ข้อสอบนิติศาสตร์ พร้อมเฉลย

ปีการศึกษา 2559กฎหมายเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจในประเทศไทยและภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้กฎหมายสิทธิมนุษยชนในกระบวนการยุติธรรมทางอาญากฎหมายเกี่ยวกับการตรวจสอบอำนาจรัฐกฎหมายเศรษฐกิจระหว่างประเทศกฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์กฎหมายภาษีอากรกฎหมายรัฐธรรมนูญและสถาบันการเมืองกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง 1อาชญาวิทยาและทัณฑวิทยา (รัฐศาสตร์)กฎหมายอาญา : ภาคทั่วไป (รัฐศาสตร์)กฎหมายอาญา : ภาคทั่วไป (นิติศาสตร์)กฎหมายลักษณะครอบครัวกฎหมายสิ่งแวดล้อมหลักกฎหมายการคลังและภาษีอากรของอค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกฎหมายอาเซียนกฎหมายมหาชนเบื้องต้นกฎหมายแรงงานหลักกฎหมายปกครองท้องถิ่นกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา 2หลักกฎหมายการคลังสาธารณะกฎหมายตั๋วเงินและตราสารเปลี่ยนมือกฎหมายลักษณะยืม ค้ำประกัน จำนอง จำนำประวัติศาสตร์กฎหมายกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา 1 (นิติศาสตร์)กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา 1 (รัฐศาสตร์)กฎหมายระหว่างประเทศแผนคดีเมืองกฎหมายลักษณะทรัพย์สินกฎหมายการค้าระหว่างประเทศกฎหมายลักษณะตัวแทน นายหน้าความรู้เบื้งต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป (รัฐศาสตร์)กฎหมายอาญา : ภาคความผิดกฎหมายลักษณะหุ้นส่วน บริษัทหลักกฎหมายปกครองกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง 2ทักษะการศึกษาวิชากฎหมายกฎหมายเกี่ยวกับการประกันภัยกฎหมายเกี่ยวกับการปฏิบัติราชการสัมมนานิติพัฒนบูรณาการศาสตร์กฎหมายเกี่ยวกับอาชญากรรมทางเศรษฐกิจและการฟอกเงินกฎหมายลัษณะหนี้กฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคระเบียบวิธีวิจัยทางสหวิทยาการกฎหมายลักษณะนิติกรรมสัญญาการว่าความและการจัดทำเอกสารทางกฎหมายกฎหมายแพ่ง : หลักทั่วไปกฎหมายการค้าระหว่างประเทศกฎหมายเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของประชาชนกฎหมายเกี่ยวกับการสืบสวนและสอบสวนกฎหมายเกี่ยวกับความร่วมมือทางเศรษฐกิจในกลุ่มอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงกฎหมายเกี่ยวกับที่ดินกฎหมายทรัพย์สินทางปัญญากฎหมายที่มีโทษทางอาญาในชีวิตประจำวัน (นิติศาสตร์)กฎหมายผังเมืองและการควบคุมอาคารกฎหมายมหาชนทางเศรษฐกิจเบื้องต้นกฎหมายมหาชนเบื้องต้นกฎหมายระหว่างเทศแผนกคดีบุคคลกฎหมายลักษณะเช่าทรัพย์ เช่าซื้อ จ้างแรงงาน จ้างทำของกฎหมายลักษณะซื้อขาย แลกเปลี่ยน ให้กฎหมายลักษณะฝากทรัพย์ เก็บของในคลังสินค้า รับขนประนีประนอมยอมความกฎหมายลักษณะพยาน (นิติศาสตร์)กฎหมายลักษณะพยาน (รัฐศาสตร์)กฎหมายลักษณะมรดกกฎหมายลักษณะยืม ค้ำประกัน จำนอง จำนำกฎหมายลักษณะล้มละลายและการฟื้นฟูกิจการกฎหมายลักษณะละเมิด จัดการงานอกสั่งและลาภมิควรได้กฎหมายลักษณะหุ้นส่วน บริษัทกฎหมายว่าด้วยการควบคุมฝ่ายปกครองกฎหมายวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง 2กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา 2 (นิติศาสตร์)กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา 2 (รัฐศาสตร์)กฎหมายศุลกากรกฎหมายอาญา ภาคความผิด (นิติศาสตร์)กฎหมายอาญา ภาคความผิด (รัฐศาสตร์)นิติปรัชญาภาษาอังกฤษสำหรับนักกฎหมายระบบศาลและพระธรรมนูญศาลยุติธรรมระเบียบวิธีวิจัยทางสหวิทยาการวิชาชีพจรรณาบรรณและจริยธรรมของนักนิติศาสตร์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

• ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกฏหมาย • กฎหมายลักษณะบุคคล นิติกรรม สัญญา หนี้ เอกเทศสัญญา ละเมิด จัดการงานนอกสั่ง ลาภมิควรได้ ทรัพย์ ครอบครัว มรดก

• อาญาทั่วไป ภาคความผิด เกี่ยวกับทรัพย์ ชีวิตร่างกาย

• กฎหมายพิเศษ เช่น วิธีพิจารณาแพ่งฯ อาญา พยาน ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาล กฎหมายรัฐธรรมนูญ เป็นต้น

อ่านเพิ่มเติมฉบับเติมพร้อมคอร์สติวแนะนำสำหรับนักเรียน คลิกเลย

ผู้อื่น แต่หลักกฎหมายข้อ ข. ไม่ได้ระบุคำว่า ผู้อื่น ไว้ เหมือนกับหลักกฎหมาย ข้อ ก. (หลักการทำข้อสอบคือ ยึดตามหลักกฎหมายที่ข้อสอบให้มา ไม่อิงตามหลักกฎหมายจริง)

ดังนั้น การที่นายโหน่งเผาหญ้าที่สนามหน้าบ้านตนเองและไม่ดูแลให้ดีปล่อยให้ลามไหม้บ้านของตนเอง จึงไม่มีความผิดวางเพลิงเผาทรัพย์ ตามหลักกฎหมาย ก. เพราะเป็นบ้านของตนเอง ไม่ใช่ของผู้อื่น

แต่มีความผิดทำให้เสียทรัพย์ได้ เนื่องจากหลักกฎหมาย ข. ไม่ได้ระบุคำว่า “ผู้อื่น” เหมือนกับหลักกฎหมาย ก. ดังนั้น เมื่อวินิจฉัย ข้อเท็จจริงกับหลักกฎหมายแล้ว ก็ครบองค์ประกอบทุกอย่างอันได้แก่
1. ผู้ใด = นายโหน่ง

2. ทำให้เสียหาย = ไฟไหม้

3.
ซึ่งทรัพย์ = บ้าน

และแม้นายโหน่งจะไม่มีเจตนาแต่หลักกฎหมายข้อ ค. ก็ระบุให้ประมาทเป็นความผิด ตามหลักกฎหมายข้อ ก. และ ข. ได้

ข้อนี้ หลักกฎหมายที่สำคัญ คือ หลักกฎหมายข้อที่ 3 ที่ทำให้ความเป็นเจ้าของในล็อตเตอรี่นั่นโอนไปยังนายวันผู้ซื้อแล้วตั้งแต่ขณะที่นายวันและนายทู มีคำเสนอซื้อและสนองขายต้องตรงกัน

ดังนั้น การที่นายวันหยิบล็อตเตอรี่ที่ตัวเองเป็นเจ้าของแล้ว จึงไม่ได้เป็นการเอาของผู้อื่นไป อีกทั้งไม่เป็นความผิดฐานฉ้อโกง เพราะนายวันไม่ได้มีการพูดหลอกลวงนายทูแต่อย่างใด เพราะนายทูเป็นคนบอกให้หยิบไปเอง

6.ส่วนราชการใดมีความจำเป็นที่จะต้องปฏิบัติงานสารบรรณนอกเหนือไปจากที่กำหนดไว้ในระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 ให้ขอทำความตกลงกับใคร

7.หนังสือราชการตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ มีกี่ชนิด

8.หนังสือราชการคือ เอกสารที่เป็นหลักฐานในราชการมีกี่ประเภท

9.ถ้าผู้รับหนังสือเป็นรัฐมนตรีคำขึ้นต้นใช้คำว่าอะไร

- เรียน (คำลงท้าย..ขอแสดงความนับถือ)

10.    ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2548 ให้ใช้บังคับตั้งแต่เมื่อใด

11.    หนังสือที่ติดต่อราชการเป็นแบบพิธีได้แก่หนังสือชนิดใด

12.    ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 ใช้บังคับแล้ว ให้ยกเลิกฉบับใดบ้าง

- ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2506

- ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการลงชื่อในหนังสือราชการ พ.ศ. 2507

- ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการลงชื่อในหนังสือราชการ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2516

13.    งานสารบรรณมีความหมายตรงกับอะไร

- งานที่เกี่ยวกับการบริหารงานเอกสาร เริ่มตั้งแต่การจัดทำ การรับ การส่ง การเก็บรักษา การยืม จนถึงการทำลาย

14.    “หนังสือ” ตามระเบียบนี้ หมายความว่าอะไร

15.    หนังสือประทับตราใช้สำหรับเรื่องใด

- การขอรายละเอียดเพิ่มเติม

- การแจ้งผลงานให้ผุ้เกี่ยวข้องทราบ

16.เจ้าของเรื่องจะเก็บหนังสือประเภทใดได้บ้าง

- เจ้าของเรื่องสามารถเก็บหนังสือทั้งที่เป็นต้นฉบับและสำเนาซึ่งเป็นหนังสือที่อยู่ในระหว่างปฏิบัติและหนังสือที่ปฏิบัติการเสร็จแล้วแต่ต้องเก็บไว้เพื่อใช้ในการตรวจสอบ

17.การทำสำเนาในระเบียบงานสารบรรณ พ.ศ.2526 ประกอบด้วยอะไรบ้าง

- สำเนาคู่ฉบับ หนังสือราชการเป็นหลักฐานที่สำคัญในราชการระเบียบงานสารบรรณจึงบังคับให้มีสำเนาคู่ฉบับไว้อย่างน้อย 1 ฉบับ

- การทำสำเนา กระทำได้หลายวิธี เช่น ถ่าย อัด คัด เป็นต้น

- เอกสารทางราชการจำเป็นต้องมีสำเนาซึ่งเป็นเรื่องที่ต้องส่งให้ผู้เกี่ยวข้องทราบหลายคน

18.ผู้ที่จะทำงานสารบรรณได้ดีจำเป็นต้องรู้งานด้านธุรการในลักษณะใดบ้าง

- มีความรู้ด้านภาษาเป็นอย่างดี

- มีการติดต่อ โต้ตอบและประสานงานที่ดี

- รู้จักกาลเทศะ ความควรไม่ควร

19.หนังสือสั่งการ มีกี่ชนิด

- 3 ชนิด    ได้แก่  คำสั่ง, ระเบียบ, ข้อบังคับ

20.หนังสือประชาสัมพันธ์มีกี่ชนิด

-  3 ชนิด   ได้แก่  ประกาศ, แถลงการณ์, ข่าว

21.หนังสือรับรองรายงานการประชุมและหนังสืออื่นจัดอยู่ในหนังสือชนิดใด

- หนังสือที่เจ้าหน้าที่จัดทำขึ้นหรือรับไว้เป็นหลักฐานในราชการ

22.การอ้างหนังสือที่มีทั้งชั้นความเร็วและชั้นความลับนั้น ข้อปฏิบัติที่ถูกต้องคือ

- อ้างชั้นความลับก่อนชั้นความเร็ว

23.หนังสือราชการที่จัดทำขึ้นให้มีสำเนาคู่ฉบับไว้อย่างน้อยกี่ฉบับ

24.“อิเล็กทรอนิกส์” หมายความว่า

- การประยุกต์ใช้วิธีการทางอิเล็กตรอนไฟฟ้า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าหรือวิธีอื่นใดในลักษณะคล้ายกัน

- การประยุกต์ใช้วิธีการทางแสง วิธีการทางแม่เหล็ก หรืออุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการประยุกต์ใช้วิธีต่างๆเช่นว่านั้น

- หนังสือที่ใช้ประทับตราแทนการลงชื่อของหัวหน้าส่วนราชการระดับกรมขึ้นไป โดยให้หัวหน้าส่วนราชการระดับกองหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจากหัวหน้าส่วนราชการระดับกรมขึ้นไป เป็นผู้รับผิดชอบลงชื่อย่อกำกับตรา

26.หนังสือประทับตราให้ใช้ได้ทั้งระหว่างส่วนราชการกับส่วนราชการ และระหว่างส่วนราชการกับบุคคลภายนอก เฉพาะกรณีที่ไม่ใช่เรื่องสำคัญ ได้แก่

- การขอรายละเอียดเพิ่มเติม

- การส่งสำเนาหนังสือ สิ่งของ เอกสาร หรือบรรณสาร

- การตอบรับทราบที่ไม่เกี่ยวกับราชการสำคัญหรือการเงิน

- การแจ้งผลงานที่ได้ดำเนินการไปแล้วให้ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องทราบ

- เรื่องซึ่งหัวหน้าส่วนราชการระดับกรมขึ้นไปกำหนด โดยทำเป็นคำสั่ง ให้ใช้หนังสือประทับตรา

27.ให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการเก็บหนังสือสำรวจหนังสือที่มีอายุครบการเก็บในปีนั้น และทำบัญชีหนังสือขอทำลายเสนอหัวหน้าส่วนราชการ ภายในกี่วัน

- 60 วัน หลังจากวันสิ้นปีปฏิทินนั้น

28.หนังสือที่ต้องปฏิบัติให้เร็วกว่าปกติ เป็นหนังสือที่ต้องจัดส่งและดำเนินการทางสารบรรณด้วยความรวดเร็วเป็นพิเศษ แบ่งเป็นกี่ประเภท  อะไรบ้าง

-  3 ประเภท ได้แก่  - ด่วนที่สุด (ให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติในทันทีที่ได้รับหนังสือนั้น)

                                             - ด่วนมาก (ให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติโดยเร็ว

                                             - ด่วน (ให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติเร็วกว่าปกติ เท่าที่จะทำได้)

29.หนังสือที่ต้องปฏิบัติให้เร็วกว่าปกติ ต้องระบุชั้นความเร็ว และขนาดตัวอักษร อย่างไร

- ให้ระบุชั้นความเร็วด้วยตัวอักษรสีแดง ขนาดไม่เล็กกว่าตัวพิมพ์โป้ง 32 พอยท์ ให้เห็นได้ชัดบนหนังสือและบนซอง

30.กรณีต้องการให้หนังสือส่งถึงผู้รับภายในเวลาที่กำหนด ควรระบุอะไรบ้าง

- ระบุคำว่า “ด่วนภายใน” แล้วลง วัน เดือน ปี และกำหนดเวลาที่ต้องการให้หนังสือนั้นไปถึงผู้รับ กับให้เจ้าหน้าที่ส่งถึงผู้รับซึ่งระบุบนหน้าซองภายในเวลาที่กำหนด

31.“ระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์” หมายความว่า

- การรับส่งข้อมูลข่าวสารหรือหนังสือผ่านระบบสื่อสารด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์

32.หนังสือที่ใช้ติดต่อราชการระหว่างส่วนราชการหรือส่วนราชการกับบุคคลภายนอกคือหนังสือใด

33.ผู้มีอำนาจให้บุคคลภายนอกยืมหนังสือคือใคร

34. ผู้มีอำนาจให้บุคคลภายนอกดูหรือคัดลอกหนังสือ คือใคร

- หัวหน้าส่วนราชการระดับกองขึ้นไป หรือผู้ทีได้รับมอบหมาย

35. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 ใช้บังคับแก่ใคร

- ใช้บังคับแก่ส่วนราชการ ( ส่วนราชการใดมีความจำเป็นที่จะต้องปฏิบัติงานสารบรรณนอกเหนือไปจากที่ได้กำหนดไว้ในระเบียบนี้ ให้ขอทำความตกลงกับผู้รักษาการตามระเบียบนี้)