผาตัดเขามาครั้งแรก
การทดลองปลูกฝดาษในประเทศไทย ริเริ่มการสรางโรงพิมพ เริ่มจากจัดพิมพใบประกาศหามคาฝน

และจัดพิมพหนังสือ “บางกอกกาลันเดอร” ซึ่งเปนจดหมายเหตุรายวัน กลาวไดวา ความเชื่อมั่นของ
ชาวไทยตอการเผยแผคริสตศาสนา เกิดจากคณะสมาคมอเมริกันมิชชันนารี นําความเจริญเขามา
ควบคูไปกับการเผยแผศาสนา

มิชชันนารีที่สําคัญอีก 2 กลุม ไดแก คณะอเมริกันแบ็พติสมิชชัน (The Americam Baptist
Mission) เปนผูกอตั้งคริสตจักรโปรเตสแตนตแหงแรกในกรุงเทพฯ เมื่อประมาณกลาง ป พ.ศ. 2380

(ค.ศ. 1837) และจัดพิมพหนังสือภาษาไทยและภาษาอังกฤษ รวมทั้งออกหนังสือพิมพ “สยามสมัย”

คณะอเมริกันเพรสไบทเรียน บอรด (The American Presbyterian Board) เปนอีกกลุมหนึ่ง
ที่นําความเจริญสูประเทศไทย เชน ดร.เฮาส (Samuel R. House) นําการใชอีเทอรเปนยาสลบครั้งแรก
ในประเทศไทย ขณะที่ศาสนาจารยแมตตูน และภรรยา (Rev. and Mrs. Stephen Mattoon)

19

ริเริ่มเปดโรงเรียนแบบเชาไปเย็นกลับ ซึ่งตอมาไดรวมกับโรงเรียนประจําของมิชชันและพัฒนาตอมา

เปน โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย ในปจจุบัน

1.4 ศาสนาพราหมณ - ฮินดูในประเทศไทย

ประวัติศาสนา

ศาสนาพราหมณ - ฮินดู ไมมีศาสนา แตนับถือเทพเจาหลายองค ศาสนานี้เกิดในประเทศอินเดีย
เมื่อประมาณ 1,400 ปกอนพุทธศักราช โดยเกิดในสมัยพวกอารยันอพยพเขามาอยูในประเทศอินเดีย

เมื่อประมาณ 1,400 ปกอนพุทธศักราช ถือวาเปนศาสนาที่เกาแกที่สุดในโลกแตเดิมศาสนานี้เรียกวา
สนาตนธรรม หมายถึง ธรรมอันเปนนิตย คือ ไมสิ้นสุดไมรูจักตาย แปลเอาความหมาย คือ พระวิษณุ

หรือเรียกอีกอยางหนึ่งวา วิษณุธรรม พระวิษณุ และพระนารายณ เปนองคเดียวกัน
พระวิษณุไดสอนธรรมะและวิธีปฏิบัติธรรมแกพระพรหมธาดา และพระพรหมธาดาผูไดสอน

สันตกุมาร ผูเปนบุตรอีกชั้นหนึ่ง ตอมาทั้งสองทานก็ไดสั่งสอนแกพระนารถมุนี ผูเปนเทพฤๅษี เพื่อให
เผยแผตอไปยังนานาโลก
สําหรับในโลกมนุษย พระอุปเทศกะ คือ ผูแสดงเรื่องราวทางศาสนา รองลงมาจากนารถมุนี

คือ พระกปลมุนี ผูเกิดมาเปนมนุษยมีตัวตนอยูในโลกไดแสวงธรรมครั้งแรกที่วินทุอาศรม ตอมาไดตั้ง

อาศรมขึ้นที่ปลายแมน้ําคงคา ที่เรียกวา กันคงคาสาคร ดังนั้น ในเดือนธันวาคมและมกราคมของทุกป
จะมีประชาชนจํานวนมากไปจาริกแสวงบุญ ณ ที่ดังกลาว
พระปรมาตมัน เปนพระเจาสูงสุด มีอุปาสยเทพ อยูสามองค คือ พระพรหม พระวิษณุ และ

พระศิวะ พระปรมาตมันไมมีรูปและไมมีตัวตน จึงกลาวกันวาเปน นิรังการ หรือ นิรากาล คือ ไมมีอาการ
หรือ ปราศจากอาการ

ตอมาเมื่อพระปรมาตมัน ประสงคจะสรางโลกก็เลยกลายเปนสาการภาพ คือ เกิดภาวะอันมี
อาการ และเปนสามรูป ไดแก พระพรหมธาดา พระวิษณุ และพระศิวะ

พระพรหม เปนผูสรางโลกตาง ๆ
พระวิษณุ เปนผูคุมครองโลกตาง ๆ

พระศิวะ เปนผูสังหารหรือทําลายโลกตาง ๆ

เทพเจาของศาสนาพราหมณ - ฮินดู

มีอยูเปนจํานวนมาก เปนศาสนาประเภท พหุเทวนิยม นับถือพระเจาหลายองค แตละเทวสถาน
มีเทพเจาแตละองคดูไมออกวาองคไหนสําคัญกวาหรือสูงกวา แตละกลุมนับถือแตละองคบางทีใน
ครอบครัวเดียวกันแตละคนในครอบครัวก็นับถือเทพตาง ๆ กันไป

20

คัมภีรพระเวท เปนคัมภีรที่ประมวลความรูตาง ๆ อันเปนความรูทางศาสนาและสิ่งศักดิ์สิทธิ์

ซึ่งไดแก บทสรรเสริญ บทสวดออนวอนพิธีกรรม เพื่อการบูชายัญ เวทมนตรคาถา และกวีนิพนธ
อันไพเราะเกี่ยวกับธรรมชาติ

ชาวอารยันเมื่อไดครอบครองอินเดียอยางมั่นคงแลว ไดรวบรวมคัมภีรพระเวทตามความเชื่อ
ในศาสนาของพวกตน คําวา “เวทะ” หรือ “เวท” แปลวา “ความรู” อันหมายถึง ความรูที่ไมไดเขียนไว

เปนตํารา แตเปนความรูที่เกิดขึ้นเอง เปนทิพยที่ออกมาจากพระพรหม
ความรู หรือ เวทะ เกิดขึ้นได 2 ทาง ดังนี้

1. ศรุติ การไดยินไดฟง หมายถึง การไดยินเสียงที่เปนทิพย ผูที่ไดยินเสียงทิพย คือ ฤๅษี
ผูศักดิ์สิทธิ์ พวกฤๅษี ทั้งไดเห็น และทั้งไดยินพระเวท เมื่อไดยินแลวจดจําไวอยาง

แมนยํา ตัวอยางเชน พระเวททั้ง 4
2. สมฤติ เปนคัมภีรที่แตงเพิ่มเติมภายหลังเพื่ออธิบายความ หรือประกอบพระเวท
ตลอดจนเรื่องที่อางวาไดจดจํามาจากคําบอกเลาตอกันมา เชน คัมภีรธรรมศาสตร

คัมภีรอิติทาส และคัมภีรปุราณะ เปนตน ความรู หรือ เวทะ ที่สําคัญที่สุดคือ คัมภีร

ไตรเวท
คัมภีรพระเวทเดิม ไดแก ฤคเวท ซึ่งนับไดวาเปนหนังสือที่เกาแกที่สุด ตอมาพวกพราหมณ
ผูมีหนาที่ทําพิธีตาง ๆ ไดคิดนําบทสวดตาง ๆ ในคัมภีรฤคเวท มารวมไวเปนหมวด ๆ เพื่อใหสะดวกแก

การคนจึงไดเกิด มียชุรเวท และสามเวท ขึ้นตามลําดับ คัมภีรพระเวท จึงหมายรวมทั้ง 3 คัมภีรและ
เรียกชื่อวา “ไตรเวท” และหลังจากนี้ไปเปนเวลาหลายรอยป พวกพราหมณไดแตงคัมภีรขึ้นมาอีก

เลมหนึ่งเรียกวา “อถรรพเวท” รวมกันกับคัมภีรเกาเปน 4 คัมภีร แตคงเรียกรวมกันวา “ไตรเวท”
เหมือนเดิม

คัมภีรไตรเวท มีอยู 4 คัมภีร ดังนี้
1. คัมภีรฤคเวท (Rig Veda) เปนคัมภีรที่วาดวยการสวดสรรเสริญและออนวอนเทพเจา

ตาง ๆ
2. คัมภีรยชุรเวท (Yajur Veda) เปนคูมือพิธีกรรมของพราหมณเปนบทรอยแกว อธิบาย

พิธีประกอบพิธีกรรมและบวงสรวง
3. คัมภีรสามเวท (Sama Veda) เปนคัมภีรรวบรวมบทสวดมนต โดยนํามาจากฤคเวท

เปนสวนมาก แตงขึ้นใหมมีประมาณ 78 บท ใชสําหรับสวดในพิธีถวายน้ําโสมและขับกลอม
เทพเจา

4. คัมภีรอถรรพเวท (Athava Veda) เปนคัมภีรที่แตงขึ้นใหมในปลายสมัยพราหมณ
เปนคาถาอาคมมนตขลังศักดิ์สิทธิ์ สําหรับทําพิธีขับไลเสนียดจัญไรและอัปมงคลให

กลับมาเปนสวัสดิมงคล นําความชั่วรายไปบังเกิดแกศัตรู

21

คัมภีรทั้ง 4 นี้ องคประกอบเหมือนกัน 4 หมวด ตอไปนี้

1. มันตระ เปนหมวดที่รวบรวมมนตตาง ๆ สําหรับเปนบทบริกรรมและขับกลอมออนวอน
สดุดีเทพเจา เนื่องในพิธีกรรมบวงสรวง ทําพลีกรรมบูชา

2. พราหมณะ หมวดนี้เปนบทรอยแกวหรือเรียงความ อธิบายระเบียบการประกอบ
พิธีกรรมตาง ๆ ไวอยางละเอียด

3. อารัญญกะ เปนบทรอยแกว ใชเปนตําราคูมือการปฏิบัติของพราหมณ ผูประสงค
ดําเนินตนเปนวานปรัชสถชฎิล หรือ ปริพาชก เพื่อหาความสุขสงบ ตัดความกังวลจาก

การอยูครองเรือน
4. อุปนิษัท เปนคัมภีรที่มีแนวคิดทางปรัชญาอยางลึกซึ้ง เปนตอนสุดทายแหงพระเวท

คัมภีรนี้เนนเรื่องอาตมันเทพเจา โลก และมนุษย ถือวา เปนคัมภีรเลมสุดทายของ
การศึกษา เปนบทสนทนาโตตอบไดอธิบายถึงธรรมชาติ และจักรวาลวิญญาณของ
มนุษย การเวียนวายตายเกิด กฎแหงกรรม และหลักปฏิบัติปรัชญาสังคม ซึ่งเปน

การอธิบายสาระสําคัญของคัมภีรพระเวททั้งหมด ดังนี้

1) ปรมาตมัน คือ วิญญาณดั้งเดิมหรือความเจริญสูงสุดของโลกและชีวิตหรือ
จักรวาลซึ่ง เรียกวา พรหมัน สรรพสิ่งมาจากพรหมัน และในที่สุดก็จะกลับคืนสู
ความเปนเอกภาพกับพรหมันปรมาตกับพรหม จึงเปนสิ่งเดียวกัน

2) อาตมันหรือชีวาตมัน เปนสวนอัตตายอยหรือวิญญาณยอย ซึ่งปรากฏแยก
ออกมาอยูในแตละคน ดังนั้น การที่อาตมันหรือชีวาตมันยอยนี้ไปรวมกับพรหมัน

หรือปรมาตมันได จึงจะพนจากทุกขไมมีการเวียนวายตายเกิดอีกตอไป
3) เรื่องกรรม การที่ชีวาตมันจะกลับคืนสูพรหมันเปนเอกภาพอมตะไดนั้น

ผูนั้นจะตองบําเพ็ญเพียรทํากรรมดีและประกอบพิธีกรรมตาง ๆ ที่เรียกวา โยคะ
คือ กรรมโยคะ ทํากรรมดี ภักติโยคะ มีความภักดีในเทพเจา และชญานโยคะ

การศึกษาจนเขาใจพระเวทอยางถูกตอง คัมภีรของศาสนาพราหมณ - ฮินดู คือ
ไตรเวท หรือ ไตรเพท

การเผยแพรของศาสนาพราหมณในประเทศไทย

ศาสนาฮินดูที่มีอิทธิพลตอวัฒนธรรมไทยนั้น คือ ชวงที่เปนศาสนาพราหมณ โดยเขามา
ที่ประเทศไทยเมื่อใดนั้นไมปรากฏระยะเวลาที่แนนอนนัก ประวัติศาสตรสวนมากสันนิษฐานวา

ศาสนาพราหมณนี้นาจะเขามากอนสมัยสุโขทัย โบราณสถานและรูปสลักเทพเจาเปนจํานวนมากได
แสดงใหเห็นถึงอิทธิพลของศาสนา เชน รูปสลักพระนารายณ 4 กร ถือสังข จักร คทา ดอกบัวสวม

22

หมวกกระบอก เขาใจวานาจะมีอายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 9 - 10 หรือเกาไปกวานั้น (ปจจุบันอยูที่

พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ กรุงเทพมหานคร)
นอกจากนี้ไดพบรูปสลักพระนารายณทําดวยศิลา ที่อําเภอไชยา จังหวัดสุราษฎรธานี โบราณ

สถานที่สําคัญที่ขุดพบ เชน ปราสาทพนมรุง จังหวัดบุรีรัมย ปราสาทหินพิมาย จังหวัดนครราชสีมา
พระปรางคสามยอด จังหวัดลพบุรี เทวสถานเมืองศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ ตอมาในสมัยสุโขทัย

ศาสนาพราหมณ ไดเขามามีบทบาทมากขึ้นควบคูไปกับพุทธศาสนา ในสมัยนี้มีการคนพบเทวรูป
พระนารายณ พระอิศวร พระพรหม พระแมอุมา พระหริหระ สวนมากเปนรูปหลอสําริด

นอกจากหลักฐานทางศิลปกรรมแลว ในดานวรรณคดี ไดแสดงใหเห็นถึงความเชื่อของศาสนา-
พราหมณ เชน ตํารับทาวศรีจุฬาลักษณ หรือ นางนพมาศ หรือแมแตประเพณีลอยกระทง เพื่อขอสมา-

ลาโทษพระแมคงคา นาจะไดอิทธิพลจากศาสนาพราหมณ เชนกัน
ในสมัยอยุธยาเปนสมัยที่ศาสนาพราหมณเขามามีอิทธิพลทางวัฒนธรรม ประเพณี

เชนเดียวกับสุโขทัย พระมหากษัตริยหลายพระองคทรงยอมรับพิธีกรรมที่มีศาสนาพราหมณเขามา
เชน พิธีแชงน้ํา พิธีทําน้ําอภิเษกกอนขึ้นครองราชสมบัติ พิธีบรมราชาภิเษก พระราชพิธีจองเปรียง

พระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ พระราชพิธีตรียัมปวาย เปนตน โดยเฉพาะสมเด็จพระนารายณ- 
มหาราช ทรงนับถือทางไสยศาสตรมาก ถึงขนาดทรงสรางเทวรูปหุมดวยทองคํา ทรงเครื่องลงยา
ราชาวดีสําหรับตั้งในการพระราชพิธีหลายองค ในพิธีตรียัมปวาย พระองคไดเสด็จไปสงพระเปนเจาถึง

เทวสถานทุก ๆ ปตอมาในสมัยรัตนโกสินทรตอนตน
พิธีตาง ๆ ในสมัยอยุธยายังคงไดรับการยอมรับนับถือจากพระมหากษัตริยและปฏิบัติตอกันมา คือ

1. พระราชพิธีบรมราชาภิเษก
พระราชพิธีนี้มีความสําคัญ เพราะเปนการเทิดพระเกียรติขององคพระประมุข

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก ไดโปรดเกลาฯ ใหผูรูแบบแผนครั้งกรุงเกาทําการคนควา
เพื่อจะไดสรางแบบแผนที่สมบูรณตามแนวทางแตเดิมมาในสมัยกรุงศรีอยุธยา และเพิ่มพิธีสงฆเขาไป

ซึ่งมี 5 ขั้นตอน คือ
1.1 ขั้นเตรียมพิธี มีการทําพิธีเสกน้ํา การทําพิธีจารึกพระสุพรรณบัฏดวงพระราช

สมภพ และแกะพระราชลัญจกรประจํารัชกาล
1.2 ขั้นพิธีเบื้องตน มีการเจริญพระพุทธมนต

1.3 ขั้นพิธีบรมราชาภิเษก มีการสรงพระมุรธาภิเษก จากนั้นรับการถวายสิริราช
สมบัติ และเครื่องสิริราชกกุธภัณฑ

23

1.4 ขั้นพิธีเบื้องปลาย เสด็จออกมหาสมาคมและสถาปนาสมเด็จพระบรมราชินีแลว

เสด็จพระราชดําเนินไปทําพิธีประกาศพระองคเปนศาสนูปถัมภกในพระพุทธศาสนา
พรอมทั้งถวายบังคมพระบรมศพ พระบรมอัฐิพระเจาอยูหัวองคกอนและเสด็จ

เฉลิมพระราชมณเฑียร เสด็จเลียบพระนคร
2. การทําน้ําอภิเษก

พระมหากษัตริยที่จะเสด็จขึ้นเถลิงถวัลยราชสมบัติบรมราชาภิเษก จะตองสรง
พระมุรธาภิเษก และทรงรับน้ําอภิเษกกอนไดรับการถวายสิริราชสมบัติ ตามตําราพราหมณน้ําอภิเษกนี้

ใชน้ําจากปญจมหานที คือ คงคา ยมุนา มหิ อจิรวดี และสรภู ซึ่งทําเปนน้ําที่ไหลมาจากเขาไกรลาส
อันเปนที่สถิตของพระศิวะ สมัยรัตนโกสินทรตั้งแตรัชกาลที่ 1 ถึงรัชกาลที่ 4 ใชน้ํา 4 สระในเขต

สุพรรณบุรี คือ สระเกษ สระแกว สระคงคา และสระยมุนา และไดเพิ่มน้ําจากแมน้ําสําคัญในประเทศ
5 สาย คือ
น้ําในแมน้ําบางปะกง ตักที่บึงพระอาจารย แขวงนครนายก

น้ําในแมน้ําเจาพระยา ตักที่ตําบลบางแกว เขตอางทอง

น้ําในแมน้ําราชบุรี ตักที่ตําบลดาวดึงส เขตสมุทรสงคราม
น้ําในแมน้ําเพชรบุรี ตักที่ตําบลทาไชย เขตเมืองเพชรบุรี
3. พระราชพิธีจองเปรียง

คือ การยกโคมตามประทีปบูชาเทพเจาตรีมูรติ กระทําในเดือนสิบสองหรือเดือนอาย
โดยพราหมณเปนผูทําพิธีในพระบรมมหาราชวัง พระราชครูฯ ตองกินถั่ว กินงา 15 วัน สวนพราหมณอื่น

กินคนละ 3 วัน ทุกเชาตองถวายน้ํามหาสังขทุกวัน จนถึงลดโคมลง ตอมสมัยรัชกาลที่ 4 ไดทรงโปรด
ใหเพิ่มพิธีพุทธศาสนาเขามาดวย โดยโปรดใหมีสวดมนตเย็น แลวฉันเชาอาลักษณอานประกาศ

พระราชพิธี จากนั้นแผพระราชกุศลใหเทพยดา พระสงฆเจริญพุทธมนตตอไป จนไดฤกษแลวทรงหลั่ง
น้ําสังขและเจิมเสาโคมชัย จึงยกโคมขึ้น เสาโคมชัยนี้ที่ยอดมีฉัตรผาขาว 9 ชั้น โคมประเทียบ 7 ชั้น

ตลอดเสาทาน้ําปูนขาว มีหงสติดลูกกระพรวน นอกจากนี้มีเสาโคมบริวารประมาณ 100 ตน ยอดฉัตร
มีผาสีขาวสามชั้น

4. พระราชพิธีตรียัมปวาย
เปนพิธีสงทายปเกาตอนรับปใหมของพราหมณ เชื่อกันวาเทพเจาเสด็จมาเยี่ยมโลกทุกป

จึงจัดพิธีตอนรับใหใหญโตเปนพิธีหลวงที่มมานานแลว ในสมัยรัตนโกสินทรไดจัดกันอยางใหญโตมากระทํา

พระราชพิธีนี้ที่เสาชิงชา หนาวัดสุทัศนเทพวราราม ชาวบานเรียกพิธีนี้วา “พิธีโลชิงชา” เดิมพิธีนี้กระทํา

ในเดือนอายตอมาเปลี่ยนเปนเดือนยี่

24

5. พระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัล

แตเดิมมาเปนพิธีพราหมณ ภายหลังไดเพิ่มพิธีสงฆ จึงทําใหเกิดเปน 2 ตอน คือ พิธีพืชมงคล

เปนพิธีสงฆเริ่มตั้งแตการนําพันธุพืชมารวมพิธีพระสงฆ สวดมนตเย็นที่ทองสนามหลวง จนกระทั่งรุงเชา
มีการเลี้ยงพระตอ สวนพิธีจรดพระนังคัล เปนพิธีของพราหมณ กระทําในตอนบาย ปจจุบันนี้พิธีกรรม

ของพราหมณที่เขามามีอิทธิพลตอสังคมไทยเริ่มลดบทบาทลงไปมาก เพราะพุทธศาสนาไดเขามามี
อิทธิพลแทน ทั้งในพระราชพิธีและพิธีกรรมทั่ว ๆ ไปในสังคม อยางไรก็ตาม พิธีพราหมณเทาที่เหลืออยู
และยังมีผูปฏิบัติสืบกันมา ไดแก พิธีโกนผมไฟ พิธีโกนผมจุก พิธีตั้งเสาเอก พิธีตั้งศาลพระภูมิ พิธีเหลานี้

ู
ยังคงมีผูนิยมกระทํากันทั่วไป ในสังคมสวนพระราชพิธีที่ปรากฏอย ไดแก พระราชพิธีพืชมงคลจรด-
พระนังคัลแรกนาขวัญ พระราชพิธีบรมราชาภิเษก และพิธีทําน้ําอภิเษก เปนตน
สําหรับพิธีกรรมในศาสนาฮินดู ซึ่งเปนพราหมณใหมไมใครมีอิทธิพลมากนักแตก็มีผูนับถือ
และสนใจรวมในพิธีกรรมเปนครั้งคราว ทั้งนี้ อาจเปนเพราะความเชื่อในพระเปนเจาตรีมูรติทั้ง 3 องค

ยังคงอิทธิพลควบคูไปกับการนับถือพุทธศาสนา ประกอบกับในโบสถของพวกฮินดูมักจะตั้ง
พระพุทธรูปรวม ๆ ไปกับรูปปนของพระผูเปนเจา ทั้งนี้ สืบเนื่องมาจากความเชื่อในเรื่องอวตารของ

พระวิษณุ ทําใหคนไทยที่นับถือพุทธศาสนาบางกลุมนิยมมาสวดออนวอนขอพรและบนบาน หลายคน
ถึงขนาดเขารวมพิธีกรรมของฮินดูจึงเขาลักษณะที่วานับถือทั้งพุทธทั้งฮินดูปนกันไป

25

กิจกรรมที่ 1

ใหผูเรียนศึกษารายละเอียดและนํามาอภิปรายรวมกันในเรื่องตอไปนี้
1. พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชกับพระพุทธศาสนา

2. บุคคลที่มีชื่อเสียงและมีผลงานในการเผยแพรศาสนาคริสตในประเทศไทย

ี่
เรื่องท 2 ความเปนมาของศาสนาในทวีปเอเชีย

ทวีปเอเชียเปนแหลงกําเนิดศาสนาที่สําคัญของโลก เชน ศาสนาคริสต ศาสนาอิสลาม ศาสนาพุทธ
ศาสนาฮินดู และยูดาห ในเอเชียตะวันตกเฉียงใต ประชากรสวนใหญนับถือศาสนาฮินดูกวา 500 ลานคน



ในอินเดียรองลงมา คือ ศาสนาอิสลาม มีผูนับถือประมาณ 450 ลานคน นอกจากนี้ยังมลัทธิเตา ลัทธขงจื๊อ
ที่แพรหลายในจีน ลัทธิชินโตในญี่ปุน
ประเทศฝงแผนดินใหญในทวีปเอเชียจะนับถือศาสนาพุทธเปนสวนมาก ประเทศเหลานั้น คือ
ไทย เวียดนาม ลาว กัมพูชา พมา และสิงคโปร สวนทางดานคาบสมุทรมลายูและหมูเกาะอินโดนีเซีย

จะนับถือศาสนาอิสลาม ไดแก ประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย และบรูไน สําหรับประเทศฟลิปปนส
นับถือศาสนาคริสต ประเทศติมอรตะวันออก นั้นก็นับถือศาสนาคริสตเปนหลัก เหมือนกันดังตาราง

จําแนกดังตอไปนี้

26

27

2.1 พุทธศาสนาในเอเชีย

พุทธศาสนานิกายใหญ 2 นิกาย คือ เถรวาทกับมหายาน
เถรวาท แปลวา “วาทะของพระเถระ” หมายถึง พระพุทธศาสนาแบบดั้งเดิม พยายามรักษา

พระธรรมวินัยตามแบบอยางที่พระเถระอรหันตสาวกของพระพุทธเจา เชน พระมหากัสสปะ พระอุบาลี
และพระอานนท ทําสังคายนา คือ รวบรวมจัดระเบียบพระธรรมไว ตามหลักของนิกายนี้ จะไมพยายาม

ปรับเปลี่ยนแกไขนิกายนี้ บางทีเรียกวา ทักษิณนิกาย แปลวา นิกายฝายใต เพราะนิกายนี้ตั้งอยูทาง
ภาคใตของประเทศอินเดีย จึงไดรับนามตามทิศทางที่ตั้งอยู อีกอยางมีชื่อที่ฝายมหายาน ตั้งใหวา

หินยาน แปลวา ยานเล็กหรือยานเลว เพราะนําสัตวใหเขาวัฏสงสารไมไดเหมือนมหายาน นามนี้ไดมา
ในสมัยแขงขันกันระหวางนิกาย จึงมีการยกฝายหนึ่งกดฝายหนึ่ง และเมื่อป พ.ศ. 2493 มีการประชุม

พุทธศาสนิกสัมพันธแหงโลกครั้งที่ 1 ในประเทศลังกา ซึ่งผูแทนที่นับถือพระพุทธศาสนาทุกฝายได

รวมมือกัน เพื่อใหพุทธศาสนาเขมแข็งขึ้น ที่ประชุมจึงลงมติใหเลิกใชคําวา หินยาน ใหใชคําวา เถรวาท
แทนตั้งแตนั้นมา

28

ประเทศที่นับถือพุทธศาสนาแบบเถรวาท คือ ไทย พมา ลังกา ลาว และเขมร พระพุทธศาสนา
แบบเถรวาทนี้ ใชพระไตรปฎกเปนภาษาบาลี อานขอความตรงกันแมจะพิมพตัวอักษรตางกัน

มหายาน แปลวา ยานใหญ เปนนามตั้งขึ้นเพื่อแสดงวา พุทธศาสนาแบบนี้สามารถชวยให
สัตวขามพนวัฏสงสารไดมาก มีการแกไขดัดแปลงพระธรรมวินัย นิกายนี้เกิดขึ้นเมื่อพระพุทธเจา

ปรินิพพานแลว 100 ป มีการสังคายนาครั้งที่ 2 เพื่อแกไขความประพฤติทางวินัยบางขอและความแตกแยก
ความคิดเห็น ซึ่งในภายหลังบางสวนกลายเปนมหายานไปนิกายมหายาน มีนามเรียกวา“อุตตรนิกาย”


แปลวา นิกายฝายเหนือ เพราะตั้งอยูภาคเหนือของอินเดีย บางเรียกวา อาจาริยวาท แปลวา วาทะของ

พระอาจารย เปนคําคูกับเถรวาท หมายถึง วาทะของพระเถระรุนแรกที่ทันเห็นพระพุทธเจา สวนอาจาริย-
วาท หมายถึง วาทะของอาจารยรุนตอ ๆ มา ประเทศที่นับถือพระพุทธศาสนาแบบมหายาน คือ ทิเบต
เวียดนาม จีน เกาหลี และญี่ปุน นอกจากนี้ยังมีประเทศสิกขิม ภูฏาน ทิเบต ทั้งนิกายเถรวาท และ

มหายาน ตางมีหลักธรรมสวนใหญที่เขากันได คือ อริยสัจ เมื่อมีการจัดตั้งพุทธศาสนิกสัมพันธแหงโลก
เปนองครวมของพระพุทธศาสนาทุกนิกายเขาดวยกัน จะสงผลใหเกิดความรวมมือรวมใจกันทํางาน
เพื่อพระพุทธศาสนาดียิ่งขึ้น

ตามหลักฐานของประเทศลังกาวา หลังจากทําสังคายนาพระไตรปฎกครั้งที่ 3 พระโมคคัลลีบุตร
ติสสเถระ ภายใตพระราชูปถัมภของพระเจาอโศกมหาราช ติสสเถระดาบส ไดดําริวา พระพุทธศาสนา

ควรตั้งโดยชอบในปจจันตประเทศทั้งหลาย จึงไดสงสมณทูตไปสูที่ตาง ๆ ดังนี้คือ
1. พระมัธณัมติกเถระไปกัษมีระคันธาระ

2. พระมหาเทวเถระไปมหิสัณฑละ แควนไมสอร
3. พระรักขิตเถระไปวนวาสีปเทส ทางทิศเหนือแควนกันทระ

4. พระโยนกธัมมรักขิตเถระไปอรันตปเทศ แควนคุชราต

29

5. พระมหาธัมมรักขิตเถระไปมหารัฐ แควนมรถะ

6. พระมหารักขิตเถระไปโยนกปเทศ อาณาจักรกรีก
7. พระมัชฌิมเถระไปหิมวันตปเทศ แขวงหิมาลัยทิศเหนือ

8. พระมหามหินทเถระไปตามพปณณิ เกาะลังกา
9. พระโสณเถระอุตตรเถระไปสุวรรณภูมิ (เอเชียอาคเนย)

ดินแดนสุวรรณภูมินั้นตามหลักฐานของจีน หลักฐานของปโตเล มีที่เดินทางมาสูเอเชียอาคเนย

ในอดีตกาล คือ ดินแดนสุวรรณภูมิ ประกอบกับวฒนธรรมอินเดียโบราณวัตถุ โบราณสถาน เทวรูป

ศิลาจารึกโบราณตาง ๆ เปนศูนยกลางที่พระอุตตระเถระ มาเผยแผศาสนาพุทธ กลาวไดวา ศาสนาพุทธ

รุงเรืองมาตั้งแตพุทธศตวรรษที่ 3 และรุงเรืองมาตั้งแตตนคริสตศตวรรษมา
ดินแดนสุวรรณภูมิมีหลักฐานวัฒนธรรมทางพุทธศาสนาแยกเปน 6 มณฑล คือ
1. ภาคตะวันออกประเทศจัมปา ดินแดนของจามในอดีตมีหลักฐานเปนพระพุทธรูปสัมฤทธิ์

ศิลปกรรมแบบอมราวดีที่เมืองดุงเคือง จังหวัดกวางนาม พุทธศตวรรษที่ 3 หรือที่ 4

2. ภาคตะวันออกกลาง ประเทศกัมพูชา ปจจุบันมีศิลาจารึกเกาแกที่สุด ในคริสตศตวรรษ
ที่ 2 - 3 และพระพุทธรูปจํานวนมาก
3. ภาคตะวันตกตอนกลาง (ดินแดนมอญกับเขมร) ดินแดนประเทศไทยปจจุบันมีวงลอ

จารึกวา “เยธมฺมา...” ที่โบราณสถานของนครปฐม พบศิลปกรรมแบบอมราวดี
คริสตศตวรรษที่ 3 หรือ 4 มีพระพุทธรูปสัมฤทธิ์ที่จังหวัดนครราชสีมา

4. ภาคตะวันตกประเทศมอญ ประเทศพมา ปจจุบันมีลานทองหลายแผนจารึกวา “เยธมฺมา...”
อยูที่มาซา และมองกาน ใกลเมืองโปรม

5. แหลมมลายูมีหลักฐานของจีนกลาววามีรัฐเล็ก ๆ ถือตามวัฒนธรรมอินเดียตั้งแต
คริสตศตวรรษที่ 2

6. หมูเกาะมีศิลาจารึกหลายแหงที่เมืองกุไตและที่ภาคตะวันตกของหมูเกาะชวา
ภูมิภาคทั้ง 6 แหง เปนศูนยกลางที่พระโสภณเถร ไดเพาะหวานพืชสัมมาทิฏฐิ คือ

พระพุทธศาสนาใหลงรากแกว จนปจจุบันนี้ประชาชนของประเทศเหลานี้นับถือศาสนาพุทธ
เปนศาสนาชนะทุกขในโลกนี้

การเผยแผพระพุทธศาสนาประเทศตาง ๆ ในทวีปเอเชีย

1. พระพุทธศาสนาไปสูประเทศลังกา เมื่อพระเจาอโศกมหาราชเสด็จขึ้นครองราชสมบัตินั้น

ประมาณ พ.ศ. 218 ตอมาอีก 16 ปหรือ 17 ป คือ ระหวาง พ.ศ. 233 - 235 จึงมีการทํา
สังคายนาครั้งที่ 3 เมื่อทําสังคายนาเสร็จแลวพระเจาอโศกไดทรงสงสมณทูตไปเผยแผ

30

พระพุทธศาสนาในประเทศตาง ๆ รวมหลายสายดวยกัน โดยเฉพาะไดทรงสงพระมหินท-

เถระ ผูเปนพระราชบุตรไปประกาศศาสนาในลังกาทวีป ซึ่งเปนผลใหพระพุทธศาสนา
ประดิษฐานมั่นคงในประเทศลังกาจวบจนปจจุบันนี้

2. พระพุทธศาสนาไปสูประเทศพมา พุทธศาสนิกชนชาวพมามีความเชื่อกันวา
พระโสณะกับพระอุตตระสมณทูตของพระเจาอโศกมหาราช ซึ่งเดินทางไปเผยแผ

พระพุทธศาสนาที่สุวรรณภูมินั้นก็คือ ไปสูเมืองสะเทิม (Thaton) ของพมานั้นเอง เพียงแตวา
ในสมัยนั้นเปนอาณาจักรมอญหรือตะเลง กลาวคือ มอญหรือตะเลงครอบครองเมืองพะโค

(หรือเปกูหรือหงสาวดี) และเมืองสะเทิม (หรือสุธัมมาวดี) แตนักประวัติศาสตรบางคน
ก็กลาววา พระพุทธศาสนาไปสูประเทศพมาภายหลังพุทธ-ปรินิพพานแลว ประมาณ

พันปเศษ คือ จับเอาประวัติศาสตรตอนที่พระเจาอโนรธามังชอ หรืออนุรุทธะ นับถือ
พระพุทธศาสนาและเผยแผพระพุทธศาสนา
3. พระพุทธศาสนาไปสูประเทศไทย พุทธศาสนิกชนชาวไทยก็เชื่อคลายชาวพมาวา

พระพุทธศาสนาไปสูประเทศไทยครั้งแรกเมื่อพระโสณะและพระอุตตระเดินทางไป

ประกาศศาสนาที่สุวรรณภูมิและเชื่อวาบริเวณพระปฐมเจดียและใกลเคียงจะเปน
สุวรรณภูมิ เพราะไดขุดพบโบราณวัตถุรุนราวคราวเดียวกับสมัยพระเจาอโศกมหาราช
หลายอยางตกลงวาถาเชื่อตามนี้พระพุทธศาสนาก็ไปสูประเทศพมาและไทยไมเกิน

พ.ศ. 300 แตนักประวัติศาสตรบางคนก็เชื่อวาพระพุทธศาสนาไปสูประเทศไทยประมาณ
คริสตศตวรรษที่ 1 หรือ 2 คือ ประมาณ พ.ศ. 544 ถึง พ.ศ. 743

4. พระพุทธศาสนาไปสูประเทศกัมพูชาตามรายงานของผูแทนกัมพูชาตอพุทธศาสนิก
สัมพันธแหงโลก พระพุทธศาสนาไปสูประเทศนั้น ประมาณศตวรรษที่ 3 แหงคริสตศักราช

คือ เมื่อ พ.ศ. 743 ปลวงมาแลว ผูใชนามวา อาร.ซี.มชุมดา (R.C.Majumdar) ไดเขียน
เรื่องนี้ไววา การคนพบทางโบราณคดีกับประวัติศาสตรฝายจีนยืนยันตรงกันวาปลาย

ศตวรรษที่5 แหงคริสตศักราช คือ ประมาณ พ.ศ. 1000 นั้น พระพุทธศาสนาไดเจริญ
อยูแลวในกัมพูชา แมวาจะไมแพรหลายไปทั่วประเทศ ฉะนั้น จึงพอสันนิษฐานไดวา

พระพุทธศาสนาคงเขาไปสูกัมพูชาในป พ.ศ. 743 เปนตนมา
5. พระพุทธศาสนาไปสูประเทศเวียดนามหรือจัมปา ภาคใตของฝงทะเลตะวันออกของ

แหลมอินโดจีน ซึ่งเรียกวา อันนัม นั้น ปจจุบันเรียกวา เวียดนาม สมัยกอนเรียกวา จัมปา
มีหลักฐานวาพระพุทธศาสนาไดไปประดิษฐานอยูในเวียดนามกอนคริสตศตวรรษที่ 3

คือกอน พ.ศ. 744 ถึง พ.ศ. 843 เหตุผลก็คือ การพบพระพุทธรูปสําริดสมัยอมราวดี
ในประเทศนั้น และหลักฐานจากประวัติศาสตรฝายจีน

31

6. พระพุทธศาสนาไปสูประเทศจีน ตั้งแตพุทธศตวรรษที่ 6 จนถึงพุทธศตวรรษที่ 13 จีน

เปนศูนยกลางที่สําคัญของศาสนาพุทธ เมื่อ พ.ศ. 604 สมัยราชวงศฮั่น พระเจามิ่งตี่ทรง
สงทูตไปสืบพระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย และไดพระพุทธรูปพรอมคัมภีร

พระพุทธศาสนา มีการสรางวัดมาขาว ซึ่งยังคงอยูถึงปจจุบันพุทธศาสนาเจริญรุงเรือง
มาในสมัยราชวงศถัง เมืองฉางอาน เปนศูนยกลางสําคัญของพุทธศาสนา และเปนแหลง

เผยแผศาสนาพุทธไปยังเกาหลีและญี่ปุน ตอมาในปลายราชวงศถัง พ.ศ. 1388 จักรพรรดิ-
หวูซุง ประกาศใหศาสนาจากตางชาติ ไดแก ศาสนาคริสต ศาสนาโซโรอัสเตอร และ

ศาสนาพุทธ เปนศาสนาที่ผิดกฎหมาย และหันไปสนับสนุนลัทธิเตาแทน ในสมัยนั้น
มีการทําลายวัด บังคับใหพระภิกษุสงฆสึก ความรุงโรจนของพุทธศาสนาจึงสิ้นสุด แต

พุทธศาสนานิกายสุขาวดีและนิกายฌาน ยังคงรุงเรืองมากกลายเปนนิกายเซนในญี่ปุน
และนิกายฌานมีอิทธิพลในราชวงศซอง
7. พระพุทธศาสนาไปสูประเทศเกาหลี พระพุทธศาสนาพรอมทั้งขอเขียนตาง ๆ ใน

ภาษาจีนเขาสูประเทศเกาหลี ประมาณป ค.ศ. 372 หรือ พ.ศ. 915 เมื่อราชทูตจีนนํา

คัมภีรและภาพวาดไปยังอาณาจักรโคกุรยอ ศาสนาพุทธรุงเรืองในเกาหลีนิกายเซนใน
พุทธศตวรรษที่ 12 จนกระทั่งถึงยุคของการฟนฟูลัทธิขงจื้อในสมัยราชวงศโซซอน
ตั้งแต พ.ศ. 1935 ศาสนาพุทธจึงเสื่อมลง

8. พระพุทธศาสนาไปสูประเทศญี่ปุน ญี่ปุนไดรับพุทธศาสนาเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 11
โดยพระภิกษุชาวเกาหลีนําคัมภีรและศิลปะทางพุทธศาสนาเขาสูญี่ปุนเมื่อศาสนาพุทธ

เสื่อมลงในอินเดีย เอเชียกลาง จีน และญี่ปุน ยังคงรักษาศาสนาพุทธไวได ตั้งแต พ.ศ. 1253
เปนตนมา มีการสรางวัดและรูปเคารพจํานวนมากในเมืองหลวง คือเมืองนารา พุทธศิลป

แบบญี่ปุน รุงเรืองในชวงพุทธศตวรรษที่ 13 - 18 ในราวพุทธศตวรรษที่ 17 - 18
พุทธศาสนานิกายเซนรุงเรือง รวมทั้งศิลปะที่สืบเนื่องจากนิกายเซนดวยพุทธศาสนา

ยังคงรุงเรืองในญี่ปุนจนถึงปจจุบัน
9. พระพุทธศาสนาไปสูประเทศทิเบตและในประเทศภูฏาน สิกขิม ประมาณ พ.ศ. 944

ถึง 1043 มีผูนําคัมภีรพระพุทธศาสนาจากอินเดียไปสูทิเบต แตไมไดรับความสนใจ
จนกระทั่งถึงกลางศตวรรษที่ 7 ประมาณ ค.ศ. 1194 เปนตนไป พระพุทธศาสนาจึง

เจริญในประเทศทิเบต สิกขิม และภูฏาน

32


2.2 ศาสนาอิสลามในทวีปเอเชย
ประเทศสําคัญ ๆ ในเอเชียที่นับถือศาสนาอิสลาม คือ สาธารณรัฐประชาชนบังกลาเทศ

แตเดิมเปนชมพูทวีปเชนเดียวกับอินเดียและปากีสถาน เปนดินแดนที่รุงเรืองดวยศาสนาพราหมณและ

ศาสนาพุทธ ตอมามีพอคาอาหรับนําศาสนาอิสลามมาเผยแผ ปจจุบันประเทศบังคลาเทศ มีประชาชน
140 ลานคน ประชาชน 88.3% นับถือศาสนาอิสลาม ศาสนาฮินดู 10.5% นอกนั้นเปนศาสนาอื่น ๆ
เชนเดียวกับประเทศปากีสถาน มีประชากร 159.6 ลานคน ประชาชน 97% นับถือศาสนาอิสลาม

ประเทศอินเดีย ประชากรมีจํานวนพันลานคน นับถือศาสนาอิสลาม จํานวน 11.67% ประเทศอินโดนีเซีย

มีพื้นที่เปนเกาะ มีประชากร 215 ลานคน จํานวน 181 ลานคน นับถือศาสนาอิสลาม อินโดนีเซีย เปน
ประเทศที่นับถือศาสนาอิสลามมากที่สุดในโลก รองลงมาคือ ปากีสถาน 141 ลานค อินเดีย 124 ลานคน
บังคลาเทศ 111 ลานคน ตุรกี อียิปต อิหราน และไนจีเรีย มี 63 - 61 ลานคน และมาเลเซีย มีผูนับถือ

12 ลานคน จากประชากร 22 ลานคน
ดังนั้น กลาวโดยสรุป กลุมประเทศในภูมิภาคเอเชียและเอเชียกลาง จํานวน 15 ประเทศ

ที่นับถือศาสนาอิสลาม และไมใชแตประเทศที่ใชภาษาอาหรับ เปนภาษากลาง ประเทศตาง ๆ เหลานี้ คือ
อัฟกานิสถาน อาเซอรไบจัน บังกลาเทศ บรูไน อินโดนีเซีย อิหราน คาซัคสถาน คีรกิสถาน มาเลเซีย

มีลดีฟส ปากีสถาน สาธารณรัฐทาจิกิสถาน ตุรกี เติรก เมนิสถาน อุซเบกิสถาน
ประเทศในทวีปเอเชียที่ประชากรมุสลิม เปนชาวอาหรับใชภาษากลาง คือ บาหเรน

สาธารณรัฐอิรัก รัฐคูเวต สาธารณรัฐเลบานอน ราชอาณาจักรซาอุดีอาระเบีย สาธารณรัฐอาหรับซีเรีย
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส สาธารณรัฐเยเมน

นอกจากนี้ ยังมีประเทศสาธารณรัฐคาซัคสถาน มีประชากร 15 ลานคน นับถือศาสนาอิสลาม
รอยละ 47 ที่เหลือรอยละ 44 นับถือศาสนาคริสต นิกายกรีกออรโธด็อกซ สาธารณรัฐเลบานอน

ประชาชนรอยละ 59.7 นับถือศาสนาอิสลาม สาธารณรัฐมัลดีฟส ประชาชนนับถือศาสนาอิสลาม
รัฐสุลตานโอมาน ประชาชนรอยละ 85 นับถือศาสนาอิสลาม รัฐกาตารประชาชนรอยละ 90 นับถือ
ศาสนาอิสลาม

2.3 การเผยแพรศาสนาคริสตในเอเชีย

ศาสนาคริสต เผยแผในทวีปเอเชียในสมัยโบราณมาพรอมกับการคา แตเนื่องจากอารยธรรม
ในเอเชียมีความเขมแข็งมาก การเผยแผศาสนาครั้งนั้นจึงทําไดนอย ตอมาอารยธรรมตะวันตกมี

ความเขมแข็งทั้งความเจริญดานวัตถุ การทหาร เศรษฐกิจ และประเพณีตาง ๆ ตองการมีอํานาจทาง
เศรษฐกิจมากขึ้น จึงเกิดการลาอาณานิคมเขามาทางเอเชียประเทศที่มีความเขมแข็งทางทะเล คือ

อังกฤษ ฝรั่งเศส และตอมาเมื่อมีการพัฒนาการคมนาคมทางอากาศ ประเทศที่เริ่มแผอิทธิพลขึ้นมา
คือ อเมริกา รัสเซีย ศาสนาคริสต จึงมีอิทธิพลในทวีปเอเชียมากขึ้น ที่สําคัญ คือ ประเทศฟลิปปนส ซึ่ง

33

อยูในความยึดครองของอเมริกาในชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 ประชาชนฟลิปปนสนับถือศาสนาคริสต

รอยละ 84 และเกาหลีใต มีผูนับถือศาสนาคริสตมากขึ้น เวียดนาม และติมอรตะวันออก นับถือศาสนาคริสต
เกือบทั้งหมดของประเทศ นอกจากนี้ในประเทศอื่น ๆ คือ มาเลเซีย ไทย ญี่ปุน อินเดีย มีผูนับถือ

ศาสนาคริสตอยูบาง

2.4 ศาสนาพราหมณ - ฮินดูในเอเชีย

ศาสนาพราหมณ - ฮินดู เปนศาสนาที่เกาแกที่สุดในโลก แลวยังเปนตนแบบของอารยธรรม

วัฒนธรรมของโลกเมื่อศึกษาประวัติศาสนาพราหมณ - ฮินดู และศาสนาพุทธในอินเดีย จะเห็นความ
รุงโรจนของศาสนาทั้งสองศาสนา แตกตางกันตามยุคสมัย ตามอิทธิพลที่สําคัญ คือ กษัตริย ปกติแลว
ศาสนาพราหมณ - ฮินดู รุงเรืองในอินเดียมาโดยตลอด จนมาถึงสมัยพุทธกาล และตอมาศาสนาพุทธ

เสื่อมลง และมารุงเรืองอีกครั้งในสมัยพระเจาอโศกมหาราช และตอมาพุทธศาสนาเสื่อมลงอีกศาสนา-
พราหมณ – ฮินดู จึงยังคงรุงเรืองอยูในอินเดียมาโดยตลอด

ในสมัยโบราณประเทศอินเดีย เปนประเทศที่เขมแข็งทางวัฒนธรรม เปนประเทศมหาอํานาจ
ประเทศหนึ่ง ในสมัยนั้นไดติดตอคาขายกับอินโดนีเซีย ซึ่งศาสนาฮินดู - พราหมณเขามาสูอินโดนีเซีย

เนื่องจากอินโดนีเซียเปนประเทศที่เปนหมูเกาะ คราวใดที่ประเทศที่มาติดตอคาขาย มีอิทธิพลทําให
เจาผูครองประเทศศรัทธา เลื่อมใสนับถือ จะทําใหคนในประเทศนับถือไปดวย ตอมาศาสนาพราหมณ -

ฮินดูเสื่อมลง มีศาสนาพุทธมาแทน ศาสนาพุทธเสื่อมลงแลว และในปจจุบันคนในอินโดนีเซียสวนใหญ
จะนับถือศาสนาอิสลาม

กิจกรรมที่ 2

ใหผูเรียนคนควาขอมูลเพื่อเขียนรายงานและความหนาแนนของจํานวนประชากรของ
ประเทศตาง ๆ ที่นับถือศาสนาตาง ๆ ในทวีปเอเชีย

34

35

เรื่องท 3 หลักธรรมของศาสนาตาง ๆ
ี่

3.1 หลักธรรมของศาสนาพุทธ

หลักธรรมของศาสนาพุทธ หรืออาจกลาวสั้น ๆ วา ศาสนธรรม ไดจัดไวเปนหมวดหมู 3 หมวด
ดวยกัน เรียกหมวดหมูที่จําแนกจัดในกระจาด หรือตะกรา คือ คําวา “ปฎก” แปลไดอีกอยางวา

“คัมภีร” ดังนั้น พระไตรปฎก หมายความวา เปนที่รวบรวมคําสั่งสอนของพระพุทธเจาไวเปน
หมวดหมูไมใหกระจัดกระจาย คลายกระจาด หรือตะกรา เปนที่ใสสิ่งของ และ ไตร แปลวา 3

ดังนั้น ใน 3 ปฎก ประกอบดวย
1. พระวินัยปฎก วาดวยวินัยหรือศีลของภิกษุภิกษุณี

2. พระสุตตันตปฎก วาดวยพระธรรมเทศนาทั่ว ๆ ไป
3. พระอภิธรรมปฎก วาดวยธรรมะลวนหรือธรรมะที่สําคัญ
ในสมัยของพระพุทธเจา ยังไมมีพระไตรปฎก แตเรียกธรรมที่พระองคประทานไวมากมาย

ตางกาลเวลา สถานที่ พระสาวกทองจํากันไวได และจัดระเบียบหมวดหมูเปนปฎกตาง ๆ เมื่อ

พระพุทธเจาปรินิพพานแลว จึงไดมีการสังคายนา หรือตรวจชําระ จัดระเบียบ คําสอนของพระองค
เปนหมวดหมูดวยการทอง การจารึกในตัวหนังสือ ดวยการพิมพเปนเลม
หลักธรรมสําหรับชาวพุทธ

หลักศาสนาพุทธเชื่อเรื่องการเวียนวายตายเกิดของสัตวโลกชีวิตเปนทุกขเปนไป

ตามกฎแหงกรรม ทําดีไดดีทําชั่วไดชั่ว ภพภูมิที่เวียนวายตายเกิดภพภูมิของสัตวโลกมี 3 ภูมิ คือ มนุษย
โลก เทวโลก และนรกภูมิ จนกวาสัตวโลกนั้น จะขจัดกิเลสหมดสิ้น และเขาสูโลกพระนิพพาน

ไมมีการเวียนวายตายเกิดอีก

การปฏิบัติตามหลักธรรมของศาสนาพุทธนั้นควรเปนไปตามลําดับชั้น คือ
1. การปฏิญาณตนเปนพุทธมามกะ
2. การปฏิบัติตนตามศีล 5

3. การปฏิบัติตนเพื่อความพนทุกข

36

1. การปฏิบัติตนเปนพุทธมามกะ หรือเรียกวา การปฏิบัติตนถึงไตรสรณคมณ นั่นคือ

ปฏิญาณวาจะนับถือพระรัตนตรัยโดย
พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ

แปลวา ขาพเจาขอถึงพระพุทธเจา เปนที่พึ่งในการดําเนินชีวิต
ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ

แปลวา ขาพเจาขอถึงพระธรรม เปนที่พึ่งในการดําเนินชีวิต
สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

แปลวา ขาพเจาขอถึงพระสงฆเปนที่พึ่งในการดําเนินชีวิต
ทุติยัมป พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ

แปลวา ขาพเจาขอถึงพระพุทธเจา เปนที่พึ่งในการดําเนินชีวิตแมครั้งที่สอง
ทุติยัมป ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
แปลวา ขาพเจาขอถึงพระธรรมเปนที่พึ่งในการดําเนินชีวิตแมครั้งที่สอง

ทุติยัมป สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

แปลวา ขาพเจาขอถึงพระสงฆ เปนที่พึ่งในการดําเนินชีวิตแมครั้งที่สอง
ตะติยัมป พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
แปลวา ขาพเจาขอถึงพระพุทธเจา เปนที่พึ่งในการดําเนินชีวิตแมครั้งที่สาม

ตะติยัมป ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
แปลวา ขาพเจาขอถึงพระธรรม เปนที่พึ่งในการดําเนินชีวิตแมครั้งที่สาม

ตะติยัมป สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
แปลวา ขาพเจาขอถึงพระสงฆ เปนที่พึ่งในการดําเนินชีวิตแมครั้งที่สาม

2. การปฏิบัติตนตามศีล 5 ศีล 5 เปนพื้นฐานของพุทธศาสนิกชนพึงประพฤติปฏิบัติ คือ
1. ปาณาติปาตาเวระมะณีสิกขาปะทังสะมาทิยามิ

แปลวา งดเวนการฆาเบียดเบียน ทํารายรางกายคน และสัตว
2. อะทินนาทานาเวระมะณีสิกขาปะทังสะมาทิยามิ

แปลวา งดเวนจากการถือเอาสิ่งของที่เขาไมให
3. กาเมสุมิจฉาจาราเวระมะณีสิกขาปะทังสะมาทิยามิ

แปลวา งดเวนจากการประพฤติผิดในกาม
4. มุสาวาทาเวระมะณีสิกขาปะทังสะมาทิยามิ

แปลวา งดเวนจากการพูดปด พูดสอเสียด พูดเพอเจอ
5. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานะเวระมะณีสิกขาปะทังสะมาทิยามิ

แปลวา งดเวนจากสุรา ยาเสพติดทั้งปวง

37

ศีล 5 มีประโยชน คือ

1. เพื่อความสงบสุขของสังคม คือ การปองกันการลวงละเมิดสิทธิของผูอื่น อันจะสงผลให
เกิดการทะเลาะเบาะแวง ความหวาดระแวง และความวุนวายในสังคม

2. เพื่อพัฒนาจิตใจของผูประพฤติ ปฏิบัติตามศีล เพราะ ศีล 5 บัญญัติขึ้นมา เพื่อควบคุม
ไมใหมีการแสดงออกทางกาย หรือวาจา ไปในทางที่ตอบสนองอํานาจของกิเลส ในการ

ใหศีล นั้น ตอนสุดทายพระ จะกลาววา
สีเลนะสุคะตังยันติสีเลนะโภคะสัมปะทา

สีเลนะนิพพุติงยันติตัสมาสีลังวิโสธะเย
คํากลาวนี้แสดงถึง อานิสงสของการรักษาศีล คือ ศีลทําใหผูประพฤติปฏิบัติเขาถึงสุคติ

คือ ไปในทางที่ดี ศีลกอใหเกิดโภคทรัพย และศีลนํามาใหไดถึงความดับ หรือพระนิพพาน
3. การปฏิบัติตนเพื่อความพนทุกข ชาวพุทธควรศึกษาธรรมที่สําคัญ ๆ คือ อริยสัจ 4

อิทธิบาท 4 ทิศ 6 สัปปุริสธรรม 7 อบายมุข 6 พรหมวิหาร 4 สังคหวตถุ 4 และชาวพุทธ
ควรบริหารจิตตามหลักพุทธศาสนา

3.1 อริยสัจ 4 คือ ธรรมที่พระพุทธเจาทรงตรัสรูอริยสัจ 4 คือ ความจริง 4 ประการ คือ
1) ทุกข คือ ความไมสบายกาย ไมสบายใจ อันเนื่องมาจากสภาพที่ทนไดยาก
คือ สภาวะที่บีบคั้นจิตใจ ความขัดแยง ความไมสมปรารถนา การพลัดพราก

จากสิ่งที่รักที่ชอบใจ
2) สมุทัย คือ เหตุที่ทําใหเกิดความทุกขจากตัณหา หรือความอยาก ความ

ตองการ มีสาเหตุมาจาก
กามตัณหา คือ ความอยากไดในสิ่งที่ปรารถนา เชน อยากไดบาน

ภวตัณหา คือ ความอยากเปนโนน อยากเปนนี่
วิภวตัณหา คือ ความไมอยากเปนนั่น ความไมอยากเปนนี่

3) นิโรธ หมายถึง ความดับทุกข คือ การดับตัณหา ความอยากใหสิ้นไป ถาเรา
ตัดความอยากไดมากเทาใด ทุกขก็มีนอยลงไปดวย และถาเราดับได

ความสุขจะเกิดขึ้น
4) มรรค หมายถึง ขอปฏิบัติใหถึงความดับทุกข ไดแก การเดินทางสายกลาง

หรือ เรียกอยางหนึ่งวา มรรค มีสวนประกอบ 8 ประการ คือ
1. สัมมาทิฎฐิ คือ ความเห็นชอบ

2. สัมมาสังกัปปะ คือ ความดําริชอบ
3. สัมมาวาจา คือ ความเจรจาชอบ

4. สัมมากัมมันตะ คือ การกระทําชอบ

38

5. สัมมาอาชีวะ คือ การเลี้ยงชีพชอบ

6. สัมมาวายามะ คือ การเพียรชอบ
7. สัมมาสติ คือ การระลึกชอบ

8. สัมมาสมาธิ คือ การตั้งใจชอบ
3.2 อิทธิบาท 4 เปนธรรมะที่ปฏิบัติตนในสิ่งที่มุงหมายใหพบความสําเร็จ เปนธรรมะ

ที่ใชกับการศึกษาเลาเรียน การทํางานอาชีพตาง ๆ อิทธิบาท หมายถึง ธรรมที่ให
บรรลุความสําเร็จ มาจากคําวา อิทธิ คือ ความสําเร็จ บาท คือ ทางวิถีนําไปสู

ดังนั้น อิทธิบาท จึงแปลวา วิถีแหงความสําเร็จ ประกอบดวย
1) ฉันทะ คือ ความพอใจรักใครสิ่งนั้น เชน รักใครในการงาน ที่ทําในวิชาที่เรียน

2) วิริยะ คือ เพียรหมั่นประกอบในสิ่งนั้น มีกําลังใจเขมแข็ง อดทน หนักเอา-
เบาสู
3) จิตตะ คือ เอาใจใสสิ่งนั้น ไมวางธุระ ตั้งใจ จิตใจจดจอกับงาน

4) วิมังสา คือ หมั่นตริตรอง พิจารณาเหตุผล ในสิ่งนั้น ปรับปรุง พัฒนาแกไข

สิ่งนั้นได
3.3 ทิศ 6 คือ สิ่งที่ทุกคนที่อยูรวมกันในสังคมพึงปฏิบัติตอกันในทางที่ดีงามรายละเอียด
คือ

1. ทิศเบื้องหนา ไดแก บิดา มารดา เปนผูอุปการะบุตรธิดามากอน นับตั้งแต
ปฏิสนธิในครรภมารดา และประคบประหงมเลี้ยงดู

บุตรธิดา ควรบํารุงบิดา มารดา ดังนี้
1) ทานไดเลี้ยงเรามาแลว ใหเลี้ยงทานตอบ

2) ชวยทํากิจของทาน (ใหสําเร็จดวยดี)
3) ดํารงวงศสกุล (ใหเปนที่นับถือ)

4) ประพฤติตนใหเปนคนควรรับทรัพยมรดก
5) เมื่อทานลวงลับไปแลวทําบุญอุทิศให

และบิดา มารดา ควรอนุเคราะหบุตรธิดา 5 ประการ คือ
1) หามมิใหทําชั่ว

2) ใหตั้งอยูในความดี
3) ใหศึกษาศิลปวิทยา

4) หาคูครองที่สมควรให
5) มอบทรัพยใหตามเวลาอันควร

39

2. ทิศเบื้องขวา ไดแก อาจารย เพราะอาจารยเปนผูอบรมสั่งสอนศิษย ใหรู

วิชาการตาง ๆ และบาปบุญคุณโทษ
ศิษย ควรปฏิบัติตออาจารย ดังนี้

1) ดวยการลุกขึ้นตอนรับ ตอนรับดวยความเต็มใจ
2) ดวยเขาไปยืนคอยรับใช เมื่อทานมีกิจธุระไหววาน

3) ดวยการเชื่อฟง
4) ดวยการอุปฏฐาก ดูแลรักษา ชวยเหลือตามควร

อาจารย ควรอนุเคราะหศิษย คือ
1) แนะนําดีใหประพฤติดี ประพฤติชอบ

2) ใหเรียนดีใหเขาใจดี และถูกตอง
3) บอกศิลปะใหสิ้นเชิง ไมปดบังอําพราง
4) ยกยองใหปรากฏในเพื่อนฝูง

5) ทําความปองกันในทิศทั้งหลาย (คือ จะไปทางทิศไหนก็ไมอดอยาก)

3. ทิศเบื้องหลัง ไดแก สามี ภรรยา เพราะสามีภรรยาเปนผูมาทีหลังจึงยกไว
เปนทิศเบื้องหลัง
สามี พึงบํารุงภรรยา ดังนี้ คือ

1) ยกยองนับถือวาเปนภรรยา
2) ดวยการไมดูหมิ่น

3) ดวยการไมประพฤตินอกใจ
4) ดวยการมอบความเปนใหญให

5) ดวยการใหเครื่องแตงตัว
ภรรยา พึงอนุเคราะหสามีดังตอไปนี้ คือ

1) จัดการงานดี คือ ขยันหมั่นทํากิจการในบาน
2) สงเคราะหคนขางเคียงของสามีดีตอนรับพูดจาปราศรัย

3) ไมประพฤตินอกใจ
4) รูจักรักษาทรัพยที่สามีหามาไดรูจักเก็บออม

5) ขยันไมเกียจครานในกิจการทั้งปวง

4. ทิศเบื้องซาย ไดแก มตรสหาย เพราะเปนผูชวยเหลือในกิจธุระตาง ๆ ที่
เกิดขึ้นใหสําเร็จ เหมือนกับมือซายชวยประคองมือขวาใหทํางาน การปฏิบัติตนตอมิตร คือ
1) ดวยการใหแบงทรัพยสินใหมิตรตามควร

2) ดวยการเจรจาถอยคําไพเราะ พูดจาออนหวาน มีสาระ

40

3) ดวยการประพฤติประโยชนชวยเหลือ แนะนํา สิ่งที่เปนประโยชน

4) ดวยความเปนผูมีตนเสมอ ทําตัวเสมอกันกับมิตร ไมแสดงกิริยา
เยอหยิ่งจองหองกับมิตร

5) ไมกลาวใหคลาดจากความจริง จิตใจซื่อตรงสุจริต มีความจริงใจ
ไมหวาดระแวงตอมิตร

มิตรพึงอนุเคราะหเพื่อนตอบ ดังตอไปนี้ คือ
1) รักษามิตรผูประมาท แลวสกัดกั้นอันตรายไมใหเกิดขึ้น

2) รักษามิตรของผูประมาท แลวรักษาทรัพยไมใหเกิดอันตราย
3) เมื่อมีภัยเอาเปนที่พึ่งได เปนที่พึ่งพิงได

4) ไมละทิ้งในยามวิบัติ เมื่อมิตรเสื่อมลาภ ยศ ทรัพย สมบัติ ใหความ
ชวยเหลือไมทอดทิ้ง
5) นับถือตลอดถึงวงศญาติมิตร ใหความรักใครนับถือญาติพี่นองของมิตร

เหมือนญาติตนเองดวย

5. ทิศเบื้องลาง ไดแก บาวไพร กรรมกร เพราะเปนผูที่ต่ํากวา จึงยอมตนเปน
คนรับใช
นายพึงบํารุง ดังตอไปนี้ คือ

1) ดวยการจัดการงานใหทําตามสมควรแกกําลัง ความสามารถ
2) ดวยการใหอาหาร และรางวัล

3) ดวยการพยาบาล เวลาเจ็บไข
4) ดวยการปลอยในสมัย ผอนผันใหหยุดงานตามเทศกาล ตามความ

สมควร
คนรับใช บาวไพร ควรปฏิบัติตน ดังตอไปนี้

1) ลุกขึ้นทํางานกอนนาย
2) เลิกงานทีหลังนาย

3) ถือเอาแตของที่นายให
4) ทํางานใหดีขึ้น

5) นําคุณของนายไปสรรเสริญ
6. ทิศเบื้องบน ไดแก สมณะ พราหมณ ผูที่เปนที่เคารพสักการะทั่วไป เปนผู

ปฏิบัติธรรมเปนอริยสาวกพระพุทธเจา
เราควรปฏิบัติตอสมณะ พราหมณ ดังนี้คือ

1) ดวยกายกรรม ทําสิ่งที่เปนประโยชน

41

2) ดวยวจีกรรม พูดมีสัมมาคารวะ

3) ดวยมโนกรรม คิดสิ่งใดประกอบดวยเมตตา
4) ดวยความเปนผูไมปดประตูตอนรับ ถวายอาหารให

5) ดวยอามิสทาน ถวายปจจัย 4

สมณะ พราหมณ ควรอนุเคราะหตอบ ดังนี้คือ

1) หามไมใหกระทําชั่ว
2) ใหตั้งอยูในความดี

3) อนุเคราะหดวยน้ําใจอันงาม
4) ใหไดฟงในสิ่งที่ยังไมเคยฟง

5) ทําสิ่งที่เคยฟงแลว ใหแจมแจง
6) บอกทางสวรรคให
3.4 สัปปุริสธรรม 7 คือ ธรรมของคนดี 7 อยาง คือ

1) ความเปนผูรูจักเหตุ (ธัมมัญุตา)

2) ความเปนผูรูจักผล (อัตกัญุตา)
3) ความเปนผูรูจักตน (อัตตัญุตา)
4) ความเปนผูรูจักประมาณ (มัตตัญุตา)

5) ความเปนผูรูจักกาล (กาลัญุตา)
6) ความเปนผูรูจักชุมชน (ปริสัญุตา)

7) ความเปนผูรูจักเลือกบุคคล (ปุคคลปโรปรัญุตา)
3.5 อบายมุข 6 ละเวนจากอบายมุข 6 คือ

1) การดื่มน้ําเมา
2) เที่ยวกลางคืน

3) เที่ยวดูการละเลน
4) เลนการพนัน

5) คบคนชั่วเปนมิตร
6) เกียจครานการทํางาน

3.6 พรหมวิหาร 4 คือ ธรรมะของผูใหญที่ควรปฏิบัติ คือ
1) เมตตา คือ ความปรารถนาใหผูอื่นมีความสุข

2) กรุณา คือ ความปรารถนาใหผูอื่นพนจากความทุกข
3) มุทิตา คือ ความยินดีเมื่อผูอื่นไดดี

4) อุเบกขา คือ การวางเฉยไมลําเอียงทําใหเปนกลางใครทําดียอมไดดี