หนังสือวรรณคดีลํานํา ป.2 บทที่1

หนงั สือเรยี น รายวิชาพนื้ ฐาน ภาษาไทย

ชุด ภาษาเพอื่ ชวี ติ

วรรณคดลี �ำนำ�

ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๒

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

สำ� นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

หนงั สอื เรยี น รายวชิ าพน้ื ฐาน ภาษาไทย ค�ำน�ำ
ชดุ ภาษาเพือ่ ชีวติ
หนังสือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพ่ือชีวิต วรรณคดีล�ำน�ำ
วรรณคดีลำ� น�ำ
ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๒ เป็นหนังสือท่ีส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจัดท�ำ
ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๒ ขึ้นส�ำหรับนักเรียนใช้ในการเรียนรู้และครูใช้ในการจัดการเรียนการสอนรายวิชาพ้ืนฐาน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
กลุม่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ๒๕๕๑ โดยแตง่ ตง้ั คณะกรรมการจดั ทำ� หนงั สอื เรยี นภาษาไทย กลมุ่ วรรณคดแี ละวรรณกรรม
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑-๖ ซ่ึงมีผู้ช่วยศาสตราจารย์ธัญญา สังขพันธานนท์ เป็นประธาน
กรรมการ และจัดประชุมรับฟังความคิดเห็นของศึกษานิเทศก์และครูภาษาไทยจาก
ลขิ สทิ ธข์ิ องส�ำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน เขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาทง้ั ๔ ภมู ภิ าค ในดา้ นการนำ� ไปใช้ ดงั รายนามทา้ ยหนงั สอื น้ี
กระทรวงศึกษาธกิ าร ถนนราชดำ� เนินนอก เขตดสุ ิต กรุงเทพมหานคร ๑๐๓๐๐ หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพื่อชีวิต วรรณคดีล�ำน�ำ
โทรศพั ท์และโทรสาร ๐ ๒๖๒๘ ๕๓๔๓ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๒ มเี นอื้ หามงุ่ สง่ เสรมิ ใหน้ กั เรยี นไดศ้ กึ ษาวรรณคดที ก่ี ำ� หนดไวใ้ นประกาศ
กระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง วรรณคดีส�ำหรับจัดการเรียนการสอนภาษาไทย ตามหลักสูตร
ส�ำนักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษาด�ำเนินการจัดพิมพ์ แกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ประกาศ ณ วนั ท่ี ๘ ธนั วาคม ๒๕๕๑
ISBN 978-974-01-9756-0 และท่องจ�ำบทประพันธ์ที่ไพเราะอย่างเห็นคุณค่า รู้จักใช้กระบวนการคิดน�ำไปสู่ความเข้าใจ
พิมพ์ครัง้ ทีส่ อง ในการอา่ นและเกดิ ความซาบซงึ้ ในวรรณคดแี ละวรรณกรรม วฒั นธรรมทางภาษา ความเปน็ ไทย
พ.ศ. ๒๕๕๔ ความเปน็ คนดขี องสงั คมไทยและสงั คมโลก รวมทงั้ รจู้ กั นำ� ความรู้ ความคดิ ความซาบซงึ้ จาก
จำ� นวน ๔๐๐,๐๐๐ เลม่ การศกึ ษาวรรณคดไี ปชว่ ยกลอ่ มเกลาพฒั นาอารมณแ์ ละจติ ใจของนกั เรยี นในการดำ� เนนิ ชวี ติ
ต่อไป การน�ำเสนอเนื้อหาได้เรียบเรียงเนื้อหาข้ึนใหม่ให้น่าสนใจ โดยเชื่อมโยงกับวรรณคดี
พิมพท์ ีโ่ รงพมิ พ์ สกสค. ลาดพรา้ ว และวรรณกรรมทใี่ ห้เรยี น เพื่อใหน้ ักเรยี นอา่ นอย่างมีความสขุ และเพลดิ เพลิน
๒๒๔๙ ถนนลาดพร้าว แขวงสะพานสอง เขตวังทองหลาง กรุงเทพมหานคร ๑๐๓๑๐ สำ� นกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานหวงั วา่ หนงั สอื เลม่ นีจ้ ะเป็นประโยชน์
โทรศพั ท์ ๐ ๒๕๓๘ ๓๐๓๓, ๐ ๒๕๑๔ ๔๐๓๓ โทรสาร ๐ ๒๕๓๙ ๙๙๕๖ ต่อการจัดการเรียนรู้ภาษาไทยได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นไปตามหลักการและบรรลุ
www.suksapan.or.th จุดมุ่งหมายของหลักสูตร หากมีข้อเสนอแนะใดๆ กรุณาแจ้งส�ำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เพื่อการปรับปรุงแก้ไขให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น ขอขอบคุณคณะกรรมการฯ
และผู้มีส่วนเกี่ยวขอ้ งในการจดั ท�ำหนังสือเรียนน้ใี ห้สำ� เร็จลลุ ว่ งดว้ ยดไี ว้ ณ โอกาสน้ี

(นายชนิ ภทั ร ภูมริ ัตน)
เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน
๒๐ ธนั วาคม ๒๕๕๓

ค�ำแนะน�ำส�ำหรบั ครภู าษาไทย ๒. ค�ำนึงถึงและส่งเสริมความสามารถในการอ่านของนักเรียนก่อนที่จะให้นักเรียน
อา่ นหนังสอื เรยี นแต่ละบท เช่น ครอู า่ นใหน้ ักเรียนฟังด้วยลีลาเป็นธรรมชาติ
การวางแผนจัดการเรียนรภู้ าษาไทย ครจู �ำเป็นตอ้ ง นา่ สนใจ ใหน้ กั เรยี นอา่ นตามเปน็ กลมุ่ ใหญแ่ ละอา่ นเปน็ กลมุ่ เลก็ อา่ นเปน็ รายบคุ คล
๑. ศกึ ษาหลกั สตู รและเอกสารทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั หลกั สตู รฉบบั ปจั จบุ นั เพอ่ื เขา้ ใจสาระและ ทงั้ อ่านออกเสียงและอ่านในใจ ครูชวนนกั เรียนสนทนาเกย่ี วกบั เรอ่ื งทเ่ี รยี น ครใู ห้
มาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ชว้ี ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง และสง่ิ อนั พงึ ประสงคใ์ ห้ นักเรยี นทำ� กจิ กรรมท้ายบทเรยี น ฯลฯ เหล่านจ้ี ะช่วยให้นกั เรยี นอ่านและเข้าใจ
เกดิ แกน่ กั เรยี น บทเรยี นไดโ้ ดยไมย่ าก หากใหน้ กั เรยี นอา่ นบทเรยี นทนั ที โดยมไิ ดเ้ ตรยี มความพรอ้ ม
๒. ศกึ ษาหนังสือเรียน ภาษาพาที หนังสอื เรียน วรรณคดลี �ำน�ำ และแบบฝึกหดั จะเกดิ อปุ สรรคในการเรยี นรู้ภาษา วรรณคดีและวรรณกรรมไทยตอ่ ไป
ทกั ษะภาษา ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๒ ทุกเลม่ ทุกบทอย่างละเอียด ซ่ึงใชเ้ ปน็ ส่อื หลัก ๓. เข้าใจจุดมุ่งหมายของกิจกรรมแต่ละบทของหนังสือเรียน ซ่ึงมุ่งขยายความรู้
ในการจัดการเรยี นการสอนภาษาไทย แล้วจัดหนว่ ยการเรียนรแู้ ละแผนการจดั การ และประสบการณเ์ พม่ิ เตมิ จากทไี่ ดศ้ กึ ษาวรรณคดี ชวนใหฟ้ งั พดู ดู อา่ น เขยี น คดิ และ
เรียนรู้ตามความเหมาะสม ท้ังนี้ได้จัดท�ำคู่มือเป็นแนวทางไว้ใหแ้ ล้ว ทำ� กจิ กรรมทส่ี นกุ นา่ สนใจในเรอื่ งราวทใี่ กลต้ วั โดยบรู ณาการทกั ษะและสาระการเรยี นรู้
๓. ศกึ ษาพนื้ ฐานความรคู้ วามสามารถภาษาไทย และอนื่ ๆ ของนกั เรยี น ซง่ึ อาจใชว้ ธิ ี อน่ื ๆ เนน้ ใหร้ จู้ กั คำ� ในภาษาไทย คำ� คลอ้ งจอง คำ� ทป่ี ระณตี สละสลวย คำ� ทสี่ รา้ งความรสู้ กึ
ทดสอบ สัมภาษณ์ ฯลฯ และกอ่ นเร่มิ บทเรียนควรเตรียมความพร้อมอยา่ งนอ้ ย นึกคิดต่างๆ มากข้ึน ตลอดจนเกิดจินตนาการท่ีเหมาะสมกับวัย ครูควรค�ำนึง
๑-๒ สปั ดาห์ ในการจดั กจิ กรรมดังน้ี
การจัดกิจกรรมการเรยี นรูภ้ าษาไทย โดยใช้หนังสือเรยี น วรรณคดีลำ� น�ำ ครจู �ำเปน็ ต้อง
๑. เข้าใจแนวการน�ำเสนอเน้ือหาแต่ละบทของหนงั สอื เรยี น วรรณคดีลำ� น�ำ ซ่งึ • ควรให้นักเรยี นฝกึ ทำ� กจิ กรรมทกุ ข้อและฝึกรอ้ งเพลงจากซดี ี เพ่ือความสนกุ
ประกอบด้วย และร่นื รมย์ใจในการเรียนวรรณคดีและวรรณกรรมไทย อย่างไรกต็ าม อาจ
เนอ้ื หาส่วนนำ� วรรณคดี : น�ำเสนอในลักษณะสรา้ งเรื่องข้นึ ใหม่ เพอ่ื เป็นเครอ่ื งมือ สร้างสรรค์กิจกรรมเพิ่มเติมให้หลากหลายย่ิงข้ึน ตลอดจนปรับเปลี่ยนได้
หรือส่ือในการน�ำเสนอวรรณคดี จูงใจให้นักเรียนสนุกท่ีจะอ่าน พร้อมๆ กับ ตามความเหมาะสม เช่น ครแู ละนักเรียนรว่ มกันใสท่ �ำนองใหม่ในบทเพลงและ
ชื่นชมและร่ืนรมย์กับวรรณคดีโดยไม่รู้ตัว สร้างความรู้สึกว่าวรรณคดีมิใช่งานเขียน บทอ่านตา่ งๆ
ที่อ่านยากหรือพ้นสมัย นักเรียนสามารถเข้าถึงความคิดของผู้แต่งและน�ำมาใช้ให้
เปน็ ประโยชน์ในการดำ� เนินชีวิตในปัจจุบันได้ • ควรส่งเสริมใหน้ กั เรยี นอ่านหนงั สอื ทเ่ี หมาะสมอยา่ งหลากหลาย โดยเฉพาะ
เนอื้ หาวรรณคดี : ไดค้ ดั เลอื กวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีมีคณุ ค่า ซึง่ กำ� หนดให้ อย่างย่ิงหนังสือท่ีกระทรวงศึกษาธิการหรือส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษา
เรียนและเสนอใหเ้ ลือกเรยี น รวมท้งั บทอาขยาน ตามประกาศของกระทรวง ขัน้ พ้นื ฐานกำ� หนด เช่น ชดุ นทิ านชาดก ชดุ นทิ านอสี ป ชุดอมตนทิ านลูกสัตว์
ศึกษาธกิ าร ครูควรให้ความส�ำคัญเปน็ พเิ ศษกับเนือ้ หาสว่ นน้ี ใหน้ กั เรยี นอ่าน ควรให้นักเรียนได้มีโอกาสอ่านอย่างท่ัวถึงทุกเล่ม เพื่อพัฒนาความสามารถ
และคิดอย่างสนกุ สนทนาร่วมกนั ท�ำกิจกรรมทน่ี ่าสนใจ และพิจารณาน�ำไป การอา่ นและปลกู ฝังนสิ ยั รกั การอ่านดว้ ย
ประยกุ ตใ์ ชใ้ หเ้ ป็นประโยชนต์ ามควรแกว่ ยั รวมทั้งขยายความสนใจในการอ่าน • ควรจดั ทำ� หรอื จดั หาหนงั สอื สง่ เสรมิ การอา่ น และหนงั สอื อา่ นเพมิ่ เตมิ ทนี่ า่ สนใจ
วรรณคดแี ละวรรณกรรมเร่ืองอน่ื ๆ ต่อไปดว้ ย เพ่ือช่วยเสริมและบรู ณาการการเรยี นรูข้ องนักเรยี นอยา่ งเหมาะสม โดยเฉพาะ
เรือ่ งราวเกย่ี วกบั ท้องถนิ่ และเรอ่ื งอน่ื ๆ
• ควรสง่ เสรมิ นกั เรยี นใหส้ ามารถเขยี นขอ้ ความ หรอื เรอ่ื งอยา่ งงา่ ยๆ ของตนเองได้
หากนักเรียนเขียนได้ตามวัตถุประสงค์ และเพ่ิมพูนความสามารถมากข้ึน
จะท�ำใหร้ กั การเรียนภาษาไทยอยา่ งย่ังยืน

ชวนรอ้ ง เลน่ เรยี น อา่ น เขยี น คิด

๔. เข้าใจความพรอ้ มและพฒั นาการเรยี นรู้ของนกั เรียนแตล่ ะคน เช่น สารบญั
• จัดกิจกรรมบางกิจกรรมในชนั้ เรียนแตกต่างกันตามความสามารถ
• ศกึ ษาสาเหตขุ องปญั หาทนี่ กั เรยี นบางคนยงั ไมพ่ รอ้ มทจี่ ะเรยี นรู้ หรอื เรยี นไดช้ า้ หนา้
• ให้ความรกั ความเมตตา เสียสละเวลาแนะนำ� ซอ่ มเสริมนกั เรยี นทเ่ี รียนช้า
บทที่ ๑ ดอกสรอ้ ยแสนงาม ๑
ให้พฒั นาอย่างเต็มความสามารถ บทอาขยาน กาด�ำ
• ไม่ควรให้เดก็ ท่มี ีปัญหาเรียนช้าและปญั หาอืน่ ๆ เกดิ ความรสู้ ึกวา่ ตนมีปมด้อย ๑๔
บทดอกสรอ้ ย นกขม้นิ เหลอื งอ่อน ๒๘
ด้วยวาจาและการกระทำ� ไม่ว่าจะโดยตั้งใจหรอื ไม่ต้งั ใจ ๔๔
• ส่งเสริมเด็กที่มีความสามารถพิเศษให้มีความรู้ความสามารถทางภาษาสูงข้ึน นิทานอีสป กากบั เหยอื กน้�ำ ๕๘
๗๒
เตม็ ตามศกั ยภาพ บทที่ ๒ นทิ านอา่ นใหม่
• จดั ชัน้ เรยี นให้เหมาะสมเออื้ ตอ่ การพฒั นาการเรียนรู้ เชน่ ทนี่ ง่ั เรยี น ส่อื ใน นิทานอสี ป ราชสีห์กบั หนู
บทท่ี ๓ ร่ืนรสสกั วา
ห้องเรียนตอ้ งเปลยี่ นแปลงอยู่เสมอสอดคลอ้ งกับการเรียนในช่วงเวลาน้ัน บทอาขยาน สักวาหวานอื่นมีหม่นื แสน
๕. ศึกษาหาความรู้ความเข้าใจเพิ่มเติมเกี่ยวกับวรรณคดีเร่ืองท่ีสอน และเรื่องอื่นๆ
ที่เก่ียวข้องเพ่ือน�ำเรื่องราวหรือส่ิงที่น่าสนใจมาสนทนาเพ่ิมพูนความรู้แก่นักเรียน บทสักวา สกั วาดาวจระเขก้ ็เหหก
เช่น หนังสืออุเทศภาษาไทย ชุด แนวการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรม
ชดุ บรรทัดฐานภาษาไทย ของกระทรวงศึกษาธิการ บทที่ ๔ ไก่แจ้แซ่เสยี ง

หมายเหตุ : ว รรณกรรมหรอื วรรณคดที เ่ี ปน็ บทเรยี นไดจ้ ดั ทำ� คำ� อธบิ ายคำ� ศพั ทย์ ากไวท้ า้ ยบทเรยี น บทอาขยาน ไกแ่ จ้
บทดอกสรอ้ ย ไกแ่ ก้ว
โดยเรยี งลำ� ดบั ตามพจนานกุ รม และไดพ้ มิ พค์ ำ� ศพั ทด์ ว้ ยตวั สนี ำ�้ เงนิ เขม้ ไวท้ วี่ รรณกรรม
หรือวรรณคดีนน้ั เพอื่ เป็นทสี่ ังเกตดว้ ย บทที่ ๕ ภาพวาดของสเี ทยี น
บทอาขยาน รกั ษาป่า
คำ� แนะน�ำส�ำหรบั ผู้ปกครอง บทท่ี ๖ ยายกะตา
นิทานไทย ยายกะตา
ผู้ปกครองมีความส�ำคัญอย่างย่ิงต่อการเรียนรู้ของบุตรหลานซึ่งอยู่ในวัยเรียน มีผล
การศึกษาชี้ชัดว่านักเรียนสามารถเรียนรู้ได้ดีย่ิงข้ึน ถ้าผู้ปกครองร่วมดูแลเอาใจใส่ด้วย บทอาขยาน ความดี ความชวั่
ความรักและความเข้าใจ เช่น ชักชวนให้ฝึกอ่านเขียนเพิ่มเติมที่บ้านอย่างเต็มใจมิได้บังคับ
อ่านหนังสือร่วมกับบุตรหลานของตนอยู่เสมอ ท�ำความเข้าใจค�ำแนะน�ำส�ำหรับครูในการ บทร้อยกรอง เห็นผดิ เห็นถูก
ใช้หนังสือเรียนเล่มนี้ และเพ่ิมเติมความสามารถแก่นักเรียนในการใช้ภาษา ความเข้าใจ
วรรณคดวี รรณกรรม รวมทัง้ การคดิ วเิ คราะหใ์ ห้นำ� ไปใช้ในชวี ิตไดต้ ามควรแกก่ รณี
ผู้ปกครองควรสังเกตความสามารถของนักเรียน ให้ข้อมูลประสานสัมพันธ์กับ
ครผู สู้ อน เพอ่ื ร่วมกันสง่ เสริมพฒั นาการเรยี นรู้ภาษาไทยของนกั เรียนให้ดียง่ิ ข้ึน

๑บทที่

ดอกสร้อยแสนงาม

บทท่ี ๑ ดอกสร้อยแสนงาม วรรณคดีลำ� น�ำ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๒

กาเอ๋ยกา บินมาไวไว
มาจับตน้ โพ โผมาต้นไทร

บา่ ยวนั หนงึ่ คณุ ครใู จดนี งั่ คยุ กบั เดก็ ๆ ใตร้ ม่ ไม้ เด็กชายมีใจรอ้ งเพลงไป ทำ� ท่าบนิ มาบินไป
คณุ ครูพูดว่า “วนั น้แี ดดไม่รอ้ น ลมพดั เย็น เพื่อนๆ ไมร่ อชา้ ต่างรอ้ งเพลง กาเอย๋ กา แล้ว
สบาย บนต้นไม้กม็ ีนกน้อยมาอาศยั ฟังสิ...เสยี ง ทำ� ทา่ บนิ มาบินไป
นกรอ้ งเพลงชา่ งไพเราะ เรามารอ้ งเพลงกนั ดไี หม” คุณครูใจดียมิ้ สดใส ชอบใจเพลง กาเอย๋ กา
เดก็ ๆ พากนั ยมิ้ ดีใจ รบี เข้ามาใกล้ รุมล้อม แล้วท�ำทา่ บินมาบนิ ไป
คุณครู คุณครูบอกว่า “ครูกม็ เี พลง กาดำ� จะมารอ้ ง
เดก็ ชายมใี จพดู วา่ “ผมอยากรอ้ งเพลง กาเอย๋ กา ให้ฟงั ” เด็กๆ รบี พากันนัง่ รอฟังเพลงจากคณุ ครู
ครบั ” แล้วลกุ ข้ึนท�ำทา่ ทาง พลางรอ้ งเพลง
หน้าสาม 3
2 หนา้ สอง

บทท่ี ๑ ดอกสรอ้ ยแสนงาม วรรณคดีล�ำนำ� ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ ๒

กาด�ำ พอคณุ ครรู อ้ งเพลงจบ เดก็ ๆ พากนั ปรบมอื ให้
กาเอย๋ กาด�ำ แลว้ ถามวา่ “คณุ ครรู อ้ งเพลงอะไรทำ� ไมไมเ่ หมอื น
รู้จ�ำรจู้ ักรักเพื่อน เพลงทเ่ี คยฟงั ละ่ ครบั ”
ได้เหย่ือเผอื่ แผ่ไมแ่ ชเชอื น คุณครใู จดบี อกว่า “เพลง กาดำ� ที่ครูรอ้ ง เป็น
รบี เตอื นพวกพอ้ งร้องเรียกมา บทดอกสรอ้ ยของเก่า ตอนเด็กๆ ครเู คยอา่ นเป็น
เกลอ่ื นกลมุ้ รมุ ลอ้ มพรอ้ มพรกั ทำ� นองเสนาะ ถา้ อ่านออกเสยี งให้ไพเราะ บท
นา่ รกั นำ้� ใจกระไรหนา ดอกสร้อยก็จะนา่ ฟัง”
การเผอ่ื แผแ่ นะ่ พอ่ หนูจงดกู า เดก็ ๆ ขอใหค้ ณุ ครชู ว่ ยสอนอา่ นบทดอกสรอ้ ย
มันโอบอารรี ักดีนักเอย
(นายแกว้ , ดอกสรอ้ ยสภุ าษติ , กระทรวงศกึ ษาธิการ.) หน้าห้า 5

บทอาขยาน บทหลกั

4 หน้าสี่

บทท่ี ๑ ดอกสร้อยแสนงาม วรรณคดลี ำ� นำ� ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๒

ชวนรอ้ ง เล่น เรยี น อ่าน เขยี น คิด ๕. เมื่ออา่ นบทดอกสรอ้ ย กาดำ� แลว้ ลองศกึ ษาธรรมชาติ
ของกาเพิ่มเติม เดก็ ๆ คดิ ว่านสิ ยั ของกาเปน็ อย่างไร “กา
๑. “นกอะไรเอย่ สดี ำ� ทงั้ กายา รอ้ ง กา กา กงั วานไกล” ใจดำ� ” หรือ “กาใจดี” หนตู อบอย่างนมี้ เี หตผุ ลใด
๒. มารอ้ งเพลง กาเอ๋ยกา พรอ้ มท�ำท่าไปตามเพลง ๖. อ า่ นคำ� ตอ่ ไปน้ี เลอื กไดห้ รอื ไมว่ า่ อยากเปน็ เพอื่ นกบั
๓. ใครรู้จัก นกกา บา้ ง เล่าใหก้ ันฟัง คนทมี่ ี “ใจ” แบบใด

กา หรือ กาด�ำ ใจดี ใจรา้ ย ใจด�ำ ใจกวา้ ง
ใจคด ใจงาม
กา เป็นชื่อนกชนิดหน่ึง พบเห็นได้หลายถ่ิน ใจแคบ ใจซ่ือ ใจโอบออ้ มอาร ี
ของโลกและในประเทศไทย เสยี งรอ้ ง กา กา นา่ จะ ใ จทราม ใจเมตตากรุณา
เป็นท่ีมาของการเรียกช่ือว่า กา และยังนิยมเรียกว่า ใจเอื้อเฟ้ือเผือ่ แผ ่
อกี า หรือ กาด�ำ ตามสขี น คนไทยคงตดิ ตาขนสดี �ำ
สนทิ ของกา จนกลา่ วเปน็ สำ� นวนเปรยี บเทยี บคนใจดำ� ๗. ม ารจู้ กั บทดอกสรอ้ ย
ว่า “ใจด�ำเหมอื นอีกา” กาสามารถส่ือสารทำ� ท่าทาง
ทำ� เสยี งรอ้ งไดแ้ ตกตา่ งตามทต่ี อ้ งการ และเลยี นเสยี ง ดอกเอ๋ยดอกสร้อย 7
คำ� พดู ได้ดีไมแ่ พ้นกขุนทอง
ทกุ บาทบทเรียงรอ้ ยเลศิ ลำ�้ ค่า
๔. ฝกึ อา่ นบทดอกสรอ้ ย กาดำ� เปน็ ทำ� นองเสนาะพรอ้ มกนั “กาเอ๋ยกาดำ� ” ด่ังตำ� รา
เป่ยี มนำ้� ใจนักหนาหนอกาดำ�
6 หน้าหก กลอนดอกสร้อยมี “เอ๋ย” ในวรรคแรก
สมั ผัสแทรกสรรคารมช่างคมข�ำ
ครบแปดวรรคจบพจนบ์ ทลำ� น�ำ
อยา่ ลืมคำ� สดุ ทา้ ยให้ใช้เอย

หน้าเจ็ด

บทท่ี ๑ ดอกสรอ้ ยแสนงาม วรรณคดลี ำ� น�ำ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๒

๘. บทดอกสร้อยที่ไพเราะและให้ข้อคิดดีๆนอกจากบท ๙. อา่ นนทิ านอสี ปสนกุ นกั หนา เรอื่ ง กากบั เหยือกน�้ำ มา
กาดำ� แล้วยงั มอี ีกจ�ำนวนมาก เชน่ มดแดง แมวเหมยี ว ตดิ ตามกนั วา่ กาตวั นดี้ อี ยา่ งไร แลว้ ลองตงั้ ชอื่ เรอื่ งใหมใ่ ห้
เดก็ นอ้ ย ลองอา่ นบท นกขมนิ้ เหลอื งออ่ น แลว้ ชว่ ยกนั บอก เหมาะสม
ความดขี องนกขมน้ิ วา่ เปน็ แบบอยา่ งในเรอื่ ง “พากเพยี รชอบ”
คอื ความขยนั หมนั่ เพยี รอยา่ งเหมาะสม อยา่ งไรบา้ ง กากบั เหยือกน้�ำ

นกขม้นิ เหลอื งอ่อน กาตัวหนึ่ง รสู้ กึ กระหายน้�ำมาก จึงบนิ ออกไป

ปกั เอ๋ยปกั ษนิ หาน�ำ้ มาประทงั ชวี ิต ไปพบเหยอื กน�ำ้ ใบหน่ึงเหน็ มี
นกขมิ้นเรอื่ เรอื งเหลอื งออ่ น น�้ำอยู่ รู้สึกยินดมี าก แต่พอจะกินกร็ ู้ว่าในเหยือกมี
ถงึ เวลาหากินกบ็ ินจร นำ�้ อยู่นอ้ ยเหลือเกนิ กาพยายามผลกั เหยอื กจะให้
ครน้ั สายัณห์ผนั รอ่ นมานอนรัง เอียงลม้ ลง เพือ่ จะไดก้ ินน�้ำ แตเ่ หยือกหนกั เกินไป
ความเคยคุน้ สกุณาอตุ สาหะ จนผลักไมไ่ หว ในท่ีสดุ ก็คิดขน้ึ ได้ จึงใชป้ ากคาบหนิ
ไมเ่ ลยละพุม่ ไม้ท่ีใจหวงั ก้อนเลก็ ๆ ใส่ลงไปในเหยือกทลี ะก้อนๆ ท�ำใหร้ ะดับ
เพราะพากเพยี รชอบทมี่ ีก�ำลงั นำ�้ สูงขนึ้ จนสามารถกนิ น้ำ� ไดด้ ังทห่ี วัง
เปน็ ท่ตี ั้งตนรอดตลอดเอย
(นทิ านอีสป ฉบบั โครงการนวตั กรรมส่อื การเรียนรูภ้ าษาไทย,
(หลวงมลโยธานุโยค [นก], ดอกสรอ้ ยสุภาษติ , กระทรวงศึกษาธกิ าร.) กระทรวงศึกษาธกิ าร.)

๘ หนา้ แปด หน้าเกา้ 9

บทที่ ๑ ดอกสร้อยแสนงาม วรรณคดีลำ� นำ� ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๒

๑๐. บอกไดห้ รอื ไม่ ภาพตอ่ ไปนต้ี รงกบั สำ� นวนเกยี่ วกบั นก กลุ้ม คำ� ศพั ท์
ในขอ้ ใด ใครตอบไดถ้ กู ตอ้ งและรวดเรว็ ทส่ี ดุ เปน็ ผชู้ นะ
รมุ กนั เขา้ ไป มักใช้ซ้อนกับค�ำว่า
๑) ก. นกปีกหัก เกล่อื น รุม เป็น กลุ้มรุม และค�ำว่า รุม
แชเชอื น มกั ใชซ้ อ้ นกบั คำ� วา่ ลอ้ ม เปน็ รมุ ลอ้ ม
๒) ข. นกมหี ู หนูมีปีก ต้นไทร กระจัดกระจายอยูท่ ่ัวไป
ชกั ช้า, เถลไถล
๓) ค. สงสารลูกนกลกู กา (อา่ นวา่ ตน้ - ไซ)
ช่อื ไม้ยนื ต้นขนาดใหญ่ ใบหนาทบึ
๔) ง. นกสองหัว ตน้ ไทรมหี ลายชนดิ บางชนดิ
มรี ากห้อยย้อยออกมาจากกง่ิ
๕) จ. เสียงนกเสยี งกา

๖) ฉ. ปล่อยนก ปลอ่ ยกา ต้นโพ ชอื่ ไมย้ นื ตน้ ขนาดใหญ่ มใี บรปู หวั ใจ
ปลายใบเรียวยาวคล้ายหาง
๗) ช. ยงิ ปนื นดั เดยี ว ไดน้ กสองตวั นยิ มปลกู ในวดั
ทำ� นองเสนาะ (อา่ นวา่ ทำ� - นอง - สะ - เหนาะ)
๘) ซ. นกน้อยท�ำรังแตพ่ อตัว วิธีการออกเสียงอย่างไพเราะตาม
ลลี าของร้อยกรองแต่ละชนิด
๙) ฌ. ชีน้ กเป็นนก ชไี้ ม้เปน็ ไม ้
หนา้ สบิ เอด็ 11
10 หน้าสิบ

บทที่ ๑ ดอกสรอ้ ยแสนงาม วรรณคดลี �ำน�ำ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๒

ธรรมชาต ิ (อา่ นวา่ ท�ำ - มะ - ชาด) ยงิ ฟัน แยกริมฝีปากให้เห็นฟันที่ขบกัน
ความเปน็ ไปเปน็ อยตู่ ามปกตธิ รรมดา อยู่ นยิ มใชซ้ อ้ นกบั แยกเขยี้ ว เปน็
ของสง่ิ ใดสงิ่ หนงึ่ เชน่ ธรรมชาตขิ อง แยกเขี้ยวยงิ ฟัน
นก ธรรมชาตขิ องคน ธรรมชาตขิ อง เย่ียงอยา่ ง แบบอย่าง, ตัวอย่าง
ปา่ ไม้ เปน็ ตน้ วรรค (อา่ นวา่ วัก)
นกขมิน้ (อ่านว่า นก - ขะ - มน่ิ ) ตอนหนง่ึ ๆ ของคำ� ทเ่ี ขยี นตอ่ เนอ่ื งกนั
ช่อื นก มหี ลายชนดิ หลายสี แตท่ ี่ เหย่ือ ในที่น้หี มายถงึ อาหารท่ีหามาได้
คนไทยรู้จักดีคือนกขมิ้นสีเหลือง เหยอื ก ภาชนะใสน่ ้ำ� มีขนาดใหญ่และสูง
อ่อนๆ กวา่ ถว้ ย มีหูจบั ขา้ งเดยี ว
นกเอีย้ ง ชอ่ื นก มหี ลายชนดิ ชอบเกาะอยบู่ น
หลงั ควาย คอยจกิ กินแมลง อารี มาจาก โอบอ้อมอารี หมายถึง
สอนใหพ้ ูดเลียนเสยี งคนได้ มนี ำ�้ ใจเออื้ เฟื้อเผ่อื แผ่
อุตสาหะ (อ่านว่า อุด - สา - หะ)
ปรบมอื ใช้ฝ่ามือสองข้างตบกันหลายๆคร้ัง
เพ่อื แสดงความพอใจหรือยนิ ดี บากบน่ั , อดทน, ไม่ยอ่ ท้อ
เผ่อื แผ ่ เอื้อเฟอ้ื
พรอ้ มพรกั รวมอยพู่ รอ้ มหน้ากนั

12 หนา้ สิบสอง หนา้ สิบสาม 13