หน่วยการ เรียน รู้ที่ 5 การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์

  • buddha-p1-test - ****ข้อสอบมาตรฐาน วิชาพระพุทธศาสนา ป.1**** - ข้อสอบมาตรฐานชั้น ป.1 พระพุทธศาสนา เรื่องที่ 1 ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนา - ข้อสอบมาตรฐานชั้...

    4 ปีที่ผ่านมา

  • art-p1-test - ****ข้อสอบมาตรฐานชั้น ป.1 - วิชา ศิลปะ ดนตรี และนาฎศิลป์ **** - ข้อสอบมาตรฐานชั้น ป.1 - วิชา ศิลปะ ดนตรี และนาฎศิลป์ - ตอนที่ 1 ทัศนศิปล์ หน่วยที่ 1...

    4 ปีที่ผ่านมา

  • Kanngan-p5-test- - ****ข้อสอบมาตรฐานชั้น ป.5 - วิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี**** - ข้อสอบมาตรฐานชั้น ป.5 - วิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี หน่วยที่ 1 งานบ้านน่ารู้ - ข้อส...

    4 ปีที่ผ่านมา

  • Main - - ****รวมแบบทดสอบ แบบฝึกหัด - อนุบาล - ประถม - มัธยม**** - *ข้อสอบมาตรฐาน ป.1 - ป.6* - *ข้อสอบมาตรฐาน ป.1* - ข้อสอบมาตรฐาน ป.1 - วิชาพระพุ...

    4 ปีที่ผ่านมา

  • About Ang Thong - อ่างทอง เป็นจังหวัดเล็ก ๆ ตั้งอยู่บริเวณภาคกลางตอนล่าง มีเนื้อท่ 968 ตารางกิโลเมตร ลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่ม มีแม่่น้ำสายสำคัญไหลผ่านสองสาย คือ แม่น้ำ...

    10 ปีที่ผ่านมา

  • Main - หน้าแรก เลือกหัวข้อได้เลยค่ะ

    59 ปีที่ผ่านมา

  • Main - ****คลังข้อสอบ แบบฝึกหัด และใบงาน**** *ข้อสอบมาตรฐาน ป.1 - ป.6* - *ข้อสอบมาตรฐาน ป.1* - ข้อสอบมาตรฐาน ป.1 - วิชาพระพุทธศาสนา

    59 ปีที่ผ่านมา

We’ve updated our privacy policy so that we are compliant with changing global privacy regulations and to provide you with insight into the limited ways in which we use your data.

You can read the details below. By accepting, you agree to the updated privacy policy.

Thank you!

View updated privacy policy

We've encountered a problem, please try again.

สาระสำคัญ/ความคิดรวมยอด

            พัฒนาการทางสังคมและวัฒนธรรมของแต่ละประเทศเป็นผลมาจากการปฏิสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มคน ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี และความต้องการในการพัฒนาประเทศให้ทัดเทียมกับนานาชาติ

ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้

            ตัวชี้วัด

                   ส 4.1 ม.3/1 วิเคราะห์เรื่องราวเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์ได้อย่างมีเหตุผลตามวิธีการทางประวัติศาสตร์

                   ส 4.1 ม.3/2 ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาเรื่องราวต่าง ๆ ที่ตนสนใจ

                   ส 4.3 ม.3/3 วิเคราะห์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์และอิทธิพลต่อการพัฒนาชาติไทย

                   ส 4.3 ม.3/4 วิเคราะห์บทบาทของไทยในสมัยประชาธิปไตย

          วัตถุประสงค์

                   1. นักเรียนสามารถอธิบายความหมายของภูมิปัญญาและวัฒนธรรมได้อย่างถูกต้อง

                   2. นักเรียนสามารถวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อการสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์ได้อย่างสมเหตุสมผล

                  3. นักเรียนสามารถนำเสนอแนวทางการอนุรักษ์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์ได้อย่างเหมาะสมและสร้างสรรค์

                   4. นักเรียนอภิปรายความสำคัญของภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์ที่มีต่อพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ไทยได้อย่างสมเหตุสมผล

                   5. นักเรียนสามารถอธิบายบทบาทและผลงานของตัวอย่างบุคคลสำคัญที่มีส่วนอนุรักษ์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์ได้อย่างถูกต้อง

                   6. นักเรียนสามารถวิเคราะห์ผลของการอนุรักษ์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์จากกรณีศึกษาได้อย่างสมเหตุสมผล

                   7. นักเรียนสามารถอภิปรายความสำคัญของการอนุรักษ์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์ได้อย่างสมเหตุสมผล

การวัดผลและประเมินผล

          1. สังเกตพฤติกรรมการร่วมกิจกรรม

๕หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี

การสร้างสรรคภ์ ูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทย

สมยั รตั นโกสินทร์

จดุ ประสงค์การเรียนรู้
• วิเคราะห์ภูมปิ ญั ญาและวฒั นธรรมไทยสมยั รัตนโกสนิ ทร์ และอิทธพิ ลต่อการพฒั นาชาตไิ ทยได้

ความหมายของภมู ปิ ญั ญาและวฒั นธรรมไทย วฒั นธรรม
ภูมปิ ญั ญา

• ความรู้ ความคดิ ความเชื่อ ท่ีกล่มุ ชนไดจ้ ากประสบการณ์ • ระบบความเช่อื ระบบคณุ คา่ และวถิ ชี ีวติ ท้ังหมด เมอื่ กลา่ วถงึ
ที่สง่ั สมไว้ในการปรบั ตวั และการดารงชวี ิตมีท้งั ภูมปิ ญั ญา ภมู ปิ ัญญาก็เปน็ ลกั ษณะส่วนหน่งึ ของวฒั นธรรม และเมอ่ื
อันเกิดจากประสบการณใ์ นพนื้ ท่ี ภูมปิ ญั ญาท่มี าจาก กลา่ วถึงวัฒนธรรมก็จาเปน็ ต้องกล่าวถงึ ภมู ปิ ัญญาด้วย
ภายนอก และภมู ปิ ญั ญาทผี่ ลิตใหม่หรือผลติ ซ้าเพอ่ื การ
แก้ปัญหาให้สอดคล้องกับความจาเป็นและความ
เปลย่ี นแปลง

ปจั จัยพืน้ ฐานทมี่ ีอิทธิพลต่อการสร้างสรรคภ์ มู ิปญั ญาและวฒั นธรรมไทย

สภาพภูมิศาสตร์ ลกั ษณะของสงั คม
และสภาพแวดลอ้ ม และวฒั นธรรม

• แต่ละภมู ภิ าคของประเทศมีสภาพภมู ศิ าสตร์และ • สังคมไทยเป็นสงั คมแห่งความเสมอภาคภายใต้

อากาศทีแ่ ตกต่างกนั รัฐธรรมนญู
• ทาใหค้ นไทยต้องแก้ปัญหาใหส้ อดคลอ้ งกบั สภาพ • คนไทยสว่ นใหญ่นบั ถอื พระพุทธศาสนา มวี ังและ

ภมู ิศาสตร์ส่ิงแวดลอ้ ม วดั เปน็ ศูนยก์ ลางการสรา้ งสรรค์ศิลปวฒั นธรรม

ตวั อยา่ งการสร้างสรรค์ภูมิปญั ญาและวฒั นธรรมไทยสมยั รัตนโกสินทร์

การแพทยแ์ ผนไทย
• การใช้สมุนไพรในการรกั ษาโรค ได้มาจากการทดลองคิดคน้ คุณสมบตั ิของพืช สตั ว์ และธาตุท่ีมอี ย่ตู าม

ธรรมชาติ
• การบริหารรา่ งกาย เรียกว่า ฤๅษดี ดั ตน
• การนวดประคบ เปน็ การจบั เส้นด้วยมือ หรือใชอ้ ปุ กรณต์ ่างๆ เพ่ือช่วยบาบดั รกั ษาโรค

จารกึ ตารายาวดั ราชโอรสาราม นบั เปน็ ตาราการแพทยแ์ ผนไทย ซึง่ เปน็ มรดกทาง
ภูมิปัญญาอนั ล้าคา่ ของชาติไทยท่คี วรรักษาใหค้ งอยสู่ บื ต่อไป

การทอผา้ พ้นื บา้ น

เปน็ หัตถกรรมในครัวเรอื นทสี่ ืบทอดตอ่ กนั มา สะท้อนใหเ้ หน็ ถงึ วัฒนธรรมไทย ดงั น้ี
• รู้จกั นาวสั ดธุ รรมชาตทิ ่ีมอี ย่ใู นท้องถ่นิ มาใชใ้ นการทอผ้า
• รจู้ ักประดิษฐล์ วดลายลงบนผนื ผา้
• อาศัยแรงงานคนในครอบครัวแทนเครอ่ื งจกั รในการทอเครือ่ งนงุ่ หม่ ใช้ในครอบครวั

การทอผ้ามดั หม่ี นบั เปน็ ภมู ปิ ญั ญาและวฒั นธรรมไทยทางดา้ นศิลปหตั ถกรรม
ที่มีความสวยงามมาตง้ั แต่อดตี จนถึงปจั จบุ นั

ข้าวในวัฒนธรรมไทย

• ขา้ วเป็นบอ่ เกิดของความเชื่อ ประเพณี และพธิ ีกรรมตา่ งๆ เชน่ พธิ ีไหวแ้ มโ่ พสพ พธิ ีเลย้ี งผตี าแฮก
พิธีบชู าแม่ธรณี

• พระราชพธิ ีพืชมงคลจรดพระนงั คัลแรกนาขวญั เพื่อเปน็ สริ ิมงคลและขวญั กาลังใจใหแ้ ก่เกษตรกร

เมลด็ ข้าวหอมมะลิ เปน็ พันธุข์ ้าวของไทยที่ดที ส่ี ดุ ประเพณีไหวแ้ มโ่ พสพ เป็นการแสดงความเคารพต่อแม่โพสพ
ซึ่งไดร้ บั การยอมรับจากนานาชาติ ซง่ึ เปน็ ธรรมเนียมที่ปฏบิ ตั ิสบื ต่อกนั มาช้านาน

งานเครื่องไมจ้ าหลัก
• ใชเ้ พอ่ื ประดับตกแตง่ สถาปัตยกรรมตา่ งๆ ภาพจาหลกั สว่ นใหญเ่ ป็นเทพยดารกั ษาประตูโบสถ์ หรอื

รักษาโบสถ์
• สะท้อนถงึ ความสามารถของชา่ งไทยทสี่ รา้ งสรรคผ์ ลงานด้วยความประณีตเปน็ พเิ ศษ และไดส้ บื ทอด

มาถงึ อนุชนรุน่ หลัง

งานจาหลกั ไมท้ ี่บานประตอู โุ บสถวัดระฆังโฆสติ ารามแสดงให้เหน็ ถงึ ความสวยงามและประณีต
บรรจงในการสรา้ งสรรค์ผลงานของช่างไทย

วรรณกรรมในรชั กาลท่ี ๖

• รชั กาลที่ ๖ ทรงพระราชนิพนธง์ านวรรณกรรมหลายประเภททีม่ คี ุณคา่ เชน่ ประเภทวรรณคดี บทละคร
ศาสนา ประวตั ิศาสตรแ์ ละโบราณคดี การเมือง กฎหมาย เป็นต้น

• บทพระราชนพิ นธใ์ นรัชกาลที่ ๖ สะท้อนถงึ ความเจรญิ ทางด้านสตปิ ญั ญาและความคิดของคนไทย ที่แสดง
ออกมาในรปู แบบของวรรณคดี รวมถึงเปน็ แหล่งความรใู้ นด้านตา่ งๆ ทีส่ ามารถนาไปใชใ้ ห้เกดิ ประโยชน์ใน
ชวี ิตได้

ตัวอยา่ งบทพระราชนพิ นธใ์ นรัชกาลที่ ๖ นอกจากจะมีความไพเราะงดงามทางดา้ นวรรณศลิ ป์แล้ว
ยังปลกู จิตสานึกในความรกั ชาตดิ ว้ ย

วรรณกรรมเก่ียวกบั อาหารไทยของชนช้ันสูง

กาพย์เห่ชมเคร่ืองคาวหวาน

• พระราชนพิ นธ์ในรัชกาลท่ี ๒
• แสดงถึงความงามของวรรณคดีท่สี ะท้อนถึงความประณีต ความละเอยี ดออ่ นของคนไทยในการทาอาหาร

ตาราแม่ครัวหวั ป่ าก์
• รวบรวมและเรียบเรียงโดยทา่ นผู้หญิงเปล่ียน ภาสกรวงศ์
• เป็นตาราทรี่ วบรวมอาหารท่ีเจา้ นายและขนุ นางปรุงสาหรับรบั ประทานและสบื ทอดกนั มาเปน็ องค์ความรู้

เกีย่ วกบั อาหาร

สถาปตั ยกรรมช่างสิบหมู่

• รชั กาลท่ี ๑ โปรดเกลา้ ฯ ให้จดั ต้งั และวางระเบียบของกรมชา่ งสบิ หม่ทู ่เี คยมมี าแตค่ ร้ังกรุงศรีอยุธยา
เพอื่ ประโยชนใ์ นการกอ่ สรา้ งพระบรมมหาราชวัง พระท่นี ง่ั และวดั ตา่ งๆ

• เพื่อดารงไวซ้ ง่ึ ศิลปวฒั นธรรมอันลา้ คา่ ของไทย เช่น พระมหาปราสาทและพระราชมณเฑียร
ในพระบรมมหาราชวัง เปน็ ตน้

• สะทอ้ นถงึ วฒั นธรรมและภูมิปัญญาไทยด้านสถาปัตยกรรม ทบี่ รรดาช่างสิบหมขู่ องไทยได้สร้างสรรค์
เอาไว้เป็นมรดกใหค้ นรุ่นหลังตอ่ มา

พระที่น่งั ดสุ ิตมหาปราสาท ถอื เปน็ สถาปัตยกรรมชน้ั เอกของกรุงรตั นโกสนิ ทร์ โดยเปน็ พระทนี่ ัง่
ทรงไทยแทอ้ งค์เดยี วในพระบรมมหาราชวงั

ตวั อยา่ งบุคคลสาคญั ในการสรา้ งสรรค์ภมู ิปญั ญาและวฒั นธรรมไทย
พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช

พระราชพธิ เี สดจ็ พระราชดาเนนิ ถวายผา้ พระกฐิน โดยกระบวน
พยุหยาตราทางชลมารค ไดร้ บั การฟืน้ ฟขู ึ้นมาใหม่ ตัง้ แต่ พ.ศ. ๒๕๐๒ เปน็ ต้นมา

ทรงพระอกั ษรและทรงพระราชนพิ นธ์หนงั สือแปลหลายเร่อื ง
ทรงสง่ เสรมิ ศลิ ปวัฒนธรรมไทยทกุ แขนง รวมท้ังภาษาไทยซึง่ เปน็ ภาษาประจาชาติ

ทรงฟื้นฟูพระราชพิธีสาคัญ เชน่ พระราชพิธจี รดพระนังคลั แรกนาขวัญ
พระราชพธิ เี สดจ็ พระราชดาเนนิ ถวายผา้ พระกฐนิ โดยกระบวนพยุหยาตราทางชลมารค เปน็ ต้น

สมเดจ็ พระนางเจ้าสิริกติ ์ิ พระบรมราชินีนา

ภาคกลาง ทรงฟ้นื ฟกู ารป้นั ต๊กุ ตาชาววัง
ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ทรงฟืน้ ฟูลายมดั หมี่แบบโบราณ
ภาคเหนอื ทรงฟน้ื ฟกู ารทอผา้ ไหม ผ้ายก ผา้ ตนี จก และงานเยบ็ ปักถกั รอ้ ย
ภาคใต้ ทรงฟนื้ ฟศู ลิ ปะการจกั สานย่านลิเภา การถมเงิน ถมทอง การแกะสลักหนงั ตะลงุ

พระยาอนมุ านราชธน

• เปน็ ประธานกรรมการชาระปทานุกรม ทาอักขรานุกรมภูมศิ าสตร์ไทย บญั ญตั ศิ พั ทภ์ าษาตา่ งประเทศเป็นภาษาไทย
และทาสารานกุ รมไทย

• ผลงานท่ีสาคัญ เช่น หนังสอื ชวี ติ ชาวไทยสมัยกอ่ นและการศึกษาเรอ่ื งประเพณีไทย หนังสือการศกึ ษาวรรณคดี
แงว่ รรณศลิ ป์ หนงั สือศาสนาเปรยี บเทยี บ

พระยาอนุมานราชธน
นักปราชญ์ผมู้ คี ณุ ูปการอย่างใหญ่หลวงต่อวงวิชาการของไทย