โครงงานคุณธรรม ห้องเรียน สะอาด doc

โครงงานคุณธรรม

ผจู้ ัดทาโครงงาน

นักเรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๕/๒

ครทู ี่ปรกึ ษา

คุณครสู ธุ ารตั น์ บุญพา
คณุ ครูปรญิ ญา เทวโรจน์

โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๕๐
อาเภอบา้ นแฮด จังหวดั ขอนแก่น
สานักบรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ
สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน

คำนำ

โครงงาน “หอ้ งเรียนสะอาดนา่ อยู่ นา่ รู้ น่าเรียน” น้เี ป็นสว่ นหนึง่ ของการจดั กจิ กรรมตามครงการ
โรงเรยี นคุณธรรม สพฐ กลุ่มของขา้ พเจ้าจดั ทำข้ึนเพอ่ื นำเสนอวธิ ีการทจี่ ะทำใหห้ ้องเรียนสะอาดนน่ั กค็ ือ การนำ
หลกั คำสอนมาใช้ซึงเปน็ หลกั คำสอนอทิ ธิบาท 4 ความรับผิดชอบ ความขยันหม่ันเพยี ร

คณะผจู้ ัดทำต้องขอขอบคุณคุณครทู ี่ปรึกษาทุกทา่ นทใ่ี ห้ความรู้เกี่ยวกบั การทำโครงงาน คณะผู้จัดทำ
หวังเป็นอย่างยิง่ ว่าผ้ทู ่ีอา่ นโครงงานนีจ้ ะได้รับความรูจ้ ากโครงงาน และคงจะเป็นประโยชน์กับท่านผูอ้ า่ นทกุ ๆ
ทา่ น โครงงานเล่มน้ีอาจมีสิ่งใดผดิ พลาดก็ขออภัยมา ณ โอกาสนี้

นักเรยี นระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5/2
ผจู้ ัดทำ

สารบญั

เรอ่ื ง หน้า

บทท่ี 1 บทนำ ....................................................................................................................1-3
บทท่ี 2 เอกสารท่เี กีย่ วข้อง ................................................................................................4-9
บทที่ 3 วิธกี ารดำเนนิ งาน ..................................................................................................10
บทที่ 4 ผลการศกึ ษาคน้ คว้า ..............................................................................................11
บทท่ี 5 สรุปผล ..................................................................................................................12

ภาคผนวก
☺ รูปภาพ .........................................................................................................................13-18

บทท่ี 1
บทนำ

1.ท่มี าและความสำคญั

จากการสังเกตพฤตกิ รรมนักเรยี น พบว่าภายในหอ้ งเรียนได้มขี ยะทเ่ี กดิ จากการนำขนมมารบั ประทาน
ในช่วงเวลาว่าง นำหนังสือเรยี นหรอื ส่ือการเรยี นภายในหอ้ งเรยี นขึ้นมาใช้งานและไม่ยอมนำไปเกบ็ ไว้ทเี่ ดิม ท้ิง
เศษกระดาษตามซอกเก้าอี้ บนพืน้ ห้องเรยี น ใตโ้ ต๊ะของตนเอง และไมจ่ ัดเก้าอใี้ ห้เป็นระเบยี บเรยี บรอ้ ยหลังเลกิ
เรียน ไมเ่ ก็บของใช้ใหเ้ รยี บร้อย และการใช้อปุ กรณก์ ารเรยี นการสอน เชน่ การใช้ระบายสี การใชด้ ินสอ ท่ีต้อง
มกี ารเหลาดนิ สอและสใี หม้ ีความแหลม ซ่งึ เปน็ สงิ่ หนง่ึ ท่ีนกั เรยี นมีพฤติกรรมท่ีก่อให้เกิดขยะ เยอะแยะมากมาย
และดูไมส่ ะอาดตา จงึ ทำใหก้ ่อเปน็ สาเหตุหนึง่ ที่ทำให้บรรยากาศในการจดั การเรียนการสอนไม่เอ้ืออำนวย และ
ไมด่ นู า่ ใช้สอย

จากนั้นได้มีการนำปัญหาจากการพดู คุยอภปิ รายกบั นกั เรยี นดังกลา่ ว พร้อมร่วมวางแนวทางในแก้ไข
ปัญหาตอ่ การดำเนนิ การจัดกิจกรรมท่ีสง่ เสริมให้กับนักเรียน จึงได้จดั ทำโครงงานคุณธรรม เร่อื ง “หอ้ งเรยี น
สะอาดน่าอยู่ น่ารู้ น่าเรียน ” ระดบั ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 5/2 ปกี ารศกึ ษา 2565 เพื่อจัดการปัญหาดังกล่าว
โดยน้อมนำคำสอนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของ ในหลวงรัชกาลท่ี 9 นำมาดำเนนิ กิจกรรม ใหม้ ีการ
ปรบั เปล่ยี นพฤติกรรมผู้เรียนใหเ้ ปน็ พลเมอื งทีด่ ี รู้จกั หน้าท่ีของตนเอง ช่วยเหลอื ผู้อื่น มีจิตสาธารณะ ทำดีด้วย
หัวใจ โดยยดึ มนั่ ในคณุ ธรรม จริยธรรม สุจริต มีวนิ ยั และมคี วามสามคั คซี ง่ึ กันและกัน เปน็ หลกั ในการดำรงชีวติ
ประจำวนั สรา้ งบรรยากาศภายในช้นั เรยี นให้มีความสะอาด น่าใช้สอย และเอ้ือต่อการเรียนรู้

2.วัตถุประสงค์ (KPA)
1. เพื่อใหน้ กั เรียนมีความรแู้ ละความเขา้ ใจเก่ยี วกบั ความรับผิดชอบของนักเรียน (K)
2.เพ่อื ให้นกั เรียนชว่ ยกนั รักษาความสะอาดของห้องเรยี นและทิง้ ขยะใหล้ งถังและจัดโตะ๊ เกา้ อใี้ หเ้ ปน็

ระเบยี บทุกวนั หลังเลิกเรียน
3.เพ่อื ปลกู ฝังความรบั ผดชอบ สร้างความตระหนกั และจิตสำนึกในความรับผดิ ชอบให้กับนักเรียน (A)

3 ปญั หา
4.1 ห้องเรยี นช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 5/2 ไม่สะอาดและไม่เป็นระเบยี บ

4. สาเหตุของปญั หา
5.1 นักเรียนไม่ท้งิ ขยะลงถัง
5.3 นกั เรียนเรยี นเสรจ็ แล้วไม่เก็บโตะ๊ เก้าอี้

5.เป้าหมาย
- เชงิ ปรมิ าณ นักเรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 5/2 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 50 จำนวน 19 คน
- เชงิ คุณภาพ นกั เรยี นระดับชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 5/2 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 50 ร้อยละ
80 มคี วามรบั ผดิ ชอบชว่ ยกันเก็บขยะ และเก็บโต๊ะเก้าอ้ีอย่างเปน็ ระเบียบ

- เปา้ หมายระยะสน้ั (ระยะเวลา 6 เดือน) นกั เรียนระดบั ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 5/2 โรงเรยี นราชประชา
นุเคราะห์ 50 มีความรับผิดชอบ ไม่ท้ิงเศษขยะในห้องเรียน

- เป้าหมายระยะยาว (ระยะเวลา 12 เดอื น) นักเรียนระดับชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 5/2 นกั เรียนระดบั ชั้น
ประถมศกึ ษาปที ่ี 5/2 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 50 หอ้ งเรยี นสะอาดเปน็ ระเบยี บเรียบรอ้ ยเป็นประจำทกุ
วัน

6.วิธีการแกไ้ ขปัญหา
1.ครูและนักเรยี นประชมุ ปรึกษาหารอื เร่ืองความสกปรกของหอ้ งเรียน และโต๊ะเกา้ อที้ ี่ไมเ่ ป็นระเบยี บ
2.ครแู ละนกั เรียนจึงช่วยกนั เสนอความคิดเห็นเกีย่ วกับการแก้ปัญหาขยะของห้องเรยี น และโต๊ะเกา้ อี้

ทไ่ี มเ่ ปน็ ระเบยี บ เชน่ การจดั ตง้ั เวรทำความสะอาดห้องเรียนทุกวนั
3. ครแู ละนักเรียนได้ทำขอ้ ตกลงในช้ันเรียนรว่ มกนั โดยให้นกั เรยี นจดั ทำเวรประจำวันท่ีนักเรยี นสมัคร

ใจเลือกเวรประจำวันเอง และชว่ ยกนั รกั ษาความสะอาดของห้องเรียนและท้ิงขยะใหล้ งถัง มีการจดั โต๊ะเกา้ อ้ีให้
เป็นระเบียบเรียบร้อยหลงั เลกิ เรยี น และนำขยะไปทิง้ ในบ่อขยะของโรงเรยี น เปน็ ประจำทกุ วัน

8) หลกั ธรรมทนี่ ำมาใช้ อิทธิบาท 4
8.1 ฉนั ทะ ความพอใจรักใครใ่ นสงิ่ น้นั (เตม็ ใจทำ)
8.2 วิรยิ ะ ความพากเพยี รในสง่ิ นนั้ (แข็งใจทำ)
8.3 จิตตะ ความเอาใจใส่ฝักใฝ่ในส่ิงน้ัน (ตั้งใจทำ)
8.4 วิมังสา ความหม่นั สอดสอ่ งในเหตผุ ลของสง่ิ น้นั (เข้าใจทำ)

ความเช่อื มโยงส่คู ุณธรรมอตั ลักษณ์ = ความรบั ผดิ ชอบ

9. คณุ ธรรมอัตลักษณ์ (ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง)

เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรชั ญาช้ีถึงแนวการดำรงอยแู่ ละปฏบิ ตั ติ นของประชาชนในทุกระดับ ต้ังแต่

ระดับครอบครวั ระดับชุมชน จนถงึ ระดบั รัฐ ทั้งในการพัฒนาและบรหิ ารประเทศให้ดำเนินไปในทางสายกลาง

โดยเฉพาะการพฒั นาเศรษฐกิจ เพอ่ื ให้กา้ วทันต่อโลกยคุ โลกาภวิ ัตน์ ความพอเพียง หมายถึงความพอประมาณ

ความมเี หตผุ ล รวมถึงความจำเปน็ ทจี่ ะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวทีด่ พี อสมควร ต่อการมผี ลกระทบใดๆ อันเกดิ

จากการเปล่ยี นแปลงทง้ั ภายนอกและภายใน ทง้ั น้ี จะต้องอาศยั ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความ

ระมัดระวงั อยา่ งย่ิงในการนำวิชาการตา่ งๆมาใชใ้ นการวางแผนและการดำเนนิ การทุกข้นั ตอน และ

ขณะเดยี วกนั จะต้องเสรมิ สรา้ งพ้ืนฐานจติ ใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าทีข่ องรฐั นักทฤษฎี และนกั ธรุ กจิ

ในทุกระดบั ใหม้ ีสานึกในคุณธรรม ความซอื่ สตั ย์สจุ ริต และใหม้ ีความรอบรูท้ ่เี หมาะสม ดำเนนิ ชวี ิตด้วยความ

อดทน ความเพยี ร มสี ติ ปัญญา และความ รอบคอบ เพ่ือใหส้ มดลุ และพร้อมต่อการรองรับการเปล่ยี นแปลง

อย่างรวดเร็วและกวา้ งขวางทั้งดา้ นวตั ถุ สงั คม ส่ิงแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกไดเ้ ป็นอย่างดี

ความเช่อื มโยงสู่คุณธรรมอัตลักษณ์: จิตอาสา พฤติกรรมบ่งชเ้ี ชงิ บวก : ผ้บู ริหารและครูมกี ารปฏิบตั ิ

เปน็ แบบอยา่ งทีด่ ีในเรื่องของความมีวนิ ยั และรับผิดชอบ และเอาใจใสใ่ นให้นกั เรยี นในการเรียนการสอน

การปฏิบตั ติ นของนักเรียน นักเรียนทำงานท่ีได้รบั มอบหมายตรงตามเวลาและห้องเรียนมคี วามสะอาด

เรียบรอ้ ย นักเรยี นท้งิ ชยะใหเ้ ปน็ ทเ่ี ปน็ ทาง มีการปรบั ปรงุ ห้องเรยี นและส่ือการเรยี นรู้ต่างๆภายในหอ้ งเรยี นจน

ทำให้เกดิ บรรยากาศทเี่ อื้อต่อการเรยี นรู้

พฤตกิ รรมบงช้ีเชิงบวก (นกั เรียน)
1.นกั เรียนเกบ็ ขยะเอง และทำความสะอาดห้องเรยี นโดยที่ครูไมต่ ้องบอก
2.นักเรยี นรู้จักบทบาทหน้าที่ของตนเอง และมีความรบั ผดิ ชอบในการทำเวรประจำวนั ของตนเอง

10.ประโยชน์ทีค่ าดวา่ ไดร้ ับ
1.นักเรียนเป็นผูท้ ี่มคี วามรับผิดชอบในตนเองมากขน้ึ
2.นกั เรยี นรูจ้ กั คำวา่ เสียสละ เอื้อเฟอ้ื เผอ่ื แผ่
3.นักเรยี นรู้จกั ความสามัคคี เห็นคณุ ค่าของการทำงานร่วมกนั

บทท่ี 2
เอกสารทเ่ี กีย่ วข้อง

อทิ ธบิ าท 4 เปน็ แนวทางการเรยี น การทำงาน ให้ประสบผลสำเร็จ
พทุ ธทาสภิกขุ อธบิ ายวา่ การทำงานแบบใดๆ โดยไมร่ สู้ กึ ตัว มีระดบั มากน้อยแตกตา่ งกัน คนทีท่ ำงาน

ดว้ ยความพอใจ ขยนั ขนั แขง็ เอาใจใส่ใคร่ครวญอยเู่ สมอนน้ั เรยี กวา่ มีอทิ ธิบาท 4 ประการ มกี ารปฏิบัติโดย
ไม่ได้ตง้ั ตวั ซงึ่ อิทธบิ าททง้ั 4 ประการนี้ ถา้ ปฏิบัติไดค้ รบถ้วนสมบูรณ์ ไมว่ า่ จะเปน็ เดก็ หรือผใู้ หญก่ ็ตาม ยอ่ มท่ี
จะประสบความสำเร็จดังประสงค์

อทิ ธบิ าท 4
1.ฉนั ทะ (aspiration)

ฉนั ทะ แหง่ อทิ ธบิ าท 4 คอื ความพอใจ รักใคร่ เต็มใจ และฝักใฝ่ในงานอยู่เสมอ ทุ่มเทความสามารถ และ
ปรารถนาเพื่อที่จะทำงานนัน้ ให้ดที สี่ ดุ ด้วยการรกั ในงานของตน ชอบในงานของตน งานในที่น้ีหมายถงึ ส่งิ ที่เรา
ทำ ผู้ใดมงี านอะไรแลว้ มีความรกั ใคร่พอใจในงานนน้ั เรยี กวา่ มีฉนั ทะ คนท่ีขาดฉนั ทะ ไม่พอใจในงานของตน
มกั จะทำงานดว้ ยความเหนด็ เหนือ่ ยใจ และชอบทง้ิ งานให้จบั จดและค่ังคา้ งความอยากหรือความฝักใฝ่ที่เกิด
จากฉันทะน้ี มไิ ด้มีความหมายเหมือนกับความอยากไดเ้ พอ่ื ใหไ้ ด้มาซ่งึ การเสพเสวยแก่ตนในทกุ ส่ิงทุกอยา่ ง หรอื
ทเ่ี รยี กว่า ตัณหา เพราะความอยากที่เกดิ จากฉนั ทะนนั้ เป็นความอยากในทางสุจรติ ทต่ี ้องมีการทุ่มเทกำลังกาย
และกำลงั ใจเพื่อใหส้ ิง่ น้นั สำเร็จตามความมุ่งหมาย ภายใต้พ้ืนฐานของคุณธรรม และความดี

องคป์ ระกอบของฉนั ทะ
1. ความยนิ ดใี นสง่ิ ทท่ี ำ นน้ั ๆ
2. ความพอใจในส่ิงที่ทำ น้นั ๆ
3. ความเต็มใจในขณะทีท่ ำสงิ่ นั้นๆ
4. ความมีใจรักในขณะทท่ี ำส่ิงนั้นๆ
5. ความอยากหรือฝกั ใฝ่ท่ีจะทำสงิ่ น้ันๆใหบ้ รรลุถึงจดุ หมาย

ทง้ั นี้ ลักษณะของฉนั ทะท่เี กดิ ข้ึนมไิ ด้เพยี งใชส้ ำหรับการกระทำในการงานเพียงอยา่ งเดยี ว แตส่ ามารถนำไปใช้
เป็นหลักการดำเนนิ ชีวติ ในด้านอนื่ ๆได้ด้วยเช่นกนั ไดแ้ ก่
– ความยินดี และพอใจในฐานะทางครอบครัว
– ความยนิ ดี และพอใจในทรัพยส์ นิ ทต่ี นมี
– ความยนิ ดี และพอใจในความสามารถของตน
– ความยินดี และพอใจในคคู่ รองของตน
– ความยนิ ดี และพอใจในตำแหน่ง และหน้าท่ีของตนในสงั คม
– ความยินดี และพอใจในศาสนาหรอื ลทั ธิทตี่ นนับถือ
ฯลฯ

ฉันทะ เปน็ สงิ่ ที่เกดิ ข้นึ ในจิตภายใต้หลกั ธรรม คอื โยนโิ สมนสิการ คือ การรจู้ ักคิด วิเคราะห์ หรือคิด
ในทางท่ีถูก และเหมาะสมเพ่ือใหเ้ กิดความสำเร็จตามจดุ มงุ่ หมายท่ตี ง้ั ไว้ภายใต้สภาวะแห่งเหตุ และผล ดังนนั้
เม่อื เกดิ ฉันทะ คือ ความพอใจหรอื ยินดีในสิง่ น้นั แลว้ ยอ่ มทำใหเ้ ป็นผู้ท่รี จู้ กั ใชโ้ ยนโิ สมนสิการ คือ การคดิ
วิเคราะหห์ าแนวทางท่ีจะดำเนนิ ต่อไป ซ่ึงจะนำมาสู่การเกิดวิรยิ ะ คอื ความเพียรในแนวทางน้นั ตอ่ ไป

2. วิริยะ (exertion)
วริ ิยะ แหง่ อิทธบิ าท 4 คือ ความเพียรพยายาม ความอตุ สาหะ และมานะบากบ่ัน ท่ีจะทำงานหรือทำ

ส่งิ หน่ึงสง่ิ ใดใหด้ ที สี่ ดุ ไม่ท้อถอยเมื่อเกดิ อุปสรรค และความยากลำบากตา่ งๆ ดว้ ยการมองปัญหาหรืออุปสรรค
ที่ขดั ขวางต่อการทำสิ่งน้นั เป็นสิ่งที่ท้าทาย และต้องเอาชนะใหส้ ำเรจ็

วิริยะ เป็นความเพียรท่ปี ระกอบความดี มีความขยันหมัน่ เพียร ไม่ทอดธุระ เป็นเครื่องพยุงความพอใจ
ไม่ใหท้ ้อถอยในการทำงาน เพราะวา่ งานทุกชนดิ มักจะงา่ ยตอนคิด แต่มักจะตดิ ตอนทำจงึ จำเปน็ ตอ้ งใชค้ วาม
พยายามเรื่อยไปจนกวา่ จะสำเร็จตามความพอใจทป่ี ลกู ไว้

วิริยะ หรอื ความเพยี รนี้ มีความจำเปน็ สำหรับการปฏบิ ตั ิงานหรือการกระทำต่อสิง่ หนึ่งสิง่ ใดใน
ขณะนัน้ เพราะหากต้องการความสำเร็จตามจดุ มุ่งหมายที่ตัง้ ไว้กต็ ้องจำเป็นต้องมีความพยายามเปน็ สำคญั แต่
ความพยายามน้ี มใิ ชห่ มายครอบคลมุ ถึง การปฏบิ ตั หิ รือการกระทำที่ไม่มวี นั หยุด หรือ ไมร่ ้ซู ึ่งพื้นฐานของ
ตนเอง ท่ีมาจากหลักธรรมแห่งโยนโิ สมนสิการ คือ การรู้จกั คิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุ และผลในคนั รองคลองธรรม
เช่นกนั

ประเภทของวริ ยิ ะ
1. สังวรปธาน หมายถึง เพียรระวัง คือ การกระทำสิ่งใดๆจะต้องรูจ้ ักพึงระวังรอบคอบดว้ ยการรู้จกั เหตุ

และผล ไม่ต้ังอยใู่ นความประมาทหรอื อกุศลกรรมทงั้ ปวง
2. ปหานปธาน หมายถงึ เพยี รละ คือ การรจู้ ักละ ลด หรือหลกี เลี่ยงจากอกุศลกรรมท้ังปวงทจ่ี ะเป็นเหตุ

ทำให้การกระทำสิ่งหนงึ่ สง่ิ ใดไม่ประสบความสำเร็จ
3. ภาวนาปธาน หมายถงึ เพยี รบำเพ็ญ คอื การรจู้ กั เพียรตั้งมัน่ และอทุ ศิ ตนต่อการกระทำในสิง่ หนง่ึ สิ่งใด

อย่างเสมำ่ เสมอ
4. อนุรกั ขนาปธาน หมายถงึ เพยี รตามรกั ษาไว้ คือ รจู้ กั รกั ษาหรือทำใหค้ วามเพียรในสงิ่ นน้ั ๆคงอยู่กบั ตน

เป็นนจิ
องค์ประกอบของวิริยะ

1. ความเพยี รในการทำส่ิงน้นั ๆในทางที่ถูกตามเหตุ และผล ภายใต้พ้ืนฐานตามหลักคุณงามความดี
2. การมคี วามกลา้ และความแน่วแนท่ จ่ี ะทำในสิง่ น้นั ๆ
3. การไม่ละทิ้งซง่ึ การงานหรือสิง่ ทกี่ ำลงั ทำอยู่
4. การความอุตสาหะ และอดทนตอ่ ความยากลำบากอยา่ งเป็นนิจ
ท้ังน้ี ลกั ษณะของวริ ิยะที่เกิดข้ึน มิได้อยใู่ นกรอบสำหรบั การงานเท่านั้น แต่สามารถนำไปประยกุ ต์ใช้เป็น
หลกั การดำเนินชวี ติ ในดา้ นอนื่ ๆ ไดแ้ ก่
– ความเพียรในการเจรญิ ธรรม การเจรญิ ภาวนา หรือการรักษาศลี
– ความเพยี รในการศึกษาเล่าเรียนฯลฯ
ดว้ ยเหตุน้ี วิรยิ ะจึงเป็นหลกั ท่ีมคี วามสำคัญอนั จะนำไปสกู่ ารประพฤตปิ ฏบิ ัตใิ นการงานหรือการกระทำต่อ
สิง่ ใดๆ ภายใตพ้ ้ืนฐานของหลักการเหตุ และผลท่เี กดิ จากโยนิโสมนสกิ าร เพ่ือมุ่งใหส้ ่ิงน้ันๆดำเนินไปสู่จดุ หมาย
และสำเร็จตามท่ีได้ต้ังไว้ โดยมีความเพยี รทด่ี ำเนนิ ไปในลักษณะของการปฏิบัติตามหลักปธาน 4 ในข้างตน้ แต่
ท้ังน้ี ความเพียรที่มีมากเกนิ ไป มกั จะทำใหเ้ กิดความฟงุ้ ซ่าน ความไมม่ สี ติ ความเหน็ดเหนอื่ ย จนนำไปสูก่ ารการ
เกิดอุปสรรค และปัญหาในสิง่ น้ัน สง่ ผลตอ่ ความท้อแท้ตามมาได้ นอกจากนนั้ หากมงุ่ เพียรต่อสิ่งใดสิ่งหน่ึงมาก
เกนิ ไป มักจะทำให้เกดิ การลืมท่ีจะกระทำต่อสงิ่ อ่ืนได้งา่ ยเช่นกนั

3. จิตตะ (thoughtfulness)
จติ ตะ แหง่ อทิ ธิบาท 4 คือ การเอาใจใส่ และใหใ้ จจดจ่ออยู่กบั อยู่กับส่งิ ที่ทำ มสี มาธิม่นั คงอยกู่ บั งาน ไม่

ปลอ่ ยปละละเลยในงานท่ีทำ และทำงานดว้ ยความต้งั ใจท่ีจะให้งานนั้นสำเรจ็ แต่หากใครทำการส่งิ ใดดว้ ย
ความเปน็ คนประมาท ไม่เอาใจใส่กับงานที่ตนทำ ทำอะไรท้ิงๆ ขวา้ งๆ งานนั้นย่อมไม่สำเร็จตามเป้าประสงค์
หรอื หากสำเรจ็ แต่กเ็ ป็นความสำเรจ็ ท่ไี ม่มปี ระสิทธิผลในงานทง้ั น้ี จิตตะ หมายถึง จติ ใจ คอื ส่วนทที่ ำหนา้ ที่รู้
สำนึก ร้คู ดิ ซึง่ ความรู้ท่ีเกดิ มาจากจติ น้ัน เป็นความรู้ที่เกิดข้ึนในปจั จุบนั อดตี กาล หรอื กำลังจะเกิดในอนาคต
ล้วนเป็นความรู้ที่ฝงั อยู่ในจติ หรือที่ผา่ นมาแลว้ ทั้งสนิ้ หมายถงึ จติ ส่ังสมความรู้ให้เกดิ ข้ึนในกาลทั้ง 3 น่นั เอง
สว่ นจติ ตะในทนี่ ้ี หมายถงึ สภาวะทางอารมณ์ท่สี ะท้อนมาจากจติ อาทิ ความเข้มแข็ง ความมั่นคง ความม่งุ มน่ั
และความจดจ่อ ตอ่ สงิ่ หนึ่งสิ่งใดที่ทำอยนู่ ัน้
องคป์ ระกอบของจติ ตะ
1. มีความสนใจในสิง่ ที่จะทำน้ันอย่างจริงจงั
2. การเอาใจใส่ในขณะที่กระทำส่งิ นัน้ ๆ
3. การมีใจท่เี ปน็ สมาธิในขณะทก่ี ระทำสิง่ น้นั ๆ
4. การทม่ี จี ิตใจมุ่งมัน่ และแน่วแน่ในขณะทก่ี ระทำส่ิงนนั้ ๆ

ทงั้ นี้ ลักษณะของจิตตะท่เี กิดข้ึน มิได้อยู่ในกรอบสำหรับการงานเท่านนั้ แต่สามารถนำไปประยกุ ตใ์ ช้ใน
ชวี ติ ประจำวนั ดา้ นอน่ื ๆ ได้แก่
– การเอาใจใส่ และม่งุ มัน่ ในการเจริญธรรม
– การเอาใจใส่ และมุง่ มัน่ ในการศึกษาเลา่ เรียนฯลฯ

จติ ตะ มคี วามสมั พนั ธ์กบั สมาธิ คือ หมายถึง จติ เป็นเคร่ืองผลกั ดัน และควบคุมการเกดิ ของสมาธิ โดย
สภาวะจติ ทม่ี คี วามแน่วแน่ และจดจ่อต่อสง่ิ หน่งึ สงิ่ ใด ภาวะทีเ่ กิดข้ึนกับจติ นีจ้ ึงเรียกวา่ สมาธิ ซ่งึ เปน็ เครอ่ื ง
เสริมประสทิ ธิภาพในการจะกระทำสิง่ ใดๆให้ประสบความสำเรจ็ เพราะจิตทเ่ี ป็นสมาธิแน่วแนอ่ ยู่กับส่งิ ท่ีกำลงั
ทำ อยู่ โดยไม่เกดิ ความฟุ้งซ่าน ย่อมทำให้งานประสบความสำเร็จได้ดี ไมผ่ ิดพลาด และมปี ระสิทธิภาพตาม
เป้าหมายทวี่ างไว้

4.วมิ งั สา (investigation)
วิมังสา แห่งอิทธิบาท 4 คือ การสอบสวน ไตร่ตรอง และพจิ ารณาตรวจสอบในส่งิ ท่ีกำลงั ทำนน้ั ๆ รวมถงึ

การรจู้ กั ค้นคว้า ทดลอง คิดค้น และรู้จักคิดแก้ไขปรับปรุงงาน ให้ก้าวหนา้ อยู่เสมอท้งั นี้ ปัจจยั สำคญั ท่สี ง่ ผลต่อ
ความสำเร็จในการทำสิ่งใดๆ ย่อมเกดิ จากปัจจัยจากข้อน้เี ปน็ สงิ่ สำคัญ เพราะการใช้วมิ ังสา คือ การคดิ
วเิ คราะห์ อยา่ งมเี หตุ และผล ย่อมทำใหเ้ ขา้ ใจต่อกระบวนการ วิธกี าร และแนวทางในการดำเนินงานที่ถกู ต้อง
เหมาะสม รวมถึงยอ่ มรูจ้ กั แนวทางในการแกไ้ ขปญั หาท่อี าจเกิดข้ึนไดด้ ี แต่หากไม่มีการใช้ปญั ญาก่อนทำหรือ
ขณะทำสงิ่ ใดๆแล้ว ยอ่ มนำมาซึ่งปัญหา และอุปสรรคในสิง่ นั้นๆ ส่งผลต่อการท้อแท้ การทำส่ิงนน้ั ไม่สำเร็จ หรอื
หากสำเร็จก็จะไมเ่ กดิ ประสิทธผิ ลอยา่ งเตม็ ท่ี

องค์ประกอบของวิมงั สา
1. การใช้ปัญญาคดิ วิเคราะห์กอ่ นทจี่ ะลงมือปฏิบตั ิหรือระหว่างปฏิบัตใิ นสง่ิ นน้ั ๆ
3. การใช้ปญั ญาคดิ วิเคราะห์ในสิง่ นน้ั ๆ ตามคันรองคลองธรรม
2. การแกไ้ ข ปรบั ปรุงข้อบกพรอ่ ง และพฒั นาในสง่ิ นน้ั ๆด้วยปัญญา

ทั้งน้ี ลักษณะของวิมังสาทเ่ี กดิ ข้ึน มไิ ดเ้ หมาะสำหรบั นำไปใช้ในการงานเท่าน้นั แต่สามารถนำไปประยุกตใ์ ชใ้ น
ชวี ติ ประจำวนั ด้านอ่นื ๆ ได้แก่
– การรจู้ กั คิด วิเคราะหใ์ นการเจรญิ ธรรม
– การรจู้ ักคิด วเิ คราะห์ในบทเรยี น
– การรู้จกั คดิ วเิ คราะห์ก่อนท่ีจะพดู หรือทำในส่ิงใดๆฯลฯ

วมิ ังสา คือ การร้จู กั คดิ วเิ คราะห์ ท่มี ักคู่กับคำวา่ ปญั ญา คอื ความรู้ หรือ ความร้แู จ้ง เปน็ ความรู้
ความเข้าใจ ต่อสิง่ ใดสิง่ หนึ่งในเหตุ และผล รวมถึงองคป์ ระกอบ และพนื้ ฐานของสงิ่ ๆน้ัน สามารถตัดสิน และ
บ่งชี้สิง่ นน้ั ไดเ้ ป็นมาอย่างไร มีลกั ษณะอย่างไร รวมถึงรูแ้ ยกแยะสง่ิ ตา่ งๆว่าถกู ผิด ดีชั่ว ดังนนั้ แล้ว การมีปัญญา
จงึ เป็นการรอบรู้ในทกุ ๆด้าน และพึงใช้ปัญญาก่อนทจี่ ะทำเพื่อใหเ้ กดิ ความเข้าใจ และลึกซงึ้ ก่อน เพือ่ ให้การ
นน้ั ๆดำเนินไปตามเปา้ หมายท่ีวางไว้ และไมเ่ กดิ ปัญหาอุปสรรค พรอ้ มยังประสิทธภิ าพในส่ิงนน้ั ให้สำเรจ็ ตาม
วตั ถุประสงค์

ประโยชน์ของอิทธิบาท 4
1. ประโยชน์ของฉันทะ คอื ทำใหเ้ ปน็ ผู้มีความพอใจ และมีใจรักตอ่ งาน ทำให้เกดิ ความรู้สึกเต็มใจในการ

ทำงาน เกิดการทำงานดว้ ยความสุข ไมร่ ้สู ึกเบื่อหนา่ ยงา่ ย ไม่เกดิ อาการทอ้ แท้ ช่วยใหง้ านดำเนินตอ่ ไปอย่าง
ตอ่ เน่ือง และเกดิ การสร้างสรรคใ์ นงาน

2. ประโยชนข์ องวิรยิ ะ คือ ทำใหเ้ ปน็ คนมน่ั เพยี ร และขยนั ในการทำงาน ไมม่ คี วามเกียจคร้าน มุง่ มนั่ ทจ่ี ะ
ทำงานใหเ้ สรจ็ ผ้ทู ขี่ าดความขยัน ยอ่ มทำงานขาดๆเกนิ ๆหรือมกั ทำงานน้ันไม่สำเร็จ หรือหากสำเรจ็ กส็ ำเร็จ
ลา่ ช้า และไม่มีประสทิ ธิภาพ

3. ประโยชนข์ องจติ ตะ คือ ทำใหเ้ ปน็ คนมคี วามม่งุ มน่ั และจดจอ่ กบั งานที่ทำ จิตมีความแน่วแน่ และ
ม่ันคงต่อปญั หาตา่ งๆที่เกดิ ขน้ึ ชว่ ยให้งานดำเนนิ ตอ่ ไปอยา่ งตอ่ เน่ืองตามกระบวนการ ทราบความเปน็ ไปของ
งานอยเู่ สมอ

4. ประโยชน์ของวิมงั สา คอื ทำให้เป็นผทู้ ่ีรูจ้ ักคดิ วเิ คราะหใ์ นงาน ช่วยทำใหท้ ราบ และเข้าใจใน
กระบวนการของงาน และหากเกิดปัญหาก็ย่อมเกิดแนวทางในการแก้ปัญหาน้ันได้อย่างง่ายดาย งานไม่
ผดิ พลาด และทำงานตามกรอบท่ีวางไว้ให้ประสบความสำเร็จ ถา้ ขาดวิมงั สาจะทำใหเ้ ป็นคนทำงานไมม่ ี
หลักการ ทำงานไม่มแี นวทาง ไม่มแี บบแผน ซึง่ ยากที่จะเกดิ ความสำเรจ็ ไดโ้ ดยง่าย

ดังนั้น ฉันทะ และวิริยะ เป็นหลักปฏิบัติท่ีช่วยใหบ้ ุคคลมคี วามมั่นใจในการทจ่ี ะเผชิญหนา้ กับปญั หา และ
อุปสรรคในการทำงาน และมีจติ ตะ และวิมงั สา เป็นหลักปฏบิ ตั ทิ ช่ี ่วยในการเอาชนะปัญหา และอุปสรรคใน
การทำงานเปน็ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพยิ่งข้ึน

บทที่ 3
วธิ กี ารดำเนนิ งาน

1. ขัน้ ตอนการดำเนินงาน
1. นักเรยี นระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 5/2 ร่วมประชุมปรึกษาหารือเกย่ี วกับการดำเนนิ งานภายใน

ห้องเรียน เช่น การแต่งต้ังหัวหนา้ หอ้ ง การแต่งต้งั เวรประจำวัน ฯลฯ
2. เลือกหัวหนา้ เวรประจำวันและให้สมาชิกแตล่ ะคนเลอื กเวรประจำวันตามความสมัครใจ
3. จดั ทำแนวปฏบิ ัติและข้อตกลงในการปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ีเวรประจำวันแต่ละวัน
4. ทกุ คนปฏิบตั ิหนา้ ทีท่ ่ีได้รับมอบหมาย
5. ครูทีป่ รกึ ษาแนะนำวิธีการ แนวทางในการนำขยะมาประดิษฐ์เปน็ ของใชต้ ่างๆ เพ่ือใหน้ ักเรียนเห็น

ความสำคญั ของขยะ และมามารถนำมาแลกเป็นเงินได้
6. สงั เกตพฤติกรรมการปฏิบัตงิ าน และปฏบิ ัติตน
7. สรปุ ละประเมินผล โดยใชเ้ ครอ่ื งมือประเมนิ คือ แบบบนั ทึกตรวจเวรประจำวนั ของคณะกรรมการ

นักเรยี น
8. เสนอแนะ ปรบั ปรุง แก้ไข
9. จัดทำรปู เล่ม
10. จดั ทำผงั โครงงาน
11. นำเสนอโครงงาน

2. ตัวช้ีวดั
1.นักเรยี นมพี ฤติกรรมที่พึงประสงค์ คือรจู้ ักความรับผดิ ชอบและมีวนิ ยั ในตนเองมากขน้ึ
2. ผลจากการสำรวจห้องเรยี นของสภานักเรยี น ร้อยละ 90 ห้องเรียนช้ัน ป.5/2 สะอาดและเปน็

ระเบยี บเรียบร้อยดี

3.วิธกี ารวัดและประเมินผล
1. สังเกตุพฤติกรรม
2. แบบบันทึกการตรวจเวรประจำวนั ของคณะกรรมการนักเรยี น

บทท่ี 4
ผลการศกึ ษาค้นควา้

จากการทำโครงงาน “ห้องเรียนสะอาดนา่ อยู่ นา่ รู้ น่าเรยี น ” ของนักเรยี นระดับชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่
5/2 ประจำปกี ารศึกษา 2565 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 50 เรมิ่ จากการประชุมปรกึ ษาหารือเก่ยี วกับ
การดำเนินงานภายในห้องเรยี น เช่น การแต่งต้ังหวั หน้าห้อง การแตง่ ต้ังเวรประจำวัน การเลอื กหวั หน้าเวร
ประจำวนั และให้สมาชกิ แตล่ ะคนเลอื กเวรประจำวนั ตามความสมคั รใจ จัดทำแนวปฏิบตั แิ ละข้อตกลงในการ
ปฏิบตั หิ น้าที่เวรแต่ละวนั ทุกคนมาปฏบิ ตั หิ น้าที่ท่ีได้รับมอบหมาย นอกจากน้นี กั เรียนกไ็ ดเ้ ก็บขยะท่สี ามารถ
ขายได้ เก็บใสถ่ ุงดำเพ่ือนำไปขาย บางสว่ นนักเรียนกน็ ำมาประดิษฐเ์ ป็นของใช้ส่วนตวั เช่น กล่องใส่ดินสอ
ตะกรา้ จากกล่องนม โดยสังเกตุพฤติกรรมการปฏบิ ตั งิ าน ปฏบิ ตั ิตน สามารถสรปุ ผลการดำเนนิ งาน ไดด้ งั นี้

จากการศึกษาพบว่า
1. นักเรยี นทีเ่ ขา้ รว่ มกิจกรรมโครงงาน “ ห้องเรียนสะอาดนา่ อยู่ น่ารู้ น่าเรยี น ” มคี วามรบั ผิดชอบ
และมีวินยั ในตนเองมากขน้ึ
2. ผลการตรวจหอ้ งเรียนจากกรรมการสภานักเรียนพบวา่ ร้อยละ 90 มคี วามสะอาด และเป็น
ระเบียบมากขนึ้

บทที่ 5
สรปุ ผล

สรปุ ผลการดำเนินงาน
จากการดำเนินโครงงาน “ ห้องเรยี นสะอาดน่าอยู่ น่ารู้ น่าเรียน” ของนักเรยี นระดับชน้ั ประถมศึกษา

ปที ่ี 5/2 ปีการศึกษา 2565 เพ่ือแกป้ ัญหานักเรยี นท้ิงขยะไม่ถูกที่ ไมเ่ ก็บขยะ ไมท่ ำความสะอาดห้องเรียน
โดยสรุปผลการดำเนินงาน ดงั นี้

1. นกั เรียนทีเ่ ขา้ รว่ มกิจกรรมโครงงาน “ห้องเรียนสะอาดน่าอยู่ น่ารู้ นา่ เรยี น ” มีความรับผิดชอบ
และมีวินัยในตนเองมากขึน้

1. 2. ผลการตรวจหอ้ งเรยี น ร้อยละ 90 มคี วามสะอาด เป็นระเบียบมากขนึ้

ข้อเสนอแนะ
1.ควรขยายผลไปยงั นกั เรยี นทกุ คนในโรงเรียน
2.ควรจัดทำโครงงานนีอ้ ย่างต่อเน่อื ง เพื่อให้นกั เรียนมคี วามรบั ผิดชอบและมีวนิ ยั ในตนเองอยา่ งยงั่ ยืน

ของลักษณะนสิ ยั

โครงงานคณุ ธรรม

เร่อื ง หอ้ งเรยี นสะอาด น่าอยู่ น่ารู้ นา่ เรยี น

โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๕๐
อาเภอบา้ นแฮด จงั หวัดขอนแกน่
สานักบรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน

กระทรวงศึกษาธกิ าร