หนังสือ รัฐประศาสนศาสตร์เบื้องต้น

ข้อมูลหนังสือ

Barcode : 9789740337386

ISBN : 9789740337386

ปีพิมพ์ : 1 / 2563

ขนาด ( w x h ) : 190 x 260 mm.

จำนวนหน้า : 336 page

หมวดหนังสือ : รัฐศาสตร์ การเมืองการปกครอง


รายละเอียดสินค้า :

วิธีวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์เบื้องต้น

หนังสือเล่มนี้มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับวิธีวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์เบื้องต้น โดยเนื้อหาจะกล่าวถึงความหมายและประเภทของการวิจัย  การเริ่มต้นการวิจัย และการทบทวนเอกสารที่เกี่ยวข้อง กำหนดวัตถุประสงค์และขอบเขตของการวิจัย สมมติฐานและตัวแปรในการวิจัย ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง การออกแบบการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย การเก็บรวบรวมและการจัดทำข้อมูล การนำเสนอผลการวิจัย  เค้าโครงการวิจัย การใช้โปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อการวิจัยและการเขียนรายงานการวิจัย


รายละเอียด : ความรู้เบื้องต้นทางรัฐศาสตร์ (ใหม่)

ความรู้เบื้องต้นทางรัฐศาสตร์ (ใหม่)

รัฐศาสตร์ นับเป็นหนึ่งในสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์ ซึ่งมีพัฒนาการมาอย่างยาวนานกว่า 2500 ปี องค์ความรู้ทางรัฐศาสตร์ได้รับการพัฒนา ในเเต่ละยุคเเต่ละสมัยเเละถูกนำไปใช้ด้านการเมืองการปกครองของประเทศต่างๆทั่วโลก

หนังสือเล่มนี้ให้ความรู้พื้นฐานเเก่นิสิต นักศึกษา ตลอดจนผู้สนใจทั่วไป โดยมีเนื้อหาที่ครอบคลุมประเด็นต่างๆที่เกี่ยวข้องกับรัฐศาสตร์ทั้งหมด เช่น รัฐศาสตร์คืออะไร  รัฐเเละบทบาทของรัฐ อุดมการณ์ทางการเมือง การเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย รัฐธรรมนูญเเละสถาบันการเมือง พรรคการเมืองเเละการเลือกตั้ง การมีส่วนร่วมทางการเมือง


คำนำ : ความรู้เบื้องต้นทางรัฐศาสตร์ (ใหม่)

ความรู้เบื้องต้นทางรัฐศาสตร์ (ใหม่)

ความรู้เบื้องต้นทางรัฐศาสตร์ พิมพ์ครั้งล่าสุดเมื่อปี 2554 หรือเมื่อ 5 ปี  ที่เเล้ว ปรากฏว่าหนังสือได้จำหน่ายหมดลงเเล้วเป็นเวลานานพอสมควร จึงถึงเวลาที่ต้องจัดพิมพ์ใหม่เพื่อให้นิสิต นักศึกษาในมหาวิทยาลัยต่างๆ ได้มีตำราประกอบการเรียน

การจัดพิมพ์ในครั้งนี้มีการปรับปรุงเเก้ไข เพิ่มเติมเนื้อหาบงส่วน เพียงเล็กน้อย เนื้อหาส่วนใหญ่ยังคงเดิมจากฉบับพิมพ์ ครั้งที่ 2 เเละ 3

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.บูฆอรี ยีหมะ

มิถุนายน 2559


สารบัญ : ความรู้เบื้องต้นทางรัฐศาสตร์ (ใหม่)

    • ลักษณะทั่วไปของวิชารัฐศาสตร์
    • รัฐ
    • รูปเเบบการปกครอง
    • อุดมการณ์ทางการเมือง
    • ประชาธิปไตย
    • รัฐธรรมนูญเเละสถาบันการเมือง
    • การมีส่วนร่วมทางการเมือง วัฒนธรรมทางการเมืองเเละการกล่อมเกลาทางการเมือง
    • การสื่อสารทางการเมือง
    • กลุ่มผลประโยชน์ พรรคการเมืองเเละการเลือกตั้ง
    • รัฐประศาสนศาสตร์
    • ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

หนังสือ รัฐประศาสนศาสตร์เบื้องต้น

thebookbun

ร้านหนังสือ สามารถค้นหาหนังสือ....ที่มุมบนซ้ายมือ ที่ใต้แว่นขยาย ค้นหาหนังสือ...พิิิมพ์ ชื่อหนังสือ หรือชื่อนักเขียนได้เลย ศูนย์รวมหนังสือเก่าหายาก (Rare Item) และหนังสือใหม่ทุกประเภท หลากหลายสำนักพิมพ์ หนังสือบางเล่ม " อาจมีราคาสูงกว่าราคาปก " เพราะเป็นหนังสือหายากมีคุณค่า เหมาะแก่การสะสม ทางร้าน "มีต้นทุนที่สูง ในการจัดหา" ลูกค้าสามารถ กดสั่งซื้อ หยิบลงตะกร้า (Add To Cart) ก็สั่งซื้อได้ทันที โดยไม่ต้องสมัครสมาชิกให้ยุ่งยาก มีหลากหลายวิธีการชำระเงินที่ปลอดภัย ไร้กังวล เรามีระบบ จัดการที่สะดวก และรวดเร็ว ส่งถึงหน้าบ้านคุณ หนังสือใหม่และเก่า หลายยุคสมัย หายากและมีค่า น่าสะสม บางเล่มไม่มีวางจำหน่ายทั่วไป สำหรับนักสะสม และเหมาะสำหรับนักอ่านทั่วประเทศ ขายดี Best Seller ตลอดกาล

เบอร์โทร : 088 789 5563 , 094 446 9542 LINE ID : thebookbun
อีเมล :

เอกสารประกอบการสอน

รหัสรายวิชา ๔๐๑ ๓๐๘

Introduction to Public Administration
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์

ว่าที่ร้อยตรีหญิง ดร.สุทธญาณ์ โอบอ้อม

วิทยาลัยสงฆ์พุทธปัญญาศรีทวารวดี

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วัดไร่ขิง

ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์

ผู้เขียน ว่าที่ร้อยตรีหญิง ดร.สุทธญาณ์ โอบอ้อม


ข้อมลส าหรับหอสมุดแห่งชาติ
ว่าที่ร้อยตรีหญิง ดร.สุทธญาณ์ โอบอ้อม

ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์ : วัชระถ่ายเอกสาร, ๒๕๕๙, ๑๗๕ หน้า

ISBN…………………………………………….

ราคา ๒๑๐ บาท
พิมพ์ครั้งที่ ๑ : ตุลาคม ๒๕๕๙ จ านวน ๑๐๐ เล่ม

พิมพ์ที่ : วัชระถ่ายเอกสาร ๗๖๒ หมู่ที่ ๙ ต าบลนครสวรรค์ตก อ าเภอเมืองนครสวรรค์

จังหวัดนครสวรรค์ ๖๐๐๐

ที่ปรึกษา : รศ.ดร.สุรพล สุยะพรหม

: พระครูสังฆรักษ์เกียรติศักดิ์ กิตฺติปญฺโญ,ดร.

: ดร.บุษกร วัฒนบุตร

: ผศ.ประสิทธิ์ ทองอุ่น

ออกแบบปก : ศิรดา เก่งสาคร

ค าน า

วิชาความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์ นั้นเป็นการศึกษาแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับรัฐประศาสน

ศาสตร์ที่มาจากนักวิชาการชาวตะวันตก และนักวิชาการไทย ครอบคลุมทั้งเรื่องความหมาย แนวคิดทฤษฏีและ


ขอบเขตของนโยบายของรัฐเกี่ยวกับการบริหารพฒนาการของรัฐประศาสนศาสตร์ การบริหารธุรกิจ
การบริหารกับปัจจัยแวดล้อม การบริหารการพฒนา การจัดการทรัพยากรมนุษย์ การจัดและปรับปรุงองค์การ

ของรัฐ การวางแผน การวินิจฉัยสั่งการ การติดต่อประสานงานและการติดตามผลงาน ภาวะผู้น า การบริหาร

ราชการไทย และการบริหารรัฐกิจเชิงพุทธ

ดังนั้นการศึกษาวิชาความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์สามารถน ามาประยุกต์ใช้ในการบริหาร

ราชการและการปรับปรุงการบริหารของภาครัฐ รวมถึงการคาดการณ์ทิศทางในอนาคตของรัฐประศาสน

ื่
ื่
ศาสตร์ ส่วนตอนท้ายของแต่ละบทก็ได้สรุปความส าคัญและมีค าถามท้ายบทเพอทดสอบความเข้าใจ และเพอ
ก่อให้เกิดความสะดวกต่อการทบทวนบทเรียน ทั้งในชั้นเรียนและการศึกษาด้วยตนเอง

หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารประกอบการสอนเล่มนี้คงเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่ศึกษาความรู้เบื้องต้นทางรัฐ

ประศาสนศาสตร์ โดยเฉพาะผู้ที่ต้องการหาค าตอบว่าทิศทางการบริหารราชการในอนาคตควรเป็นอย่างไร

และรัฐประศาสนศาสตร์ก าลังเผชิญกับปัญหาอะไรบ้าง

เอกสารประกอบการสอนวิชาความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์เล่มนี้ ได้รวบรวมและเรียบเรียง

ื่


จากเอกสาร หนังสือต่างๆ มาจัดพมพเพอบรรยายในวิชาวิชาความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์
สาขารัฐประศาสนศาสตร์ วิทยาลัยสงฆ์พุทธปัญญาศรีทวารวดี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เพอ
ื่
จะได้น าความรู้ไปใช้เป็นพื้นฐานในการประยุกต์ใช้ในการบริหารราชการต่อไป

ว่าที่ร้อยตรีหญิง ดร.สุทธญาณ์ โอบอ้อม

กันยายน ๒๕๕๙

สารบัญ

เรื่อง หน้า
ค าน า ก
สารบัญ ข

สารบัญแผนภาพ ฉ
รายละเอียดมาตรฐานคุณวุฒิอุดมศึกษา (มคอ. ๓)

บทที่ ๑ ความหมาย แนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์ ๑
๑. ความหมายของรัฐประศาสนศาสตร์ ๑
๒. ความส าคัญของรัฐประศาสนศาสตร์ ๕
๓. รัฐประศาสนศาสตร์กับการบริหารธุรกิจ ๖

๔. สถานภาพของรัฐประศาสนศาสตร์ ๗
๕. ความสัมพันธ์ของรัฐประศาสนศาสตร์กับสาขาวิชาอื่นๆ ๘
๖. แนวคิดทางรัฐประศาสนศาสตร์และวิกฤตทางด้านเอกลักษณ์ ๑๑

สรุปท้ายบท ๑๔
ค าถามท้ายบท ๑๕
อ้างอิงประจ าบท ๑๖
บทที่ ๒ ทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ ๑๗

๑. ทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์ของต่างประเทศ ๑๗
๒. ทฤษฎีหรือแนวคิดทางรัฐประศาสนศาสตร์ของไทย ๓๕
สรุปท้ายบท ๓๘
ค าถามท้ายบท ๓๘

อ้างอิงประจ าบท ๓๙

บทที่ ๓ ขอบข่ายรัฐประศาสนศาสตร์ ๔๐

๑. ขอบข่ายของการศกษาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ ๔๐
๒. การแบ่งประเภทขอบข่าย ๔๔
สรุปท้ายบท ๔๘

ค าถามท้ายบท ๔๘
อ้างอิงประจ าบท ๔๙

สารบัญ (ต่อ)
เรื่อง หน้า

บทที่ ๔ การศึกษาพัฒนาการของรัฐประศาสนศาสตร์ ๕๐
๑. การใช้แนวคิดเชิงพาราไดม์ ๕๐

๒. การใช้แนวคิดอื่นๆที่ศึกษาพัฒนาการของรัฐประศาสนศาสตร์ ๕๓
สรุปท้ายบท ๕๖

ค าถามท้ายบท ๕๖
อ้างอิงประจ าบท ๕๗
บทที่ ๕ การบริหารการพัฒนา ๕๘

๑. แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับการบริหาร ๕๙
๒. ความหมายของการพัฒนา ๕๙
๓. ลักษณะของการพัฒนา ๖๓

๔. ความหมายของการบริหาร ๖๔
๕.ความหมายของการบริหารการพัฒนา ๖๕
๖. ความส าคัญของการบริหารการพัฒนา ๗๒

๗. องค์ประกอบของการบริหารการพัฒนา ๗๓
สรุปท้ายบท ๗๕
ค าถามท้ายบท ๗๖

อ้างอิงประจ าบท ๗๗
บทที่ ๖ การจัดการทรัพยากรมนุษย ์ ๗๙
๑. ความหมายของการจัดการทรัพยากรมนุษย์ ๘๐
๒. ความส าคัญของการจัดการทรัพยากรมนุษย์ ๘๒

๓. วัตถุประสงค์ของการจัดการทรัพยากรมนุษย์ ๘๔
๔.การวางแผนทรัพยากรมนุษย์ ๘๖
๕.การสรรหาบุคลากร ๘๘

๖.การคัดเลือกบุคลากร ๘๙
๗.การฝึกอบรมและพัฒนา ๙๐
๘.การประเมินผลการปฏิบัติงาน ๙๑

๙.การบริหารค่าตอบแทนและสวัสดิการ ๙๓
สรุปท้ายบท ๙๔
ค าถามท้ายบท ๙๔

สารบัญ (ต่อ)

เรื่อง หน้า
อ้างอิงประจ าบท ๙๕
บทที่ ๗ ทฤษฎีองค์การ ๙๖

๑. ความหมายของทฤษฎีองคการ ๙๗

๒. ความหมายของค าว่าองค์การ ๙๘
๓. ความหมายของค าว่าทฤษฎีองค์การ ๙๙

๔.วัตถุประสงค์ขององค์การ ๑๐๑
๕.ประเภทขององค์การ ๑๐๒
๖. การจัดโครงสร้างองค์การ ๑๐๓

สรุปท้ายบท ๑๐๖
ค าถามท้ายบท ๑๐๗

อ้างอิงประจ าบท ๑๐๘
บทที่ ๘ ภาวะผู้น า ๑๐๙

๑. ความหมายของภาวะผู้น า ๑๐๙
๒. ความส าคัญของภาวะผู้น า ๑๑๒
๓. ประสิทธิภาพของภาวะผู้น า ๑๑๒
๔. ทฤษฎีภาวะผู้น า ๑๑๓

๕. การพัฒนาภาวะผู้น าในองค์กร ๑๒๔
๖. องค์ประกอบของภาวะผู้น า ๑๒๕
๗. คุณลักษณะของภาวะผูน า ๑๒๕
สรุปท้ายบท ๑๒๖

ค าถามท้ายบท ๑๒๗
อ้างอิงประจ าบท ๑๒๘

บทที่ ๙ การบริหารราชการไทย
๑.ความเป็นมาของระบบราชการไทย ๑๓๐
๒.การปฏิรูประบบราชการ ๑๓๒
๓.โครงสร้างการบริหารราชการ ๑๔๐

๔.คุณลักษณะหลักของข้าราชการ ๑๔๑
๕.คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของข้าราชการไทยในทศวรรษหน้า ๑๔๒
สรุปท้ายบท ๑๔๕

สารบัญ (ต่อ)

เรื่อง หน้า

ค าถามท้ายบท ๑๔๕

อ้างอิงประจ าบท ๑๔๖

บทที่ ๑๐ การบริหารเชิงพุทธ ๑๔๗

๑. ความหมายของค าว่าบริหาร ๑๔๘

๒. พุทธวิธีการบริหาร ๑๕๐

๓. คุณลักษณะของนักบริหาร ๑๕๒

๔. หลักธรรมส าหรับการบริหาร ๑๕๓

๕. หลักการบริหารทางพทธศาสนา ๑๕๖

๖. หลักธรรมที่น ามาใช้ในการบริหารงาน ๑๕๗

๗. การบริหารรู้จักใช้เครื่องมือแห่งความส าเร็จ ๔ ข้อ ๑๖๑

สรุปท้ายบท ๑๖๒

ค าถามท้ายบท ๑๖๓

อ้างอิงประจ าบท ๑๖๔

บรรณานุกรม ๑๖๕

สารบัญแผนภาพ

แผนภาพที่
หน้า

๑ ลักษณะของการพัฒนา ๖๕

๒ แสดงองค์ประกอบของการบริหารการพัฒนา ๗๖

๓ ระบบการประเมินผลการปฏิบัติงาน ๙๔

๔ แสดงวิวัฒนาการของทฤษฎีผู้น าในแต่ละยุคตามล าดับถึงปัจจุบัน ๑๑๗

๕ ตัวแบบความเป็นผู้น าตามสถานการณ์ของ Fiedler ๑๒๓

รายละเอียดมาตรฐานคุณวุฒิอุดมศึกษา (มคอ. ๓) ประจ ารายวิชา

ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะสังคมศาสตร์

หมวดที่ ๑ ข้อมูลโดยทวไป
ั่

๑. รหัสและชื่อรายวิชา

๔๐๑ ๓๐๘ ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์

Introduction to Public Administration

๒.จ านวนหน่วยกิต

๓ (๓-๐-๖)

๓.หลักสูตรและประเภทของรายวิชา

รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์

๔.อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวชาและอาจารย์ผู้สอน

ว่าที่ร้อยตรีหญิง ดร.สุทธญาณ์ โอบอ้อม

๕.ภาคการศึกษา/ชั้นปีที่เรียน

ภาคการศึกษาที่ ๒ / ชั้นปีที่ ๒

๖.รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisites) (ถ้ามี)

ไม่ม ี

๗.รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisites) (ถ้ามี)

ไม่ม ี

๘.สถานที่เรียน


วิทยาลัยสงฆ์พทธปัญญาศรีทวารวดี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ณ วัดไรขิง พระอารามหลวง
จังหวัดนครปฐม

๙.วันที่จัดท าหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด

กันยายน ๒๕๕๙

หมวดที่ ๒ จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์

๑. จุดมุ่งหมายของรายวิชา

เพื่อให้นิสิตมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย แนวคิดทฤษฏีและขอบเขตของนโยบายของรัฐเกี่ยวกับ

การบริหารพัฒนาการของรัฐประศาสนศาสตร์ การบริหารธุรกิจ การบริหารกับปัจจัยแวดล้อม การบริหารการ

พัฒนา การจัดการทรัพยากรมนุษย์ การจัดและปรับปรุงองค์การของรัฐ การวางแผน การวินิจฉัยสั่งการ การ

ติดต่อประสานงานและการติดตามผลงาน ภาวะผู้น า การบริหารราชการไทย และการบริหารรัฐกิจเชิงพุทธ


๒. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวชา

เพื่อให้นิสิตมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับรัฐประศาสนศาสตร์เบื้องต้น เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญญา

ื่
ในการน าความรู้ ความเข้าใจในด้านรัฐประศาสนศาสตร์ เพอเป็นเครื่องมือในการน าไปใช้ในชีวิตประจ าวัน ทั้งนี้
ควรมีการเปลี่ยนแปลง กรณีศึกษาและตัวอย่างอางอง ให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านการจัดการตามกระแส


โลกาภิวัฒน์

หมวดที่ ๓ ลักษณะและการด าเนินการ

๑. ค าอธิบายรายวิชา

ศึกษาความหมาย แนวคิด ทฤษฎีและขอบเขตรัฐประศาสนศาสตร์ นโยบายของรัฐเกี่ยวกับการบริหาร


พฒนาการของการบริหารรัฐประศาสนศาสตร์ การบริหารธุรกิจ การบริหารกับปัจจัยแวดล้อม การบริหารการ
พัฒนา การจัดการทรัพยากรมนุษย์ การจัดและปรับปรุงองค์การของรัฐ การวางแผน การวินิจฉัยสั่งการ การติดต่อ

ประสานงานและการติดตามผลงาน ภาวะผู้น า การบริหารราชการไทย และการบริหารรัฐกิจเชิงพุทธ

๒จ านวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา .
การฝึกปฏิบัติงาน
บรรยาย สอนเสริม การศึกษาด้วยตนเอง
ภาคสนามการฝึกงาน /


บรรยาย ๔๘ ชั่วโมงต่อ สอนเสริมตามความ ไม่มการฝึกปฏิบัติงาน การศึกษาด้วยตนเอง ๖
ภาคการศึกษา ต้องการของนิสิตเฉพาะ ภาคสนาม ชั่วโมงต่อสัปดาห์

ราย
๓.จ านวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้ค าปรึกษาและแนะน าทางวิชาการแก่นิสิตเป็นรายบุคคล

- อาจารย์ประจ าวิชา ประกาศเวลาให้ค าปรึกษาผ่านบอร์ดประชาสัมพันธ์ และเว็ปไซด์คณะหรือส่วนงาน

- อาจารย์จัดเวลาให้ค าปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ ๑ ชั่วโมงต่อสัปดาห์

หมวดที่ ๔ การพัฒนาการเรียนรู้ของนิสิต

๑คุณธรรม . จริยธรรม

๑คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
. ๑
ื่
พฒนาผู้เรียนให้มีคุณธรรม จริยธรรมเพอให้สามารถด าเนินชีวิตร่วมกับผู้อนในสังคมอย่างราบรื่น และเป็น

ื่
ประโยชน์ต่อส่วนรวม โดยผู้สอนต้องพยายามสอดแทรกเรื่องที่เกี่ยวกับคุณธรรมจริยธรรม เพอให้นิสิตสามารถ
ื่

พฒนาคุณธรรม จริยธรรมไปพร้อมกับความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์ โดยมีคุณธรรมจริยธรรมตาม
คุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้

(๑) ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต

(๒) มีวินัย ตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม

(๓) มีภาวะความเป็นผู้น าและผู้ตาม สามารถท างานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและล าดับ

ความส าคัญ

(๔) เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์


(๕) เคารพกฎระเบียบและขอบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม

๑วิธีการสอน
. ๒
- บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษาเกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับความรู้เบื้องต้นทางรัฐ

ประศาสนศาสตร์

- อภิปรายและก าหนดให้นิสิตหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง

- จัดกิจกรรมระดมสมองและการท างานเป็นทีม

๑.๓ วิธีการประเมินผล

- พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงต่อเวลา

- ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา

- ประเมินผลการน าเสนอรายงานที่มอบหมาย

๒. ความรู้

๒.๑ ความรู้ที่ต้องได้รับ

มีความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายและขอบเขตของความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์ นโยบายของ


รัฐเกี่ยวกับการบริหารพฒนาการของการบริหารรัฐประศาสนศาสตร์ การบริหารธุรกิจ การบริหารกับปัจจัย

แวดล้อม การบริหารการพฒนา การจัดการทรัพยากรมนุษย์ การจัดและปรับปรุงองค์การของรัฐ การวางแผน
การวินิจฉัยสั่งการ การติดต่อประสานงานและการติดตามผลงาน ภาวะผู้น า การบริหารราชการไทย และการ

บริหารรัฐกิจเชิงพุทธ

๒.๒ วิธีการสอน

บรรยาย อภิปราย การท างานกลุ่ม การน าเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้

ค้นคว้าหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยน ามาสรุปและน าเสนอ การศึกษาโดยใช้ปัญหา และโครงงาน

(Problem base learning) และเน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ(Student Center)

๒.๓ วิธีการประเมินผล

- สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฎี

- น าเสนอสรุปการอ่านจากการค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้อง

- วิเคราะห์กรณีศึกษา

๓. ทักษะทางปญญา

๓.๑. ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา

พฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ มีความสามารถในการวิเคราะห์ เนื้อหาเกี่ยวกับความรู้

เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์ สามารถสร้างแนวคิดใหม่ๆในการท าความเข้าใจกับความรู้เบื้องต้นทางรัฐ

ประศาสนศาสตร์ โดยอาศัยฐานความรู้จากแนวคิดทฤษฎีที่ได้ศึกษา

๓.๒ วิธีการสอน

- การมอบหมายให้นิสิตท าโครงงานพิเศษ และน าเสนอผลการศึกษา

- อภิปรายกลุ่ม

- วิเคราะห์กรณีศึกษาเกี่ยวกับความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์ ในปัจจุบัน

- การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ

๓.๓ วิธีการประเมินผล

สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์แนวคิดความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสน

ศาสตร์

๔. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ


๔.๑ ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพฒนา

- พัฒนาทักษะในการสร้างความสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน

- พัฒนาความเป็นผู้น าและผู้ตามในการท างานเป็นทีม


- พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามก าหนดเวลา

๔.๒ วิธีการสอน

- จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา

- มอบหมายงานรายกลุ่ม และรายบุคคล หรือ อ่านบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา

- การน าเสนอรายงาน

๔.๓ วิธีการประเมินผล

ื่
- ประเมินตนเอง และเพอน ด้วยแบบฟอร์มที่ก าหนด

- รายงานที่น าเสนอ พฤติกรรมการท างานเป็นทีม

- รายงานการศึกษาด้วยตนเอง

๕. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ


๕.๑ ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา

- พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การเขียน โดยการท ารายงาน และน าเสนอในชั้นเรียน

- พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา

- พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต


- ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งงานทางอเมล์ การสร้างห้องแสดง

ความคิดเห็นในเรื่องต่าง ๆ

- ทักษะในการน าเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม

๕.๒ วิธีการสอน

- มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จาก website สื่อการสอน e-learning และท ารายงานโดย
เน้นการน าตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ

- น าเสนอโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสมเข้ามาช่วย

๕.๓ วิธีการประเมินผล

- การจัดท ารายงาน และน าเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี

- การมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย

หมวดที่ ๕ แผนการสอนและการประเมินผล

สัปดาห์ จ านวน กิจกรรมการเรียนการ
หัวข้อ/รายละเอียด ผู้สอน
ที่ ชั่วโมง สอน สื่อที่ใช้

๑ แนะน าเนื้อหาวิชา กระบวนการ การ ๓ -อธิบายวิธีการศึกษาวิชา ว่าที่ร้อยตรีหญิง ดร.

เรียนการสอน ความรู้เบื้องต้นทางรัฐ สุทธญาณ์ โอบอ้อม

ประศาสนศาสตร์

- นิสิตสอบถามเพิ่มเติม

และร่วมแสดงความ
คิดเห็นเพื่อ

๒ บทที่ ๑ ความหมาย แนวคิดรัฐ ๓ - อธิบายเนื้อหาโดยใช้ ว่าที่ร้อยตรีหญิง ดร.

ประศาสนศาสตร์ Power Point สุทธญาณ์ โอบอ้อม

ประกอบการบรรยาย

- แนะน าหนังสือเพิ่มเติม

๓ บทที่ ๒ ทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ ๓ - อธิบายเนื้อหาโดยใช้ ว่าที่ร้อยตรีหญิง ดร.

Power Point สุทธญาณ์ โอบอ้อม

ประกอบการบรรยาย

- ตอบค าถามประจ าบท

๔ บทที่ ๓ ขอบข่ายรัฐประศาสนศาสตร์ ๓ - อธิบายเนื้อหาโดยใช้ ว่าที่ร้อยตรีหญิง ดร.

Power Point สุทธญาณ์ โอบอ้อม

ประกอบการบรรยาย

๕ บทที่ ๔ พัฒนาการของการบริหารรัฐ ๓ - อธิบายเนื้อหาโดยใช้ ว่าที่ร้อยตรีหญิง ดร.

ประศาสนศาสตร์ Power Point สุทธญาณ์ โอบอ้อม

ประกอบการบรรยาย

๖ บทที่ ๕ การบริหารการพัฒนา ๓ อธิบายเนื้อหาโดยใช้ ว่าที่ร้อยตรีหญิง ดร.

Power Point สุทธญาณ์ โอบอ้อม

ประกอบการบรรยาย

- ให้นิสิตซักถาม

- ตอบค าถามประจ าบท

สัปดาห์ จ านวน กิจกรรมการเรียนการ
หัวข้อ/รายละเอียด ผู้สอน
ที่ ชั่วโมง สอน สื่อที่ใช้

๗ บทที่ ๖ การจัดการทรัพยากรมนุษย์ - อธิบายเนื้อหาโดยใช้ ว่าที่ร้อยตรีหญิง ดร.

Power Point สุทธญาณ์ โอบอ้อม

ประกอบการบรรยาย

- ให้นิสิตน าเสนอหรือ

ซักถามประเด็นที่

น่าสนใจตามเนื้อหา

๘ สอบกลางภาค ๓

๙ บทที่ ๗ ทฤษฎีองค์กร - อธิบายเนื้อหาโดยใช้ ว่าที่ร้อยตรีหญิง ดร.

Power Point สุทธญาณ์ โอบอ้อม

ประกอบการบรรยาย

- ให้นิสิตน าเสนอหรือ

ซักถามประเด็นที่

น่าสนใจตามเนื้อหา

๑๐ บทที่ ๗ ทฤษฎีองค์กร (ต่อ) ๓ - อธิบายเนื้อหาโดยใช้ ว่าที่ร้อยตรีหญิง ดร.

Power Point สุทธญาณ์ โอบอ้อม
ประกอบการบรรยาย

- ให้นิสิตน าเสนอหรือ
ซักถามประเด็นที่

น่าสนใจตามเนื้อหา

๑๑ บทที่ ๘ ภาวะผู้น า ๓ - อธิบายเนื้อหาโดยใช้ ว่าที่ร้อยตรีหญิง ดร.

Power Point สุทธญาณ์ โอบอ้อม

ประกอบการบรรยาย

- ให้นิสิตอภิปราย

ร่วมกัน

๑๒ บทที่ ๙ การบริหารราชการไทย ๓ - อธิบายเนื้อหาโดยใช้ ว่าที่ร้อยตรีหญิง ดร.

Power Point สุทธญาณ์ โอบอ้อม

สัปดาห์ จ านวน กิจกรรมการเรียนการ
หัวข้อ/รายละเอียด ผู้สอน
ที่ ชั่วโมง สอน สื่อที่ใช้

ประกอบการบรรยาย

- ตอบค าถามประจ าบท


๑๓ บทที่ ๑๐ การบริหารเชิงพทธ ๓ - บรรยาย ศึกษา ว่าที่ร้อยตรีหญิง ดร.

กรณีศกษา อภิปราย สุทธญาณ์ โอบอ้อม
ตัวอย่าง การศึกษา

๑๔ บทที่ ๑๐ การบริหารเชิงพทธ (ต่อ) ๓ - อธิบายเนื้อหาโดยใช้ ว่าที่ร้อยตรีหญิง ดร.

Power Point สุทธญาณ์ โอบอ้อม

ประกอบการบรรยาย

- ให้นิสิตอภิปราย

ร่วมกัน

๑๕ สรุปองค์ความรู้ ๓ - ให้นิสิตซักถามและ ว่าที่ร้อยตรีหญิง ดร.
อภิปรายร่วมกัน สุทธญาณ์ โอบอ้อม

๑๖ สอบปลายภาค ๓

๒ แผนการประเมินผลการเรียนรู้

สัดส่วนของการ
ที่ วิธีการประเมิน สัปดาห์ที่ประเมิน
ประเมินผล

สอบกลางภาค ๘ ๒๐%

สอบปลายภาค ๑๖ ๔๐%

วิเคราะห์กรณีศึกษา ค้นคว้า การน าเสนอรายงาน

การท างานกลุ่มและผลงาน
๒ ตลอดภาคการศึกษา ๓๐%
การอ่านและสรุปบทความ

การส่งงานตามที่มอบหมาย

การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความ
๓ ตลอดภาคการศึกษา ๑๐%
คิดเห็นในชั้นเรียน

หมวดที่ ๖ ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน

๑. เอกสารและต าราหลัก

สุทธญาณ์ โอบอ้อม. เอกสารประกอบการสอนวิชาความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์. นครสวรรค์ : วัชระ

ถ่ายเอกสาร,๒๕๕๙.

เรืองวิทย์ เกษสุวรรณ. ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์. กรุงเทพมหานคร : บริษัท บพิธการพิมพ์ จ ากัด,

๒๕๔๙.

๒. เอกสารและข้อมูลส าคัญ

- ไม่ม ี

๓. เอกสารและข้อมูลแนะน า

โกวิท วงศ์สุรรัฒน์. หลักรัฐประศาสนศาสตร์. กรุงเทพมหานคร : บริษัท จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์ จ ากัด,

๒๕๕๖.

พิชาย รัตนดิลก ณ ภูเก็ต, องค์การ และการบริหารจัดการ, กรุงเทพมหานคร : บริษัท ธิงค์ บียอนด์ บุ๊คส์

จ ากัด, ๒๕๕๒.

วิรัช วรัชนิภาวรรณ .หลักรัฐประศาสนศาสตร์ แนวคิดและกระบวนการ. กรุงเทพมหานคร :

บริษัท เอ็กซเปอร์เน็ท จ ากัด, ๒๕๕๑.

สมาน รังสิโยกฤษฏ์. การบริหารราชการไทย อดีต ปัจจุบัน และอนาคต. กรุงเทพมหานคร : บริษัท

ส านักพิมพ์บรรณกิจ ๑๙๙๑ จ ากัด, ๒๕๔๖.

สันสิทธ์ ชวลิตธ ารง. หลักการบริหารรัฐกิจกับระบบราชการ. กรุงเทพมหานคร : บริษัท อทรินทร์ติ้ง

แอนด์พับลิสซิ่ง จ ากัด, ๒๕๔๖.

หมวดที่ ๗ การประเมินและปรับปรุงการด าเนินการของรายวิชา


๑. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวชาโดยนิสิต
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดท าโดยนิสิต ได้จัดกิจกรรมในการน าแนวคิดและความเห็นจาก

นิสิตได้ดังนี้

- การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน

- การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน

- แบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชา

- ขอเสนอแนะผ่านเวบบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดท าเป็นช่องทางการสื่อสารกับนิสิต

๒. กลยุทธ์การประเมินการสอน

ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้

- สังเกตการณ์การสอนของผู้ร่วมทีมการสอน

- ผลการสอบ

- การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้

๓. การปรับปรุงการสอน

หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ ๒ จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง

และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงสอน ดังนี้

- สัมมนาการจัดการเรียนการสอน

- การวิจัยในและนอกชั้นเรียน

๔. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนิสิตในรายวิชา

ี่
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามทคาดหวังจากการเรียนรู้ใน
วิชาได้จาก การสอบถามนิสิต หรือการสุ่มตรวจผลงานของนิสิต รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อยและหลัง

การออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชา ดังนี้

- การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนิสิตโดยอาจารย์อน หรือผู้ทรงคุณวุฒิ
ื่
ที่ไม่ใช่อาจารย์ ประจ าหลักสูตร

- มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนิสิต โดยตรวจสอบ

ข้อสอบรายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม

๕. การด าเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิภาพของรายวิชา

จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและ


รายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคณภาพมากขึ้น ดังนี้
- ปรับปรุงรายวิชาทุก ๓ ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ ๔

- เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นิสิตมีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจาก

งานวิจัยของอาจารย์หรือแนวคิดใหม่ ๆ

บทที่ ๑

ความหมาย แนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์

(Public Administration)

ขอบข่ายรายวชา

เนื้อหาความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับความหมายของรัฐประศาสนศาสตร์ประกอบไปด้วยความหมายของรัฐ

ประศาสนศาสตร์ ความส าคัญของรัฐประศาสนศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์กับการบริหารธุรกิจ สถานภาพของ

รัฐประศาสนศาสตร์ และความสัมพันธ์ของรัฐประศาสนศาสตร์กับสาขาวิชาอื่นๆ

วัตถุประสงค์
๑.เพื่อศึกษาและเข้าใจความหมายของรัฐประศาสนศาสตร์

๒.เพื่อศึกษาและเข้าใจความส าคัญของรัฐประศาสนศาสตร์

๓.เพื่อศึกษาและเข้าใจรัฐประศาสนศาสตร์กับการบริหารธุรกิจ
๔.เพื่อศึกษาและเข้าใจสถานภาพของรัฐประศาสนศาสตร์

๕.เพื่อศึกษาและเข้าใจความสัมพันธ์ของรัฐประศาสนศาสตร์กับสาขาวิชาอื่นๆ

๖.เพื่อศึกษาและเข้าใจแนวคิดทางรัฐประศาสนศาสตร์และวิกฤตทางด้านเอกลักษณ ์

ค าน า

การศึกษารัฐประศาสนศาสตร์ หรือ Public Administration ในปัจจุบันมีขอบเขตครอบคลุมถึงการ


ปฏิบัติงานและความสัมพนธ์ของทั้งสามฝุายของรัฐคือฝุาย นิติบัญญัติ ฝุายบริหาร และฝุายตุลาการ
รวมถึงการก าหนด นโยบายสาธารณะจึงถือเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการทางการเมือง และมีบทบาทส าคัญใน

การน านโยบายออกไปปฏิบัติให้บรรลุผล

๑.ความหมายของรัฐประศาสนศาสตร์


ค าว่า “รัฐประศาสนศาสตร์” นิยมเขียนเป็นภาษาองกฤษว่า “Public Administration”

(โปรดสังเกตด้วยว่าตัวอกษร “P” และ “A” ซึ่งอยู่หน้าค าทั้งสองค าจะเขียนเป็นตัวอกษรใหญ่) หมายถึง

ศาสตร์ สาขาวิชา หรือองค์ความรู้ที่ เกี่ยวกับการบริหารงานของภาครัฐหรือระบบราชการ โดยจะมุ่งเน้นไปที่
แนวคิด และทฤษฎ ี

Nicholas Henry ( Nicholas Henry, ๑๙๘๐ ) “รัฐประศาสนศาสตร์เป็นวิชาที่มีเอกลักษณ์โดยมี

ความแตกต่างจากวิชารัฐศาสตร์ในแง่ที่ว่า ให้ความสนใจในการศึกษาถึงโครงสร้างและพฤติกรรมของระบบ

ราชการรวมทั้งเป็นศาสตร์ที่ มีระเบียบและวิธีการศึกษาเป็นของตนเอง มีความแตกต่างจากศาสตร์การบริหาร

ในแง่ที่ว่าเป็นวิชาที่ศึกษาเรื่องขององค์การของรัฐที่ไม่ได้มุ่งแสวงหาก าไรเหมือนองค์การธุรกิจเอกชนและ

เป็นวิชาที่สนับสนุนให้องค์การของรัฐมีโครงสร้าง กลไกการตัดสินใจและพฤติกรรมของข้าราชการที่เกื้อกลต่อ

การให้บริการสาธารณะ”

George S. Gordon ( George S. Gordon, ๑๙๗๕) “รัฐประศาสนศาสตร์หมายถึงกระบวนการ

องค์การ และบุคคลที่ด ารงต าแหน่งทางราชการทั้งหลายและมีส่วนเกี่ยวข้องกบการก าหนดและน าเอากฎหมาย

ระเบียบแบบแผนต่างๆ ที่ออกโดยฝุายนิติบัญญัติ ฝุายบริหาร และฝุายตุลาการออกไปปฏิบัติ ”

James W. Fesler ( James W. Fesler, ๑๙๘๐) “วิชารัฐประศาสนศาสตร์คือการก าหนดและปฏิบัติ

ตามนโยบายของระบบราชการซึ่งตัว ระบบมีขนาดใหญ่โตและมีลักษณะความเป็นสาธารณะ ”

Felex A. Nigro and Lloyd G.Nigro (Felex A. Nigro and Lloyd G. Nigro, ๑๙๗๗)

“รัฐประศาสนศาสตร์ ( Public Administration )


๑. เป็นความพยายามของกลุ่มที่ร่วมมอกันปฏิบัติงานในหน่วยงานสาธารณะ
๒. มีขอบเขตครอบคลุมถึงการปฏิบัติงานของทั้งสามฝุาย คือ ฝุายบริหาร ฝุายนิติบัญญัติ และฝุาย

ตุลาการตลอดจนความสัมพนธ์ที่มีระหว่างกน


๓. มีบทบาทส าคัญในการก าหนดนโยบายสาธารณะ จึงถือได้ว่าเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการทาง

การเมือง

๔. มีความแตกต่างจากการบริหารงานของภาคธุรกิจเอกชนในประเด็นที่ส าคัญๆหลายประการ



๕. มีความเกี่ยวพนอย่างใกล้ชิดกับกลุ่มเอกชนและปัจเจกชนจ านวนมากในอนที่จะจัดหาบริการ
สาธารณะให้แก่ชุมชน


แบ่งการพจารณาออกเป็น ๒ นัยยะ คือ

นัยยะแรก เป็นการพจารณาในแง่ของสาขาวิชา ( Discipline ) หรือในแง่ของวิชาการการศึกษา

( Study ) ในภาษาองกฤษคือ “Public Administration” ส่วนในภาษาไทยจะใช้ค าว่า “รัฐประศาสน

ศาสตร์” ซึ่งเป็นค าสมาสประกอบด้วยค าว่า รัฐ + ประศาสนะ + ศาสตร์

ดังนั้น วิชารัฐประศาสนศาสตร์หรือ Public Administration จึงหมายถึงวิชาที่ว่าด้วยการบริหารและ
การปกครองบ้านเมืองสาขาหนึ่งที่เน้นในเรื่องของระบบราชการ หรือกิจการงานที่รัฐเป็นผู้ปฏิบัติจัดท าเพอ
ื่

ประโยชน์สาธารณะ หรือเป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกบการบริหารงานสาธารณะทั้งหลาย ศาสตร์ทางการบริหาร
(Science of Administration) จึงเป็นวิชาที่เพงเกิดใหม่เมื่อปลาย ๑๙ ศตวรรษที่ เป็นคนละวิชากับศาสตร์
ิ่

ทางการเมือง (Science of Politics ) ที่เป็นวิชาที่ว่าด้วย การปกครองของรัฐและมีการศึกษามายาวนานกว่า

๒,๐๐๐ ปีมาแล้ว

นัยยะที่สอง เป็นการพจารณาในแง่ของกิจกรรม ปกติในภาษาองกฤษจะใช้ค าว่า “public


administration” คือเรียกเช่นเดียวกับการแปลว่าสาขาวิชา แต่เขียนต่างกัน ส าหรับในภาษาไทย จะเรียกว่า

“การบริหารรัฐกิจ” หรือ “การบริหารราชการ” แต่จะไม่เรียกว่า “รัฐประศาสนศาสตร์”

ี่
ดังนั้น public administration ในฐานะที่เป็นกิจกรรมจึงเป็นเรื่องเกยวกับการปฏิบัติการ หรือด าเนิน
กิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานสาธารณะทั้งหลาย ซึ่งในอดีตผู้ที่รับผิดชอบในการจัดท าคือหน่วยงานของรัฐ

ในส่วนกลาง ได้แก่กระทรวง ทบวงกรม กองต่าง ๆ แทบทั้งหมดแต่ใน ปัจจุบัน การจัดท าบริการสาธารณะได้

ขยายหรือถ่ายโอนไปยังองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และชุมชนซึ่งกิจการบางอย่างได้มีการมอบอานาจให้

ภาคเอกชนมาร่วมด าเนินการกับรัฐ หรือจัดท าแทนรัฐนอกจากนี้ยังมีการจัดตั้งหน่วยงานประเภทอนๆ เช่น
ื่
องค์กรมหาชนอิสระ องค์กรอิสระ องค์กรสาธารณะกุศล มูลนิธิสมาคม องค์กรพัฒนาเอกชน ฯลฯ

ื่
ค าว่า “งานสาธารณะ” จึงเป็นเรื่องที่ กลุ่มคนชุมชน กลุ่มต่าง ๆ เข้ามารวมตัวกันเพอท างานหรือ
ื่
ด าเนินกิจการอย่างใดอย่างหนึ่งเพอประโยชน์ร่วมกนของคนในสังคม ชุมชน อาทิเช่น สมัชชาคนจน สมัชชาชน

เผ่า สมาพนธ์ประชาธิปไตยกลุ่ม NGOs เป็นต้น การบริหารสาธารณะ จึงเป็นเรื่องเกยวกับประโยชน์ส่วนรวม
ี่
ส่วนค าว่า “สาธารณะ” หรือ “Public” มีความหมายกว้างมาก หากพิจารณาในแง่ที่เป็นกิจกรรมแล้ว

ภารกิจที่เกี่ยวข้องบงานสาธารณะนั้นอาจปรากฏในลักษณะต่างๆ ได้ดังนี้

ื่
๑) ในลักษณะของการท างานของรัฐที่เป็นภารกิจที่รัฐจ าเป็นต้องท าเอง ไม่สามารถ มอบหมายให้ผู้อน
ท าแทนได้ซึ่งได้แก่ กิจการหรือภารกิจที่ เกี่ยวข้องกับการรักษาความสงบ เรียบร้อย การรักษาความมั่นคง

ของรัฐ การอ านวยความยุติธรรม เช่น กิจการทหาร ต ารวจ ศาล กิจการตางประเทศ ฯลฯ เป็นต้น

๒) ในลักษณะของการท างานร่วมกัน ระหว่างภาครัฐ กับภาคเอกชน ในเรื่องที่เกี่ยวกับผลประโยชน์

สาธารณะ หรืออาจเรียกว่า “ ภารกิจสาธารณะ” หรือ “ Public Affairs ” เช่น กิจการเกี่ยวกับบริการ

สาธารณะทางด้านการศึกษาสาธารณะสุขการรักษาความสะอาด ฯลฯ เป็นต้น

๓) ในลักษณะที่รัฐควรท าแต่ไม่สามารถด าเนินการเองได้เนื่องจากต้องใช้เงินลงทุนสูง ต้องใช้

เทคโนโลยีเฉพาะ รัฐจงมอบหมายให้เอกชนเข้ามาร่วมด าเนินการ หรือด าเนินการแทน เช่น กิจการทาง

สาธารณูปโภคต่างๆ ได้แก่ กิจการด้านการสื่อสาร โทรคมนาคม เทคโนโลยีสารสนเทศ โทรศัพท์รถไฟฟา

เป็นต้น

๔) งานที่รัฐมอบหมายให้ชุมชน องค์กรที่ไม่หวงผลก าไร ( Non- Profit Organization ) องค์กร

ที่ไม่ใช่หน่วยงานภาครัฐ ( Non- Government Organization : NGOs ) ซึ่งหน่วยงานเหล่านนี้เป็นองค์กรที่มี

ื่
ปรัชญาในการด าเนินงานเพอประโยชน์ส่วนรวม โดยไม่ได้มุ่งหวงผลก าไร เป็นเปูาหมายหลักในการมาเป็น
ผู้ด าเนินการ

๕) การบริหารงานสาธารณะยังครอบคลุมถึงการบริหารงานองค์กรระหว่างประเทศด้วย เช่น

องค์การสหประชาชาติองค์การแรงงานระหว่างประเทศ องค์การการค้าโลกซึ่งจะมีรัฐสมาชิก ส่งตัวแทนไปเข้า


ร่วมประชุม หรือ ท ากิจกรรมต่างๆ ในนามของรัฐจึงถือว่าเป็นการบริหาร สาธารณะทั้งสิ้น
ปฐม มณีโรจน์ กล่าวว่า “รากศัพท์ ค าว่า public administration มีความหมาย ๒ ความหมาย

ความหมายที่หนึ่ง หมายถึงกิจ กรรมการบริหารงานสาธารณะครอบคลุมทั้งการบริหารราชการและรัฐวิสาหกิจ


อีกความหมายหนึ่ง หมายถึง สาขาวิชาการบริหารหรือที่รู้ จักทั่วไปว่า “รัฐประศาสนศาสตร์”
ติน ปรัชญพฤทธิ์ ได้ให้ความหมายของรัฐประศาสนศาสตร์ ว่าหมายถึง สาขา และ/หรือกิจกรรมที่

เกี่ยวกับการบริหารงานของรัฐบาลค าว่า Public Administration หมายถึง สาขาวิชาการบริหารงาน

ภาครัฐบาล ส่วน public administration (ตัวเล็ก) หมายถึง กิจกรรมหรือกระบวนการการบริหารงาน

ภาครัฐบาลในภาษาไทยนั้น รัฐประศาสนศาสตร์ โดยทั่วไปหมายถึง สาขาวิชาการบริหารงานของรัฐ ส่วน


การบริหารรัฐกิจ โดยทั่วไปหมายถึง กิจกรรมหรือกระบวนการเกี่ยวกับการบริหารงานของรัฐ
สร้อยตระกูล อรรถมานะ ได้ใช้ค าว่า “สาธารณบริหารศาสตร์” แทนค าว่า “รัฐประศาสนศาสตร์”


หมายถึงการบริหารงานสาธารณะในลักษณะที่เป็นสาขาวิชา โดยภาษาองกฤษใช้ค าว่า Public
Administration และใช้ค าว่า “การบริหารสาธารณกิจ” หมายถึง การบริหารงานสาธารณะในลักษณะ

ที่เป็นกระบวนการหรือกิจกรรมของการบริหารงานที่เกี่ยวกับสาธารณะแทนค าว่า การบริหารรัฐกิจการบริหาร


ราชการ หรือการบริหารราชการแผ่นดิน โดยภาษาอังกฤษใช้ค าว่า public administration
สรุป รัฐประศาสนศาสตร์ หรือ Public Administration หมายถึง

๑.ความพยายามของกลุ่มคนที่ร่วมกนปฏิบัติงานในหน่วยงานต่างๆให้บรรลุผลโดยมุ่งที่ประโยชน์


ร่วมกนของกลุ่มคนหรือสังคมโดยรวม
๒. มีขอบเขตครอบคลุมถึงการปฏิบัติงานและความสัมพันธ์ของทั้งสามฝุายของรัฐ คือฝุายนิติบัญญัติ

ฝุายบริหาร และฝุายตุลาการ

๓. มีบทบาทต่อการก าหนดนโยบายสาธารณะจึงถือเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการทางการเมืองและมี

บทบาทส าคัญในการน านโยบายออกไปปฏิบัติให้บรรลผลุ


ฤทธิกร ศิริประเสริฐโชค, เอกสารประกอบการสอนวิชา ๓๕๕๕๐๑ ขอบข่ายและวิธีการศึกษาทางรัฐ
ประศาสนศาสตร, วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา, ๒๕๕๖), หน้า ๑ - ๑๑.


ปฐม มณีโรจน์, “ขอบข่ายและสถานภาพของรัฐประศาสนศาสตร์ : พิจารณาในทัศนะวิชาชพ” ใน อุทัย เลาห

วิเชียร ปรัชญา เวสารัชช์ และเฉลิมพล ศรีหงษ์. (บรรณาธิการ), รัฐประศาสน ศาสตร์ : ขอบข่ายสถานภาพ และพฒนาการ
ในประเทศไทย, พิมพ์ครั้งที่ ๒, (กรุงเทพฯ : แสงรุ้งการพิมพ์, ๒๕๒๓), หน้า ๔๕.
๓ ติน ปรัชญพฤทธิ์, รัฐประศาสนศาสตร์เปรียบเทียบ : เครื่องมือใน การบริหารประเทศ, พิมพ์ครั้งที่ ๒.
(กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, ๒๕๓๕), หน้า ๑.

สร้อยตระกูล (ติวยานนท์) อรรถมานะ, สาธารณบริหารศาสตร์, พิมพ์ครั้งที่ ๓, (กรุงเทพฯ :
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๔๐), หน้า ๗-๙.

๔. มีความแตกตางจากการบริหารงานของภาคธุรกิจเอกชนในประเด็นที่ส าคัญๆ หลายประการ

แต่ในขณะเดียวกันก็มีความใกล้ชิดกับกลุ่มเอกชนปัจเจกบคคลอย่างมาก เนื่องจากเป็นผู้จัดท าบริการ

สาธารณะให้แก่ชุมชนและสังคม

๕. มีความเกี่ยวข้องกับการบริหารกิจการระหว่างประเทศด้วย

๒.ความส าคัญของรัฐประศาสนศาสตร์

ในระบบการปกครองทั่วๆ ไปจะมีการก าหนดเอาไว้ว่าอ านาจสูงสุดในการปกครองประเทศมาจากที่ใด

และใครเป็นผู้ใช้โดยบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญซึ่งเป็นกฎหมายหลักหรือกฎหมายแม่บท

กมล อดุลพันธุ์ การปกครองในระบอบประชาธิปไตยนั้นนิยมแบ่งแยกการใช้อานาจสูงสุดในการ


ปกครองประเทศ หรือ อ านาจอธิปไตย (Sovereignty) ออกเป็น ๓ สาขา คือ
๑. อานาจนิติบัญญัติ (Legislative Power) อานาจนี้น ามาใช้ในการออกกฎหมายในลักษณะต่างๆ

สถาบันที่รับผิดชอบในการออกกฎหมายคือ รัฐสภา

๒. อานาจบริหาร (Executive หรือ Administrative Power) อานาจนี้ หมายถึงการจัดการกิจการ
ื่
ของรัฐ โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะจัดท าบริการสาธารณะในด้านต่างๆ เพอสนองความต้องการของประชาชน
๒ ประการ คือ ความต้องการได้รับความปลอดภัยทั้งภายในและภายนอกประเทศ และความต้องการได้รับ

ความสะดวกในการใช้ชีวิตแต่ละคนผู้ใช้อ านาจบริหารนี้คือ คณะรัฐมนตรีหรือรัฐบาลทั้งชุด
๓. อ านาจตุลาการ (Judicial Power) หรืออ านาจในการพจารณา พพากษาอรรถคดีให้เป็นไปตามตัว


บทกฎหมาย สถาบันที่รับผิดชอบเกี่ยวกับอ านาจนี้ คือ กระทรวงยุติธรรม

ในการด าเนินงานของฝุายบริหารในแต่ละกระทรวงจะมีผู้ปฏิบัติงาน ๒ ฝุาย คือ

๑. ฝุายการเมือง (ข้าราชการการเมือง) ซึ่งเข้ามาด ารงต าแหน่งตามวาระหรือตามวิถีทางการเมือง

มีระยะเวลาในการด ารงต าแหน่ง เช่น นายกรัฐมนตรี, รัฐมนตรีว่าการกระทรวง, เลขานุการรัฐมนตรี,

รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง เป็นต้น

๒. ฝุายประจ า (ข้าราชการประจ า) เข้ามาด ารงต าแหน่งโดยยึดเป็นอาชีพและผลการสอบแข่งขันสอบ

คัดเลือก หรือคัดเลือกตามตัวบทกฎหมายที่ก าหนดไว้ ข้าราชการประจ าสูงสุด คือ ปลัดกระทรวง

ข้าราชการเมืองจะท างานร่วมกับข้าราชการประจ า โดยข้าราชการเมืองจะเป็นผู้ก าหนดนโยบาย

(Policy – Making) และควบคุมการท างานของข้าราชการประจ าให้เป็นไปตามนโยบายที่วางไว้

ส่วนข้าราชการประจ านั้นจะ เป็นผู้น านโยบายไปปฏิบัติ (Implementation) ให้บรรลุผล ซึ่งจะเห็นได้ว่า

การเมืองกับการบริหารเป็นสิ่งที่ต้องด าเนินไปได้ด้วยกันแยกจากกันไม่ได้ เพราะโดยเนื้อแท้ไม่มีการบริหารใด


กมล อดุลพันธุ์,“ความหมายและขอบข่ายของการศึกษาบริหาร รัฐกิจ” อ้างใน กวี รักษ์ชน. (บรรณาธิการ),
การบริหารรัฐกิจ เบื้องต้น, พิมพ์ครั้งที่ ๙, ( กรุงเทพฯ : ส านักพิมพ์มหาวิทยาลัย รามค าแหง, ๒๕๕๒), หน้า ๒๓-๒๕.

ที่จะปลอดจากการเมือง ทั้งนี้เพราะว่าการบริหารรัฐกิจจะเกิดขึ้นไม่ได้ในสุญญากาศทางการเมือง (public

administration never exists in political vacuum) หรือตามที่ Dimock, Marshall E. (๑๙๖๓ : ๗๕)


ได้เขียนไว้ว่า “การเมืองและการบริหารเปรียบดังสองด้านของเหรียญอนเดียวกัน (Politics and
administration are the two sides of a single coin)”

๓.รัฐประศาสนศาสตร์กับการบริหารธุรกิจ
รัฐประศาสนศาสตร์กับการบริหารธุรกิจมีส่วนที่เหมือนคล้ายคลึงกันและมีความแตกต่างในหลาย

ประเด็น ซึ่งทั้งรัฐประศาสนศาสตร์และการบริหารธุรกิจต่างมุ่งเน้นในเรื่องการบริหารงานของบุคลากรใน

องค์การเพื่อให้บรรลุเปูาหมายหรือวัตถุประสงค์ขององค์การ

๓.๑ ความเหมือนระหว่างรัฐประศาสนศาสตร์และการบริหารธุรกิจ
๑. การบริหารในลักษณะที่เป็นกระบวนการปฏิบัติงาน (Process) เหมือนกัน

๒. การบริหารซึ่งมีลักษณะเป็นพลังความร่วมมือร่วมใจ ปฏิบัติการของกลุ่มทีมงาน (Cooperative
Group Effort) นั้น มีในหน่วยงานไม่ว่าจะเป็นของราชการหรือธุรกิจเอกชน

๓. แต่ละองค์การไม่ว่าจะเป็นราชการหรือธุรกิจเอกชนล้วนแต่ต้องมีลักษณะในการบริหารและการ
ปฏิบัติงานที่แตกต่างกันตามสภาพสิ่งแวดล้อมและประเภทของงานที่ท า

๓.๒ ความแตกต่างระหว่างรัฐประศาสนศาสตร์และการบริหารธุรกิจ
๑.วัตถุประสงค์ ในรัฐประศาสนศาสตร์นั้นมุ่งในการจัดท าบริการสาธารณะ ไม่มุ่งหวังผลก าไรเพอ
ื่

สนองความต้องการของประชาชนโดยยึดประโยชน์และความพงพอใจของประชาชนโดยส่วนรวมเป็นหลัก

ส่วนการบริหารธุรกิจนั้นมุ่งที่ผลก าไร เพื่อความอยู่รอดขององค์การหรือหน่วยงานเป็นหลัก

ข้อสังเกต ประสิทธิผล (Effectiveness) หมายถึง การด าเนินงานให้ได้ผลลัพธ์ตามแผนที่วางไว้ หรือ

บรรลุผลส าเร็จตาม วัตถุประสงค์ที่ต้องการในเมื่อวัตถุประสงค์รัฐประศาสนศาสตร์ คือ การจัดท าบริการ


สาธารณะเพอประโยชน์และความพงพอใจของประชาชนโดยไม่มุ่งหวังผลก าไร ดังนั้นประสิทธิผลของรัฐ
ื่
ประศาสนศาสตร์จึงหมายถึงการบริการประชากรให้ดีที่สุด แม้ว่าบางครั้งถึงจะใช้เงินมากหรือขาดทุนก็ตาม

๒.ความรับผิดชอบ รัฐประศาสนศาสตร์นั้นกระท าโดย รับผิดชอบต่อประชาชน ส่วนการบริหารธุรกิจ

จะรับผิดชอบต่อผู้ถือหุ้นหรือ เจ้าของกิจการ

๓.ทุน รัฐประศาสนศาตร์ งบประมาณและทุนการด าเนินงาน ได้มาจากภาษีอากรของประชาชน

ส่วนการบริหารธุรกิจทุนได้มาจากผู้ถือหุ้นหรือเจ้าของกิจการ

๔. การก าหนดราคาสินค้าและบริการ รัฐประศาสนศาสตร์ ไม่จ าเป็นต้องก าหนดราคาเพราะไม่ได้

หวังผลก าไร ส่วนการบริหารธุรกิจจะต้องก าหนดราคาสินค้าตามกลไกตลาดของอุปสงค์และอุปทาน

๕. คู่แข่งในการด าเนินงาน รัฐประศาสนศาสตร์ไม่มีคู่แข่ง ส่วนการบริหารธุรกิจมีคู่แข่งมาก

โดยเฉพาะในสภาพแวดล้อมปัจจุบัน

๖. การคงอยู่รัฐประศาสนศาสตร์ การบริหารภาครัฐจะคงอยู่ตราบเท่าที่มีรัฐหรือประเทศ ส่วนการ

บริหารธุรกิจนั้นมีเปอร์เซ็นต์การอยู่รอดต่ ามากจะคงอยู่ได้ตราบเท่าที่สามารถจะท าก าไรเลี้ยงตัวเองได้เท่านั้น

เพราะมีการแข่งขันมากในการบริหารงาน หน่วยงานธุรกิจที่ไม่สามารถแข่งขันอยู่ได้ก็อาจต้องเปลี่ยนกิจการ

หรือปิดกิจการ

๗. ระบบราชการ (Bureaucracy) รัฐประศาสนศาสตร์มีลักษณะเป็นระบบราชการและลักษณะ


การเมืองมีความล่าช้าแบบ Red Tape อนเนื่องมาจากสายการบังคับบัญชา (Hierarchy) ซึ่งต้องปฏิบัติตาม
กฎระเบียบอย่างเคร่งครัด ส่วนการบริหารธุรกิจนั้นจะไม่มีลักษณะเป็นการเมือง ท างานโดยรวดเร็วไม่มีความ

ล่าช้าเหมือนระบบราชการ

8. การบริหารรัฐกิจ ประชาชนมีสิทธิวิพากษ์วิจารณ์ได้ เปรียบการท างานของราชการนั้นเหมือนอยู่


ใน “อางแก้ว” (Goldfish Bowl) ซึ่ง หมายถึงการท างานของราชการนั้นจะถูกเพงเล็งจากประชาชน

ตลอดเวลา ส่วนการบริหารธุรกิจนั้น ไม่มีลักษณะการท างานอยู่ใน “อ่างแก้ว” เหมือนอย่าง ข้าราชการ บริษัท

ห้างร้านต่างๆ มีการด าเนินงานเพื่อต้องการให้ลูกค้า คือ ประชาชนมีความพึงพอใจจากการใช้สินค้าและบริการ

๔.สถานภาพของรัฐประศาสนศาสตร์

จากการที่ได้พิจารณาความหมายของรัฐประศาสนศาสตร์เป็นสองความหมายดังกล่าวข้างต้น สามารถ


จ าแนกสถานภาพของรัฐประศาสนศาสตร์เป็นสองลักษณะ

๑. ในฐานะที่มีความเป็นศาสตร์ (Science) คือ การมองในด้านของการเป็นสาขาวิชาหรือลักษณะวิชา

(Discipline) จะหมายถึงเฉพาะวิชา รัฐประศาสนศาสตร์ (Public Administration) อนเป็นศาสตร์หรือ

สาขาวิชาที่ว่า ด้วยการบริหารงานของภาครัฐหรือระบบราชการ ซึ่งมีการรวบรวมไว้อย่างเป็นระบบ มีหลักการ

แนวคิด ทฤษฎี รวมถึงกฎเกณฑ์ที่สามารถน าไปศึกษาและ ถ่ายทอดให้กันได้

๒. ในฐานะที่มีความเป็นศิลป์ (Art) คือ การมองในด้านของกิจกรรม (Activities) หรือการปฏิบัติงาน

เรียกว่า การบริหารรัฐกิจ (public administration) การบริหารราชการ การบริหารสาธารณกิจหรือการ

บริการสาธารณะ ซึ่งหมายถึง การใช้ ศิลปะในการอานวยการ การจัดให้มีการประสานงาน การควบคุมคน
จ านวนมาก การมีความคิดสร้างสรรค์ การน าเอาทรัพยากรมาใช้ในการบริหาร ตลอดจนการแก้ไขปัญหาและ


ื่
อปสรรคต่าง ๆ เพอให้ผลงานบรรลุจุดมุ่งหมาย หรือวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้นั่นคือ การท าให้นโยบายแห่งรัฐ
บรรลุผลส าเร็จเป็นจุดหมายปลายทาง ทั้งนี้จะต้องอาศัยทั้งความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และทักษะ

ของนักบริหารแต่ละคนเข้ามาเป็นเครื่องช่วย



สมพงษ์ เกษมสิน, การบริหาร, พมพ์ครั้งที่ ๔, (กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนา พานิช, ๒๕๑๗), หน้า ๖-๑๕.

๕.ความสัมพันธ์ของรัฐประศาสนศาสตร์กับสาขาวิชาอื่นๆ

รัฐประศาสนศาสตร์มีลักษณะที่เป็นสังคมศาสตร์ประยุกต์ มีองค์ความรู้ที่เชื่อมโยงกับสาขาวิชาอนๆ
ื่
เช่น รัฐศาสตร์ นิติศาสตร์ สังคมศาสตร์ จิตวิทยา มนุษยศาสตร์ จึงท าให้สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์มี

ลักษณะที่เป็นสหวิทยาการ (Interdisciplinary) ท าให้นักบริหารงานภาครัฐและฝุายปฏิบัติ ต้องมีองค์ความรู้


ที่รอบด้านในการพฒนาองค์การระบบราชการ การบริการสาธารณะให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเป็นที่
ยอมรับของประชาชนในสถานการณ์สภาพแวดล้อมปัจจุบัน


ชุบ กาญจนประกร รัฐประศาสนศาสตร์มีองค์ความรู้ที่เชื่อมโยงและบูรณาการกับสาขาอื่นๆ ดังนี้

๑.ตรรกวทยา (Logic) ให้ประโยชน์ต่อการศึกษาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ในลักษณะที่ช่วยให้เข้าถึง

ความจริงและการหาเหตุผล มีหลักในการ ตัดสินใจหรือวินิจฉัยสั่งการโดยยึดหลักเหตุผล ถ้าหากการออกค าสั่ง
หรือวินิจฉัยสั่งการออกไปไม่ถูกต้อง การบริหารงานก็จะเกิดความเสียหานทั้งต่อองค์การ ข้าราชการ พนักงาน

ของรัฐรวมถึงประชาชน
๒. สังคมวิทยา (Sociology) ให้ประโยชน์แก่การศึกษาวิชารัฐประศาสนศาสตร์คือ


๑) ท าให้ทราบลักษณะการสืบประวัติมรดกตกทอดทางสังคม ซึ่งมีอทธิพลต่อการบริ หารราชการใน
ปัจจุบันตามหลักการศึกษาวิชารัฐประศาสนศาตร์ที่ว่า “การบริหารราชการเป็นผลอนเกิดมาจากทายะสมบัติ

ทางการเมืองและสังคม” (public administration is a product of political and social heritage)
หมายถึงรูปการบริหารราชการที่ปรากฏอยู่ในปัจจุบันนี้ เป็นส่วนหนึ่งที่ได้มาจากการรับมรดกตกทอดมาจาก

บรรพบุรุษและอีกส่วนหนึ่งคือส่วนที่ชนรุ่นหลังหรือรุ่นปัจจุบันได้ท าการปรับปรุงไขให้พัฒนาดีขึ้นเพอให้ก้าวทัน
ื่
ต่อสถานการณ์ของประเทศและบริบทสังคมโลก

๒) การใช้หลักทางสังคมวิทยาท าให้ทราบลักษณะของสภาพแวดล้อมในสังคมที่มีอทธิพลต่อ

การบริหาร เช่น ขนบประเพณีทางสังคม และคุณค่านิยมทางสังคมที่มีอทธิพลต่อการบริหารในระบบราชการ

เช่น การท าบุญขึ้นบ้านใหม่ ผู้อยู่อาศัยได้เสริมสิริมงคลและอยู่ในบ้านอย่างมีความสุข ส าหรับหน่วยงาน

ราชการเมื่อมีการสร้างส านักงานใหม่หรือปรับปรุงให้ดีขึ้นก็จะมีพธีกรรมท าบุญเปิดส านักงาน โดยมีความ

มุ่งหมายที่ต้องการให้บุคลากรท างานอยู่ร่วมกันอย่างราบรื่น การงานเจริญก้าวหน้าบรรลุเปูาหมาย ซึ่งอทธิพล

ของขนบธรรมเนียมประเพณีทางสังคมและคุณค่าทางสังคมที่ระบบราชการ น ามาใช้และยึดถือเป็นคุณค่าใน

การบริหารราชการ (administrative values) สามารถช่วยรักษาขนบธรรมเรียมประเพณีและคุณค่าทางสังคม

ที่ดีของไทยไว้ เป็นส่วนส าคัญในการสร้างวัฒนธรรมองค์การที่ดีของระบบราชการไทย



ชบ กาญจนประกร, “รัฐประศาสนศาสตร์” ใน สังคมศาสตร์, (กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มงคลการพิมพ์, ๒๕๐๙),
หน้า ๒๗-๓๘.

๓) ช่วยให้เข้าใจองค์การทางสังคม โดยท าความเข้าใจองค์การแบบอรูปนัย (Informal Organization)

ที่ซ่อนอยู่ในองค์การหรือส่วนราชการที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมาย ส าหรับองค์การอรูปนัยนั้นจะเป็นลักษณะการ

สร้างความสัมพันธ์ที่ดีทางสังคมเป็นความสัมพันธ์โดยส่วนตัวที่มิได้ยึดหลักเกณฑ์ระเบียบที่เคร่งครัดหรือเป็นไป

ตามล าดับขั้นตามสายบังคับบัญชาเหมือนองค์การแบบรูปนัย (formal Organization)

นอกจากนั้นการท าความเข้าใจในเรื่องส่วนราชการหรือองค์การ อรูปนัยในการบริหารราชการยังอาจ


ใช้หลักสังคมวิทยาในด้านอนๆ มาช่วยเป็น หลักในการประกอบการพจารณาได้อกด้วย เช่น การใช้หลักวิชา

ื่
Sociometric เป็นเครื่องมือวัดความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลต่างๆภายในองค์การ ซึ่งแสดงให้ เห็นว่า การติดต่อ
สัมพนธ์ภายในองค์การระหว่างคนต่อคนมีลักษณะอย่างไรใครบ้างที่มีการติดต่อกับคนอนๆ หรือติดต่อใน

ื่

ลักษณะของความถี่สักเพียงใด ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อไปถึงการศึกษาเรื่องภาวะผู้น าและเรื่องอื่นๆได้อกด้วย
๓.มานุษยวทยา (Anthropology) หลักวิชามานุษยวิทยาช่วยให้การศึกษาวิชารัฐประศาสนศาสตร์

เข้าใจถึง

๑) การน าเอาความเข้าใจในเรื่องวัฒนธรรมมาใช้ให้เป็นประโยชน์ต่อการบริหาร

๒) ลักษณะการต่อต้านการเปลี่ยนแปลง (Resistance to Change)

๓) ลักษณะของการเกิดปัญหาขัดแย้งระหว่าง “พวกหัวเก่ากับ พวกหัวใหม่” (ปัญหาการขัดแย้งของ

วัฒนธรรม)

๔. จิตวิทยาสังคม (Social Psychology) ให้ประโยชน์ในการศึกษาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คือ

ื่
๑) เพอให้ทราบความจริงที่เกี่ยวกับบุคคลแต่ละคน(เข้าใจ เรื่องคน)ที่อยู่ในหน่วยงานและระบบ

ื่
ราชการ เช่น ภูมิหลังของบุคลากร ลักษณะความสัมพนธ์กับเพอนร่วมงานในองค์การซึ่งจะน าไปสู่ความเข้าใจ
พฤติกรรมของข้าราชการบุคลากรในการบริหารราชการต่อไป

ื่
๒)ช่วยให้เข้าถึงพฤติกรรมของผู้ร่วมงานแต่ละคนในการประสานการท างานร่วมกันเพอให้
มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลบรรลุเปูาหมายของงานและองค์การ

๕. เศรษฐศาสตร์ ให้ประโยชน์ต่อการศึกษาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คือ น าเอาหลักวิชาเศรษฐศาสตร์


ื่
มาใช้ในการวางแผนพฒนาเศรษฐกิจ นโยบายการคลัง การบริหารงานคลัง เพอควบคุมให้การบริหารราชการ
แผ่นดิน ในส่วนที่เกี่ยวกับรายได้และรายจ่ายของรัฐเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ โดยก าหนดวัตถุประสงค์

วิธีการด าเนินงาน การก าหนดวงเงินงบประมาณรวมถึงการควบคุมและตรวจสอบประเมินผลการบริหาร

งบประมาณในแต่ละโครงการในปีงบประมาณ และการด าเนินงานในแผนปฏิบัติราชการประจ าปี

๖. รัฐศาสตร์ วิชารัฐประศาสนศาสตร์นั้นแยกตัวออกมาจากรัฐศาสตร์ ดังนั้นวิชารัฐประศาสนศาสตร์

จึงมีส่วนสัมพันธ์แนบแน่นกับวิชารัฐศาสตร์ เพราะวิชารัฐประศาสนศาสตร์เป็นวิชาที่มุ่งศึกษาวิจัยเพอส่งเสริม
ื่
ให้มีการบริหารงานเป็นไปตามนโยบายทางการเมืองของรัฐ หรือกล่าวได้ว่าจะต้องมีการใช้หลักวิชาในทาง

๑๐

รัฐศาสตร์ในส่วนที่เกี่ยวกับการเมืองจากนั้น ใช้หลักวิชาทางรัฐประศาสนศาสตร์ในการบริหารงาน

จัดท าบริการสาธารณะให้ เกิดความผาสุกและประโยชน์แก่ประชาชน


๗. นิติศาสตร์ ในการพจารณาระหว่างวิชารัฐประศาสนศาสตร์ และวิชานิติศาสตร์ จ าเป็นต้องแยก

การพจารณาออกเป็น ๒ ด้าน คือ การใช้ระเบียบวิธี การศึกษาวิชานิติศาสตร์ เพอประโยชน์ในการศึกษา
ื่
วิชารัฐประศาสนศาสตร์ประการหนึ่ง และการใช้หลักวิชานิติศาสตร์เพอประโยชน์แก่การศึกษาวิชารัฐ
ื่
ประศาสนศาสตร์และการบริหารราชการอีกประการหนึ่ง

๘. ประวติศาสตร์ นักวิชารัฐประศาสนศาสตร์ในปัจจุบันใช้วิชาประวัติศาสตร์ให้เป็นประโยชน์ใน

การศึกษาวิชารัฐประศาสนศาสตร์อย่างกว้างขวางมาก การศึกษาวิชารัฐประศาสนศาสตร์จ าเป็นต้องทราบ

เรื่องราวการบริหารราชการต่างๆในอดีต เพราะวิชาประวัติศาสตร์เป็นสาขาวิชาที่จัดให้มีระบบการศึกษาเพอ
ื่


ทราบเรื่องราวในอดีตอนเกี่ยวกับบรรพบุรุษสถาพแวดล้อมประสบการณ์อนมีส่วนเกี่ยวพนกับประเทศชาติ

สถาบันตลอดจนวิทยาการต่างๆ อกทั้งวิชาประวัติศาสตร์จะมีความส าคัญส าหรับนักรัฐประศาสนศาสตร์

ในการพิจารณาเกี่ยวกับรูปแบบการบริหารราชการมีการพัฒนามาอย่างไร เมื่อ เกิดสภาพปัญหาต่างๆ มีวิธีการ

แก้ไขเปลี่ยนแปลงให้สถานการณ์การบริหารราชการดีขึ้นอย่างไร ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในการพฒนาระบบ

ราชการการบริหารงานประเทศ ที่สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมทั้งสภาพการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม

เทคโนโลยีที่เหมาะสมและทันต่อการเปลี่ยนแปลง ในสังคมบริบทโลก

๙. การบริหารธุรกิจ ในการศึกษาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ซึ่งเป็น วิชาที่ต้องอาศัยศาสตร์ต่างๆเข้าช่วย

เพอให้เข้าถึงความจริงในการบริหารงาน ได้โดยถูกต้องยิ่งขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งการศึกษาหาความรู้
ื่
ความเข้าใจพฤติกรรมของมนุษย์และพฤติกรรมในการบริหารงาน ซึ่งเทคนิคทางการบริหารก็อย่างเช่น การจัด

ระเบียบองค์การ การวางแผนงาน การตรวจสอบควบคุมงาน ฯลฯ รัฐประศาสนศาสตร์ได้อาศัยเทคนิคการ

บริหารทางการทหารและการบริหารธุรกิจอยู่มาก ซึ่งจะเห็นได้จากการใช้โทรศัพท์ทางรัฐประศาสนศาสตร์

เช่น Chain of Command ได้มาจากทางราชการทหาร และค าว่า Office and Management ได้มาจากการ

บริหารธุรกิจ เป็นต้น

ศาสตร์ต่างๆที่นอกเหนือจากข้างต้น อนจะเป็นประโยชน์ในการศึกษาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ใน

ศตวรรษที่ ๒๑ นี้ นักบริหารต้องมีองค์ความรู้ต่างๆ ที่เพมขึ้นซึ่งเป็นองค์ประกอบที่ส าคัญในการบริหารงาน
ิ่
มีกระบวนทัศน์ใหม่ในการบูรณาการองค์ความรู้ที่หลากหลาย สามารถน ามาประยุกต์ใช้ในด าเนินงานการ

พัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ทักษะความสามารถอันจะน ามาซึ่งการพฒนาองค์การระบบราชการสู่ความเป็นเลิศ

ตอบสนองภารกิจของรัฐและการพัฒนาประเทศ

๑๑

๖.แนวคิดทางรัฐประศาสนศาสตร์และวิกฤตทางด้านเอกลักษณ ์

วิชารัฐประศาสนศาสตร์มีความเจริญรุ่งโรจน์มากที่สุดในระยะเวลาประมาณ ค.ศ.๑๙๓o จนถึงก่อน

สงครามโลกครั้งที่ ๒ คือราวประมาณ ค.ศ. ๑๙๔๕ ซึ่งในการศึกษษรัฐประศาสนศาสตร์ในช่วงนี้จะมุ่งเน้น

การศึกษาถึงเรื่องหลักหรือเกณฑ์(Principles) ในการบริหาร โดยมีการเสนอกรอบเค้าโครงความคิดการแยก

การเมืองและการบริหารออกจากกัน (Politics /administration Dichotomy) ในสมัยนี้แนวคิดทางรัฐศาสตร์

และแนวความคิดทางรัฐประศาสนศาสตร์จึงมีช่วงห่างกันมาก เป็นเหตุให้มีการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์ในยุค

แรกๆนี้ปลอดจากการแทรกแซงทางการเมือง โดยฝุายการเมืองเป็นผู้ก าหนดนโยบาย ส่วนฝุายบริหารเป็นผู้

ปฏิบัติตามภารกิจที่ฝุายการเมืองเป็นผู้ชี้น าให้ท า นักวิชาการสมัยนี้ได้แก่ วูดโรว์ วิลสัน(Woodrow Wilson)

อดีตประธานาธิบดีของสหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็นประธานาธิบดีคนแรกที่ได้เสนอแนวความคิดเกี่ยวกับรัฐประศาสน

ศาสตร์นอกจากนี้ ไวท์ (White) แฟร็งค์ เจ กู๊ดเนาว์ (Frank J. Goodnow) วิลเลี่ยม วิลลูบี (William


Willoughby) กูลิค และ อวิค (Gulick and Urwick)ต่างก็มีความเห็นพองต้องกันว่า เมื่อแยกการเมืองและ

ื่
การบริหารออกจากกันแล้วก็สามารถท าให้กฏเกณฑ์ของวิทยาศาสตร์เพอศึกษาวิชาการบริหารได้และบาง
โอกาสก็อาจจะมีการหยิบยืมความรู้หรือวิธีการปฏิบัติทางการบริหารธุรกิจน าเข้ามาใช้กับรัฐประศาสนศาสตร์

ท าให้ในระยะนี้รัฐประศาสนศาสตร์และวิชาการบริหารธุรกิจมีแนวนโยบายร่วมกันอย่างใกล้ชิดและทั้งสอง

ลักษณ์วิชานี้ต่างให้การยกย่อง เฟรเดอริก เทเลอร์ (Frederick Taylor) กูลิค และ อวิค (Gulick and Urwick)

เป็นอย่างสูง เพราะเป็นผู้ริเริ่มและสร้างกฏเกณฑ์ที่น ามาใช้ในการบริหาร และในช่วงเดียวกันนี้ได้มี

นักรัฐประศาสนศาสตร์ทางยุโรปที่โด่งดังในสมัยเดียวกันกับ วูดโรว์ วิลสัน(Woodrow Wilson) ของอเมริกา


คือ แม็ก เวเบอร์(Max Weber)ซึ่งเป็นผู้สร้างระบบราชการในอดมคติ (Ideal Type of Bureaucracy)
ที่มีอิทธิพลต่อแนวความคิดในการบริหารองค์การมาจนถึงในปัจจุบัน แม็ก เวเบอร์ (Max Weber) ได้ชื่อว่าเป็น

บิดาแห่งระบบราชการและเป็นบิดาแห่งรัฐประศาสนศาสตร์ทางยุโรป ส่วน วูดโรว์ วิลสัน(Woodrow Wilson)

ได้ชื่อว่าเป็นบิดาแห่งรัฐประศาสนศาสตร์ในอเมริกา

ซึ่งเราอาจสรุปได้ว่าแนวความคิดทางรัฐประศาสนศาสตร์ในยุคก่อนสงครามโลกครั้งที่สองนั้นมีกรอบ

ความคิด โดยมุ่งเน้นถึงเรื่องการแยกการเมืองออกจากการบริหาร และการสร้างหลักหรืกกฏเกณฑ์ที่เกี่ยวกับ


การบริหาร และให้ความส าคัญต่อค่านิยมในด้านอนๆอกเช่น ในการประหยัด (Economy) และในด้าน
ื่
ประสิทธิผล (Effective) และประสิทธิภาพ (Efficiency)

ต่อมาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ในอเมริกาเริ่มเสื่อมลงเป็นล าดับจนถึงจุดต่ าสุดในปี ค.ศ.๑๙๖๘ ซึ่งเป็น

ช่วงสงครามโลกครั้งที่ ๒ โดยมีการเลิกการสอนหรือการเปลี่ยนแปลงแนวการสอบรัฐประศาสนศาสตร์ไปเป็น

๑๒

ื่
อย่างอนหรือยุบสถาบันทางรัฐประศาสนศาสตร์ไปรวมกับคณะรัฐศาสตร์ เนื่องมาจากสาเหตุใหญ่ๆแห่งความ
เสื่อมก็คือการขาดเอกลักษณ์ทางลักษณะวิชา

การขาดเอกลักษณ์ทางลักษณะวิชา

การศึกษาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ เกิดวิกฤตการณ์ทางด้านเอกลักษณ์ขึ้นมา ๒ ครั้งด้วยกัน คือ

(๑) วิกฤตการณ์ทางด้านเอกลักษณ์ครั้งที่๑ (ประมาณปี ค.ศ.๑๙๕o-๑๙๖o)

ท าเกิดทฤษฎีท้าทายโดยนักวิชาการรุ่นใหม่ๆบางท่านที่เริ่มเกิดความสงสัยในแนวความคิดหลักของ

เกณฑ์ทางการบริหารที่อวดอ้างว่าสามารถสร้างหลักการบริหารที่เป็นสากลใช้ได้กับในทุกสถานการณ์ได้ ถึงกับ


ท าให้ เฮอร์เบิร์ต เอ. ไซมอน (Herbert A. Simon) ออกมาโต้แย้งว่า “ในความเป็นจริงแล้วหลักการบริหาร

ต่างๆไม่มี” จึงเป็นไปไม่ได้ที่จะท าให้หลักการบริหารเป็นสากลได้เลย และโรเบิร์ต ดาห์ล (Robert Dahl) ก็
ได้ให้ความเห็นในเรื่องนี้ไว้ว่า ในแต่ละองค์การโครงการองค์การก็มีความเป็นลักษณะเฉพาะขององค์การนั้นๆ

เช่นบุคลิกภาพของคนในองค์การ โครงการทางสังคมและวัฒนธรรมต่างๆก็ขึ้นอยู่กับในแต่ละองค์การเป็น

ส าคัญฉะนั้นการที่จะน าหลักการบริหารมาใช้กับในทุกสถานการณ์นั้นก็ล้วนเป็นสิ่งที่เป็นไปไม่ได้ ส่วน

เซสเตอร์ ไอ. บาร์นาร์ด (Chester I. Barnard)ได้มีความคิดเห็นว่า การศึกษาในยุคก่อนสงครามโลกครั้งที่ ๒

นั้นมักให้ความส าคัญกับโครงการสร้างของระบบการบริหารมากกว่า จึงได้เสนอมิติใหม่ให้มีการหันมาให้ความ


สนใจในพฤติกรรมมนุษย์มากยิ่งขึ้นเพราะเขามีความคิดว่าองค์การก็คือ “ระบบความร่วมมอ (Co-operative
System) ของคนนั่นเอง” ส่วนแนวคิดของ ดไวท์ วอลโด ก็เป็นอกผู้หนึ่งที่คิดค้นความเป็นสากลทางการ

บริหารและมีความเห็นว่า รัฐประศาสนศาสตร์ควรให้ความสนใจในเรื่องของค่านิยมของการปกครองระบอบ

ประชาธิปไตย และความสัมพนธ์ระหว่างการเมืองและการบริหารให้มากกว่าที่จะไปสนใจแต่เรื่องภายใน

องค์การเท่านั้นในขณะที่นอร์ตัน์ ลอง (Norton Long) ก็เป็นอกผู้หนึ่งที่มีความเห็นไปในทิศทางเดียวกับ

ดไวท์ วอลโด โดยให้ทรรศนะว่า การศึกษารัฐประศาสนศาสตร์นั้นควรเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับรัฐธรรมนูญ

ระบบการเมืองและหน้าที่ของการก าหนดนโยบายมากกว่าที่จะสนใจแต่เรื่องกฏเกณฑ์การบริหาร


นักวิชาการทั้ง ๕ ท่านต่างได้วิพากษ์วิจารณ์ชี้ให้เห็นถึงจุดออนของเค้าโครงการความคิดอยู่
๒ อย่างคือ

(๑)การแยกการเมืองออกจากการบริหารและ (๒) หลักหรือกฏเกณฑ์ทางการบริหารท าให้รัฐ

ประศาสนศาสตร์ขาดคงามมีเอกลักษณ์โดยไม่รู้แน่ว่า แกนกลางลักษณะวิชาอยู่ตรงไหน มีขอบข่ายของ

ลักษณะวิชาแค่ไหน และมีทิศทางอย่างไร จึงได้พยายามทีหาจุดสนใจร่วมของรัฐประศาสนศาสตร์ และได้มี

ความเห็นพองต้องกันว่าการเรียนการสอนทางรัฐประศาสนศาสตร์ควรมีความสนใจร่วมกัน (Core beliefs)


Herbert A. Simon, Administrative Behavior, (New York : Macmillion Co., ๑๙๔๗).

๑๓

ในวิชาแกนกลางหลักๆอยู่ ๓ วิชา คือ การบริหารองค์การ การบริหารงานบุคคล และการบริหารงานคลังซึ่งใน

ขณะเดียวกันก็ได้มีนักวิชาการอีกกลุ่มหนึ่งที่ไม่เห็นด้วยกับกรอบความคิดการแยกการบริหารออกจากการเมือง


จึงได้เสนอกรอบเค้าโครงความคิดใหม่คอ “การบริหารส่วนหนึ่งของการเมือง”

ผู้ต่อต้านแนวการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์แบบแยกการเมืองออกจากการบริหา ร

(Polities/Administrative Dichotomy) คือ พอล แอพเพลบี (Paul H. Appleby) กับ ไดม๊อก และไดม๊อก



(Dimock and Dimock)ได้กล่าวว่า “การเมืองกับการบริหารเป็นเสมอนคนละด้านของเหรียญอนเดียวกัน”
คือด้านหนึ่งของเหรียญจะเป็นการเมือง อกด้านหนึ่งของเหรียญก็จะเป็นการบริหาร นอกจากนั้นแล้ว

ฟริตส์ มิร์สไตน์ มาร์กซ์ (Frits Morstein Marx) ได้ชี้ให้เห็นถึงความสัมพนธ์ของการเมืองและการบริหาร

ส่วน จอนห์ เอม เกาส์ (John M. Gaus) ถึงกับกล่าวว่า“ทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ก็คือ ทฤษฎีการเมือง

นั่นเอง

(๒) วิกฤตการณ์ทางด้านเอกลักษณ์ครั้งที่ ๒ (ประมาณปี ค.ศ. ๑๙๖o-๑๙๗o)

ท าให้เกิดความเสื่อมศรัทธาในทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ในช่วงที่เกิดทฤษฎีท้าทายได้มีการชี้ให้เห็น
แต่ความบกพร่องตรงไหนเท่านั้นแต่ไม่ได้มีการเสนอทางออกอนเป็นที่ยอมรับกันได้ในหมู่วิชาการ จึงท าให้

สภาพของวิชารัฐประศาสนศาสตร์ต้องตกอยู่ในสภาพที่อลเวงสับสนและขาดความเป็นเอกลักษณ์ เนื่องมาจาก
(๑) การแยกการบริหารออกจากการเมือง (๒)ความตรึงเครียดระหว่างการศึกษาทางทฤษฎีและการปฏิบัติ

(๓) การท าลายล้างค่านิยมการบริหารของทฤษฎีดั่งเดิม (๔)ความล้มเหลวในการท าให้วิชามีลักษณะแบบ

วิทยาศาสตร์ และความขัดแย้งระหว่างเปูาหมายขององค์การและความต้องการส่วนบุคคล ท าให้เป็นปัญหาที่

รัฐประศาสนศาสตร์ประสบอยู่จนถึงปัจจุบันก็คือ “การขาดเอกลักษณ์ของวิชา” ท าให้รัฐประศาสนศาสตร์ไม่มี
ฐานะเป็นศาสตร์ (Science) แต่มีลักษณะเป็นเพยง “จุดแห่งความสนใจที่ใช้ในการศึกษา” (Focus of the

study) กันได้เท่านั้นเอง

ซึ่งสภาพที่กล่าวมาทั้งหมดข้างต้นนี้ ล้วนเป็นแรงเป็นแรงผลักดันให้นักรัฐประศาสนศาสตร์ โดยเฉพาะ

นักวิชาการรุ่นใหม่ๆทางรัฐประศาสนศาสตร์ในอเมริกามารวมตัวกันครั้งใหญ่ และมีการจัดประชุดที่หอประชุม

(Minowbrook) ในปี ค.ศ. ๑๙๖๘ ณ มหาวิทยาลัย Syracuse โดยมี ดไวท์ วอลโด เป็นผู้ตามมาด้วย


แฟร็งค์ มารินี เฟรเดอริกสัน แลมไบร์ท ซึ่งได้หันมาพจารณาตัวรัฐประศาสนศาสตร์ อนน าไปสู่การค้นพบ

“รัฐประศาสนศาสตร์ในความหมายใหม่ (New Public Administration)(New P.A.) การประกาศเอกราชทาง

วิชาการว่ารัฐประศาสนศาสตร์จะไม่ต้องอยู่กับรัฐศาสตร์และฝุายบริหารธุรกิจอกต่อไปแล้ว และรัฐประศาสน


พิทยา บวรเดช, รัฐประศาสนศาสตร์ : ทฤษฎีและแนวทางการศึกษา, (กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๔), หน้า ๑๒๖-๑๒๗.

๑๔

ศาสตร์จะต้องมีเอกลักษณ์เป็นของตัวเอง และต้องท าให้สอดคล้องกับความต้องการของสังคมและให้

ความส าคัญกับความเสมอภาคทางสังคม (Social Equity)

และในช่วงนี้ก็ได้เกิดการปฏิวัติทางพฤติกรรมศาสตร์(Behavioral Revolution) ขึ้นมาในวงการ

วิชาการท าให้เนื้อหาและวิธีการศึกษาวิชารัฐประศาสนศาสตร์เปลี่ยนแปลงไปตามปรัชญาของพฤติกรรม

ศาสตร์ ซึ่งต้องท าให้ต้องหันมาให้ความสนใจพฤติกรรมของคนมากขึ้น เช่น มีการให้ความสนใจเรื่องที่

สอดคล้องกับความต้องการทางสังคม (Relevance) ในความส าคัญเกี่ยวกับค่านิยม(Value) โดยรัฐประศาสน

ศาสตร์จะต้องเข้าไปเกี่ยวข้องกับการช่วยเหลือคนที่เสียเปรียบทางสังคมและให้ความเสมอภาคทางสังคม

(Social Equity) นักรัฐประศาสนศาสตร์จะต้องเข้าไปช่วยคนจนหรือคนด้อยโอกาสหรือคนที่เสียเปรียบทาง

สังคม โดยมีการกระจายการให้บริการให้ทุกคนในสังคมได้มีโอกาสเท่าเทียมกันในการได้รับการบริการ

ื้
ื่
และต้องมีการเปลี่ยนแปลง (Change) เพอให้ระบบราชการบริการคนให้ทั่วถึง และเอออานวยสอดคล้องกับ

ความต้องการของคนในสังคม

๗.สรุปท้ายบท

ื่
รัฐประศาสนศาสตร์ หมายถึง การด าเนินงานของภาครัฐหรือระบบราชการ เพอให้เป็นไปตาม
นโยบายของรัฐหรือรัฐบาลที่วางไว้เป็นกิจกรรหรือ การด าเนินงานของทั้งฝุายบริหาร ฝุายนิติบัญญัติและฝุาย

ตุลาการที่จะท าให้นโยบายแห่งรัฐบรรลุผลส าเร็จ ซึ่งโดยทั่วไปจะเขียนภาษาองกฤษด้วยอกษรน าหน้าตัว P


และ A ใหญ่ คือ Public Administration ส าหรับการบริหารรัฐกิจ หรือการบริหารราชการ เป็นส่วนหนึ่งที่

เกี่ยวกับการด าเนินงานกิจกรรมต่างๆที่รัฐปฏิบัติเพอประโยชน์สาธารณะ หรือเพอประชาชนโดยส่วนรวมนิยม
ื่
ื่

ใช้ภาษาองกฤษด้วยอกษร p และ a เล็ก คือ public administration รัฐประศาสนศาสตร์มีลักษณะที่เป็น

ื่
สังคมศาสตร์ประยุกต์ มีองค์ความรู้ที่เชื่อมโยงกับสาขาวิชาอนๆเช่น รัฐศาสตร์ นิติศาสตร์ สังคมศาสตร์
จิตวิทยา มนุษยศาสตร์ จึงท าให้สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์มีลักษณะที่เป็นสหวิทยาการ

(Interdisciplinary) ท าให้นักบริหารงานภาครัฐและฝุายปฏิบัติต้องมีองค์ความรู้ที่รอบด้านในการพฒนา

องค์การ ระบบราชการ การบริการ สาธารณะให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเป็นที่ยอมรับของประชาชน

ในสถานการณ์สภาพแวดล้อมปัจจุบัน

๑๕

ค าถามท้ายบท

๑. จงอธิบายถึงความหมายของรัฐประศาสนศานตร์

๒. จงอธิบายถึงความส าคัญของรัฐประศาสนศาสตร์

๓. จงอธิบายถึงสถานภาพของวิชารัฐประศาสนศาสตร์

๔.ของรัฐประศาสนศาสตร์มีความสัมพันธ์กับสาขาวิชาใดบ้าง

๑๖

อ้างอิงท้ายบท

กวี รักษ์ชน. (บรรณาธิการ). การบริหารรัฐกิจ เบื้องต้น, พมพ์ครั้งที่ ๙, ( กรุงเทพฯ : ส านักพิมพ์มหาวิทยาลัย

รามค าแหง, ๒๕๕๒).
ติน ปรัชญพฤทธิ์, รัฐประศาสนศาสตร์เปรียบเทียบ : เครื่องมือใน การบริหารประเทศ, พิมพ์ครั้งที่ ๒.

(กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, ๒๕๓๕).

ชุบ กาญจนประกร, “รัฐประศาสนศาสตร์” ใน สังคมศาสตร์, (กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มงคลการพิมพ์, ๒๕๐๙).
ฤทธิกร ศิริประเสริฐโชค, เอกสารประกอบการสอนวิชา ๓๕๕๕๐๑ ขอบข่ายและวิธีการศึกษาทางรัฐ

ประศาสนศาสตร, วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา, ๒๕๕๖).

พิทยา บวรเดช, รัฐประศาสนศาสตร์ : ทฤษฎีและแนวทางการศึกษา, (กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๔).

อุทัย เลาหวิเชียร ปรัชญา เวสารัชช์ และเฉลิมพล ศรีหงษ์. (บรรณาธิการ), รัฐประศาสน ศาสตร์ : ขอบข่าย

สถานภาพ และพัฒนาการในประเทศไทย, พิมพ์ครั้งที่ ๒, (กรุงเทพฯ : แสงรุ้งการพิมพ, ๒๕๒๓).

สมพงษ์ เกษมสิน, การบริหาร, พิมพ์ครั้งที่ ๔, (กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนา พานิช, ๒๕๑๗).


สร้อยตระกูล (ติวยานนท์) อรรถมานะ, สาธารณบริหารศาสตร์, พิมพครั้งที่ ๓, (กรุงเทพฯ :
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๔๐).

Herbert A. Simon, Administrative Behavior, (New York : Macmillion Co., ๑๙๔๗).

๑๗

บทที่ ๒

ทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์

(Public Administration Theory)


ขอบข่ายรายวชา
เนื้อหาความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ประกอบไปด้วยทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์

ของต่างประเทศ และทฤษฎีหรือแนวคิดทางรัฐประศาสนศาสตร์ของไทย

วัตถุประสงค์

๑.เพื่อศึกษาและเข้าใจทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์ของต่างประเทศ
๒.เพื่อศึกษาและเข้าใจทฤษฎีหรือแนวคิดทางรัฐประศาสนศาสตร์ของไทย

ค าน า

ก่อนที่จะท าความรู้จักกับทฤษฎีรัฐประศาสนาศาสตร์ ผู้ศึกษาควรจะทราบเสียก่อนว่าทฤษฎี ก็คือ

การที่เราเอาสิ่งที่เกิดขึ้นจริงมาเขียนให้สั้นมีความหมาย เราเรียกว่า ทฤษฎี ทางการบริหารคือเราไปดูว่ามีอะไร

เกิดขึ้นจริงในระบบการบริหารเกิดขึ้นในองค์กรเราก็น าเอามาเขียนให้สั้นอย่างมีความหมาย เราเรียกว่าทฤษฎี
เพอเก็บสั่งสมเป็นองค์ความรู้ หรืออกในหนึ่ง ทฤษฎี ก็คือ ระบบที่เราเอามาจากข้อมูลเชิงประจักษ์ แล้วสร้าง

ื่
เป็นกฎเกณฑ์ที่สามารถน าเอาไปใช้ได้

๑.ทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์ของต่างประเทศ

วิชารัฐประศาสนศาสตร์นั้น มีลักษณะส าคัญคือการเป็นสหวิชาการ (Interdisciplinary)ท าให้มีการขอ

หยิบยืมแนวคิด ทฤษฎี รวมถึงวิธีการของสาขาวิชาอนๆมาใช้ ดังแนวความคิดและทฤษฎีทางรัฐประศาสน
ื่
ศาสตร์ที่จะได้น าเสนอต่อไปนี้เป็นสิ่งที่มีรากฐานมาจากสาขาวิชาต่างๆไม่ว่าจะเป็นสังคมวิทยา วิทยาศาสตร์

บริหารหรือจิตวิทยา ทั้งนี้ในบทนี้จะได้น าเสนอแนวคิดและทฤษฎีที่น่าสนใจ ๙ ประการด้วยกัน ได้แก่

๑. ระบบราชการของ แม็กซ์ เวเบอร์ (Max Weber)

๒. วิทยาศาสตร์การจัดการของเฟรเดอริก เทย์ เลอร์(Frederick Taylor)

๓. หลักการบริหารของเฮนรี่ ฟาโยล์(Henri Fayol)

๔. หลักการPOSDCoRBของ กูลิค และอูร์วิก(Luther H. Gulick and LyndallUrwick)
๕. แนวทางมนุษย์สัมพันธ์ของเอลตัน มาโย(Elton Mayo)

๖. ทฤษฎี X และทฤษฎี Y ของดักกลาส แมกเกรเกอร์ (Douglas McGregor)

๗. ทฤษฎี Z ของวิลเลี่ยม จี. โออชิ (William G. Ouchi)

๘. ทฤษฎีสองปัจจัยของ เฟรเดอริก เฮิร์ซเบิร์จ (Frederick Herzberg)

๑๘

๙. แนวทางการรื้อปรับระบบ (Reengineering) ของไมเคิล แฮมเมอร์ และเจมส์ แชมปี้

(Michale Hammer and James Champy)

๑.ระบบราชการของแม็กซ์ เวเบอร์ (Max Weber)

เมื่อกล่าวถึงระบบราชการแล้วผู้อานหลายคนก็คงจะนึกถึงของ แม็กซ์ เวเบอร์ (Max Weber)นักคิดผู้

ยิ่งใหญ่ชาวเยอรมัน ซึ่งเป็นคนเสนอแนวคิดในการจัดการองค์การแบบระบบราชการ(Bureaucracy)

โดยวิธีการจัดการองค์การแบบระบบราชการนี้ ผู้คนส่วนใหญ่มักเข้าใจผิดไปว่าเป็นวิธีการจัดการที่ใช้กับงาน

ื่
“ราชการ” เท่านั้นซึ่งความจริงไม่ได้เป็นเช่นนั้น แต่การจัดการแบบระบบราชการนี้เวเบอร์ออกแบบมาเพอใช้
กับองค์การขนาดใหญ่ ซึ่งไม่ได้หมายถึงเพียงแต่องค์การของราชการเท่านั้น แต่องค์การเอกชนที่มีขนาดใหญ่โต

ก็สามารถน าระบบราชการไปใช้ได้เช่นเดียวกัน ตัวอย่างเช่น ธนาคารกรุงเทพ อย่างไรก็ตามในยุคสมัยของ


เว เบอร์ องค์การขนาดใหญ่ที่เหมาะสมจะน าระบบราชการไปใช้ก็ดูจะมีเพยง “กองทัพ” รวมถึงองค์การของ
ื้
รัฐเท่านั้นแนวคิดนี้จึงได้รับการน าไปใช้เป็นพนฐานของการบริหารงานภาครัฐและได้รับความนิยมอย่าง
ื่
แพร่หลายทฤษฎีระบบราชการนี้ก าหนดขึ้นมาเพอมุ่งในการจัดรูปแบบขององค์การให้เป็นไปอย่างมีแบบแผน
ซึ่งเขาเชื่อว่าเมื่อเป็นเช่นนี้แล้วการปฏิบัติงานขององค์การจะเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ

พนฐานของทฤษฎีระบบราชการนั้นมาจากแนวความคิดเรื่องอานาจของเวเบอร์ ดังนั้นก่อนที่จะได้
ื้

กล่าวถึงระบบราชการจึงจะได้กล่าวถึงแนวคิดเรื่องอานาจอนชอบธรรมของเขาเสียก่อน โดยเวเบอร์เห็นว่า


อ านาจที่ชอบธรรมนั้นมีแหล่งที่มาใหญ่ๆอยู่ ๓ ประการ ด้วยกันได้แก ่

๑. อ านาจที่เกิดจากจารีตประเพณี (Traditional)

อ านาจชนิดนี้เกิดจากความเชื่อในอานาจหรือความศักดิ์สิทธิ์ของขนบธรรมเนียมประเพณีหรือจารีตที่
มีอยู่ในสังคมและได้รับการสืบทอดมาเป็นเวลายาวนาน ดังนั้นการที่ประชาชนจะเชื่อฟงค าสั่งของผู้ปกครองก็

เนื่องมาจากการที่ผู้ปกครองนั้นมีสภาพทางสังคมที่ได้รับการยอมรับตามจารีตประเพณี เช่น ความเชื่อว่า

พระมหากษัตริย์นั้นเป็นผู้ที่มีความศักดิ์สิทธิ์เสมือนหนึ่งเป็นเทพเจ้าหรือเป็นอวตารของเทพเจ้าที่ลงมายังโลก


มนุษย์ ดังนั้นประชาชนจึงเชื่อค าสั่งของพระมหากษัตริย์รวมทั้งพระมหากษตริย์ที่สืบราชสันตติวงศ์ต่อๆมาด้วย
๒. อ านาจที่เกิดจากบารมี (Charismatic)


อานาจชนิดนี้เกิดขึ้นมาจากลักษณะพเศษของบุคคลหรือความสามารถพเศษของบุคคลที่มีเหนือคน


ธรรมดาทั่วไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งความสามารถในการถ่ายทอดความรู้สึกไปสู่ประชาชนให้ประชาชนเกิด
ความรู้สึกร่วมกันว่าผู้ปกครองก าลังจะน าพาประชาชนสู่จุดมุ่งหมายที่ยิ่งใหญ่ท าให้ประชาชนชื่นชอบ รักใคร่

ภักดี หรือเกรงกลัวอยากจะด าเนินการตามผู้น า อยากเลียนแบบผู้น า และเคารพเชื่อฟังผู้น า

๓. อ านาจที่เกิดจากการอ้างตามเหตุผล(Rational)

อานาจที่มาจากการอางตามเหตุผลนี้มีที่มาจากความเชื่อในความมีเหตุผลของ “กฎหมาย” ถือว่า
กฎหมายนั้นเป็นกฎเกณฑ์มาตรฐานของสังคมที่ผู้คนในสังคมร่วมกันก าหนดขึ้นมา ดังนั้นสิทธิ์หน้าที่ของผู้คน

๑๙

ต่างๆจึงอยู่ภายใต้กฎหมาย ผู้ปกครองอาจจะได้อานาจในการกระท าการต่างๆตามที่กฎหมายบัญญัติเอาไว้ซึ่ง

อานาจหน้าที่ตามกฎหมายนี้มีตั้งแต่ระดับบนสุดจนกระทั้งระดับล่างสุดในระดับบนเช่น การที่กฎหมายให้

อ านาจแก่นายกรัฐมนตรีส าหรับการบริหารกิจการของรัฐบาลส่วนในระดับล่างก็เช่น การที่กฎหมายได้อานาจ
แก่พลต ารวจด าเนินการปราบปรามจับกุมผู้กระท าผิดกฎหมาย เป็นต้น

อ านาจจาก ๓ แหล่งนี้แตกต่างกันตรงที่ว่าอานาจที่เกิดจากการอางตามเหตุผลหรืออานาจหน้าที่ตาม
กฎหมายนั้น ประชาชนหรือผู้ใต้บังคับบัญชาจะเชื่อฟงผู้บังคับบัญชาหรือบุคคลที่อยู่ในต าแหน่งหน้าที่ตาม

กฎหมายก าหนดไว้อย่างเป็นทางการโดยไม่สนใจว่าบุคคลนั้นจะเป็นใครมีที่มาชาติตระกูลเป็นอย่างไร แต่หาก

บุคคลนั้นเข้ารับต าแหน่งอย่างถูกต้องตามกฎหมายย่อมมีสิทธิอานาจในการบังคับบัญชาภายใต้ขอบเขตที่
ก าหนดให้ทั้งสิ้น แต่อานาจที่มาจากจารีตประเพณีนั้นการเชื่อฟงจะอยู่ที่ตัวบุคคลซึ่งเป็นผู้ปกครอง/หัวหน้า



และมีต าแหน่งที่ได้รับการสืบทอดมาตามจารีตประเพณีที่สืบทอดกันมา ท าให้ความสัมพนธ์ระหว่างผู้ปกครอง

กับประชาชนขึ้นอยู่กับความจงรักภักดีที่ประชาชนมีให้ต่อตัวผู้ปกครองเป็นส าคัญ และในส่วนของอานาจที่เกิด

จากบารมีนั้นมีความสัมพนธ์ระหว่างตัวผู้ปกครองกับประชาชนขึ้นอยู่กับความเชื่อถือไว้วางใจรวมถึงความยอ

รับที่ประชาชนมีต่อผู้ปกครองว่าผู้ปกครองเป็นวีรบุรุษเป็นผู้ที่มีคณลักษณะพิเศษอยู่กับตัวเองเท่านั้น

ในทัศนะของแม็ก เวเบอร์ นั้นเห็นว่าอานาจที่เกิดขึ้นจากการอางตามเหตุผลหรืออานาจหน้าที่ตาม
กฎหมายนั้นเป็นอานาจที่มีความชอบธรรมมากที่สุด และเป็นกลไกส าคัญในการจัดการองค์การด้วยระบบ

ราชการ เนื่องจากอานาจหน้าที่ตามกฎหมายสามารถบังคับเอาความมีเหตุมีผลออกมาจากตัวข้าราชการได้

การที่การจัดองค์การด้วยระบบราชการการอยู่เหนือการจัดองค์การในรูปแบบอนๆ ก็ด้วยระบบนี้มีความ
ื่
เที่ยงตรง ความมั่นคง ความเข้มงวดกวดขันในระเบียบวินัย และมีความน่าเชื่อถือ ซึ่งสิ่งเหล่านี้เมื่อประกอบกัน

ขึ้นจะก่อให้เกิดผลลัพธ์เป็นการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพสูง

การจัดองค์การด้วยระบบราชการมีหลักการที่เป็นลักษณะส าคัญ ๖ ประการ ได้แก่

๑. Hierarchy : หลักสายการบังคับบัญชา

๒. Rules and Regulations : หลักกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ

๓. Division of Labo r: หลักการแบ่งแยกแรงงาน

๔. Impersonality : หลักการแยกเรื่องส่วนตัวออกจากเรื่องงาน
๕. Competence : หลักการยึดหลักความสามารถในการท างาน

๖. Formal written records : หลักการปฏิบัติงานแบบลายลักษณ์อักษร

๑) Hierarchy : หลักสายการบังคับบัญชา

สายการบังคับบัญชา หมายถึง แผนผังความสัมพันธ์ในการปฏิบัติงานตามล าดับชั้นระหว่างผู้บังคับบัญชา

กับผู้ใต้บังคับบัญชาในองค์กร

๒๐

สายการบังคับบัญชาเป็นเครื่องบ่งบอกถึงอานาจในการบังคับบัญชาจากเบื้องสูงลงไปสู่เบื้องล่างทีละ
ล าดับชั้น ทั้งนี้ในแต่ละสายการบังคับบัญชาจะมี “ช่วงการบังคับบัญชา” (Span of Control) กล่าวคือ

ผู้บังคับบัญชาคนหนึ่งมีขอบเขตความรับผิดชอบในการบังคับบัญชาใครบ้างหรือกล่าวแบบง่ายๆก็คือ หัวหน้า

หนึ่งคนมีลูกน้องอยู่กี่คนนั้นเอง

สิ่งส าคัญประการหนึ่งในระบบสายบังคับบัญชาที่ควรต้องจดจ าเอาไว้คือ “ผู้บังคับบัญชาหนึ่งคนจะม ี

ผู้ใต้บังคับบัญชากี่คนก็ได้ แต่ผู้ใต้บังคับบัญชาหนึ่งคนจะมผูใต้บังคับบัญชาได้เพียงคนเดียว”เนื่องจาก

ผู้ใต้บังคับบัญชาต้องมีเจ้านายทีเดียวหลายคน เมื่อปฏิบัติงานจริงก็เกิดความสับสบ เพราะถ้าเจ้านายคนที่๑

บอกให้ไปทางซ้าย แต่เจ้านายคนที่๒ บอกให้ไปทางขวา แล้วผู้ใต้บังคับบัญชาจะปฏิบัติตามค าสั่งอย่างไร

๒) Rules and Regulations : หลักกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ

หลักการข้อนี้ คือ อานาจหน้าที่ต่างๆที่จะมอบให้บุคลากรให้องค์กร ข้อที่ต้องปฏิบัติ ข้อห้ามการปฏิบัติ

ระบบการสั่งการ รวมถึงกระบวนการท างานในองค์กร ต้องมีก าหนดไว้เป็นลากลักษณ์อักษรอย่างชัดเจน ทั้งนี้ก็

เพอที่จะให้เกิดความแน่นอนในการปฏิบัติงาน ซึ่งจะท าให้การปฏิบัติงานท าได้รวดเร็วขึ้น ลดการสื่อสารใน
ื่
หน่วยงานที่ไม่จ าเป็น และสร้างกรอบปฏิบัติการที่เป็นแบบแผนเดียวกันทั่วทั้งองค์กรขึ้นมา ตัวอย่างเช่น

ในระบบราชการไทย ระเบียบส านักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.๒๕๒๖ ได้ก าหนดวิธีการปฏิบัติ

เกี่ยวกับ “หนังสือภายใน” เอาไว้ในข้อ ๑๒ ดังนี้

ข้อ ๑๒ หนังสือภายใน คือ หนังสือติดต่อราชการที่เป็นแบบพิธีน้อยกว่าหนังสือภายนอกเป็นหนังสือ

ติดต่อภายในกระทรวง ทบวง กรม หรือจังหวัดเดียวกันใช้กระดาษบันทึกข้อความ และให้จัดท าตามแบบที่ ๒

ท้ายระเบียบโดยกรอกรายละเอียดดังนี้


๑๒.๑ ส่วนราชการ ให้ลงชื่อส่วนราชการเจ้าของเรื่อง หรือหน่วยงานที่ออกหนังสือโดยมีรายละเอยด
พอสมควร โดยปกติถ้าส่วนราชการที่ออกหนังสืออยู่ในระดับกรมขึ้นไปให้ลงชื่อส่วนราชการเจ้าของเรื่องทั้ง

ระดับกรมและกอง ถ้าส่วนราชการที่ออกหนังสืออยู่ในระดับต่ ากว่ากรมลงมาให้ลงชื่อส่วนราชการเจ้าของเรื่อง


เพียงระดับกองหรือส่วนราชการเจ้าของเรื่องพร้อมทั้งหมายเลขโทรศัพท์(ถ้าม)
๑๒.๒ ที่ ให้ลงรหัสตัวพยัญชนะและเลขประจ าของเจ้าของเรื่องตามที่ก าหนดไว้ในภาคผนวก ๑ ทับ

ิ่
เลขทะเบียน หนังสือส่งส าหรับหนังสือของคณะกรรมการ ให้ตัวก าหนดรหัสตัวพยัญชนะเพมขึ้นได้ตามความ
จ าเป็น

๑๒.๓ วันที่ ให้ลงตัวเลขของวันที่ ชื่อเต็มของเดือนและตัวเลขของปีพทธศักราชที่ออกหนังสือ

๑๒.๔ เรื่อง ให้ลงเรื่องย่อที่เป็นใจความสั้นที่สุดของหนังสือฉบับนั้น ในกรณีที่เป็นหนังสือต่อเนื่องโดย

ปกติให้ลงเรื่องของหนังสือฉบับเดิม

๒๑

๑๒.๕ ค าขึ้นต้น ให้ใช้ค าขึ้นต้นตามฐานะของผู้รับหนังสือตามตารางการใช้ค าขึ้นต้นสรรพนาม และ

ค าลงท้ายที่ก าหนดไว้ในภาคผนวก ๒ แล้วลงต าแหน่งของผู้ที่หนังสือนั้นมีถึง หรือชื่อบุคคลในกรณีที่มีตัวบุคคล

ไม่เกี่ยวกับต าแหน่งหน้าที่

๑๒.๖ ข้อความ ให้ลงสาระส าคัญของเรื่องให้ชัดเจนและเข้าใจง่ายหากมีความประสงค์หลายประการ

ให้แยกเป็นข้อๆ กรณีที่มีการอ้างถึงหนังสือที่เคยมีติดต่อกันหรือมีสิ่งที่ส่งมาด้วย ระบุไว้ในข้อนี้

๑๒.๗ ลงชื่อและต าแหน่ง ให้ปฏิบัติตามข้อ ๑๑.๑o และข้อ ๑๑.๑๑ โดยอนุโลมในกรณีที่กระทรวง

ื่
ทบวง กรมหรือจังหวัดใด ประสงค์จะก าหนดแบบในการเขียนโดยเฉพาะเพอใช้ตามความเหมาะสมก็ให้
กระท าได้

บุคลากร เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานราชการเมื่อต้องปฏิบัติงานที่เกี่ยวกับ “หนังสือภายใน”แล้วก็ต้อง

ด าเนินการตามระเบียบส านักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณแบบนี้เหมือนกันทั้งนั้น นี่คือตัวอย่างของ

หลักกฎ ระเบียบ และข้อบังคับ

๓) Division of Labor: หลักการแบ่งแยกแรงงาน

หลักการแบ่งแยกแรงงานนี้ นับเป็นหนึ่งในแนวคิดส าคัญเกี่ยวกับการปฏิบัติงานเลยทีเดียวหลักการนี้คือ

การก าหนดว่างานแต่ละอย่างในองค์กรนั้นจะต้องมีผู้รับผิดชอบประจ าเป็นต าแหน่งๆไป การแบ่งงานกันท าจะ

ท าให้บุคลากรที่ต้องปฏิบัติงานนั้นๆ ซ้ าไปซ้ ามาเกิดความช านาญงานเฉพาะอย่าง (specialization)

การท างานก็จะเกิดประสิทธิภาพสูงผลผลิตเพิ่มขึ้นผลงานมีความถูกต้องแม่นย าสูง

๔) Impersonality: หลักการแยกเรื่องส่วนตัวออกจากเรื่องงาน

การแยกเรื่องส่วนตัวออกจากเรื่องงานหรือก็คอการที่บุคลากรต้องการแยกผลประโยชน์ส่วนตัวออกจาก

ผลประโยชน์ขององค์การ สิ่งนี้เป็นแบบแผนที่องค์กรต้องสร้างขึ้นมาเพื่อให้บุคลากรค านึงถึงผลประโยชน์

ส่วนรวมขององค์การ บุคลากรจะต้องไม่น าเอาเรื่องส่วนตัวเข้ามาปะปนกับเรื่องงานต้องไม่น าความรัก ชอบ

โกรธ เกลียด ส่วนตัวมาท าให้งานที่รับผิดชอบเกิดความเสียหาย

๕) Competence:หลักการยึดหลักความสามารถในการท างาน

หลักความสามารถเป็นส่วนหนึ่งของระบบคุณธรรม ที่ส่งเสริมคนให้มีความเจริญก้าวหน้าได้ด้วยการเล่น

พรรคพวก การเลือกที่รักมักที่ชัง ซึ่งเป็นวิธีการของระบบอปถัมภ์ เมื่อองค์กรส่งเสริมคนตามความสามารถ

ก็ย่อมจะได้คนเก่งคนดีเข้ามาท างาน ทั้งเป็นการสร้างขวัญและก าลังใจให้แก่บุคลากรผู้ปฏิบัติงานในด้านของ

การแสดงให้เห็นเส้นทางความก้าวหน้าในสายงานหรืออาชีพของเขา และเมื่อเป็นเช่นนี้ บุคลากรก็จะเริ่ม

แข่งขันกันด้วยการสร้างผลงานมากกว่าการเลียแข้งเลียขาผู้บังคับบัญชา

๒๒

๖) Formal written records : หลักการปฏิบัติงานแบบลายลักษณ์อักษร

สิ่งนี้ก็คือ บรรดาบันทึกข้อความ จดหมายรายงานต่างๆนั่นเอง วัตถุประสงค์ของหลักการนี้ก็เพอให้การ
ื่
ท างานขององค์กรมีความต่อเนื่อง มีความแน่นอน มีหลักฐานสามารถยืนยันได้ รวมทั้งเมื่อมีการเปลี่ยนแปลง



ตัวคนผู้ปฏิบัติงาน ผู้ที่เข้ามาแทนที่จะได้สามารถศึกษาอางองรูปแบบ วิธีการปฏิบัติงานของคนก่อนหน้าได้

ท าให้การปฏิบัติงานไม่ขึ้นอยู่กับตัวคน นอกจากนี้การปฏิบัติงานที่ด าเนินการให้เป็นลายลักษณ์อกษรนี้ยังคง
เป็นหลักประกันส าหรับการติดต่อกันระหว่างองค์กรของเรากับองค์กรหรือหน่วยงานอนๆ ว่ามีการด าเนินการ
ื่
ระหว่างกันหรือมีข้อตกลงกันอย่างไรเป็นหลักฐานอ้างอิงได้

๒.วิทยาศาสตร์การจัดการของ เฟรเดอริก เทย์ เลอร์(Frederick Taylor)

เฟรเดอริก เทย์เลอร์ ( Frederick Taylor) มีชีวิตอยู่ระหว่าง ค.ศ.๑๘๕๖ – ๑๙๕๑ คือผู้ที่ได้รับ

การขนานนามว่าบิดาแห่งวิทยาศาสตร์การจัดการ เป็นวิศวกรชาวอเมริกัน ผลงานชิ้นส าคัญของเขาคือ

หนังสือเรื่องหลักการและจัดการแบบวิทยาศาสตร์ ( The Principles of Scientific Management )


เขียนขึ้นในปี ค.ศ.๑๙o๙แต่ได่รับการตีพมพใน ค.ศ. ๑๙๑๑หลักการส าคัญของวิทยาศาสตร์การจัดการตาม

แนวคิดของ เทย์เลอร์ คือการที่เขาเชื่อว่าการประกอบกิจกรรมทุกอย่างใดอย่างหนึ่งนั้นจะต้องมีทางที่สุด

(One Best Way) ซึ่งการที่จะหาหนทางที่ดีที่สุดในการท างานมาให้ได้นั้น ต้องด าเนินการกรรมวิธีเรียกว่า

การวิเคราะห์งาน นั่นคือการแจกแจงแยกแยะงานแต่ละอย่างออกเป็นส่วนๆให้เล็กที่สุด จากนั้นก าหนดว่าอะไร

เป็นผลที่เกิดขึ้นจากงานนั้นๆ มีงานส่วนไหนบ้างที่ไม่มีความจ าเป็น การวิเคราะห์งานแบบนี้เทย์เลอร์เห็นว่า

ื้
เป็นพนฐานของสิ่งที่เรียกว่า การออกแบบทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งก็หมายถึงการค านาณเพอหาหนทางที่ดีที่สุด
ื่
โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อยกเลิกการท างานแบบเดิมๆ ตามความเคยชิน

เทย์เลอร์ ได้น าเสนอหลักการส าหลับการปรับปรุงประสิทธิภาพในการท างานให้ดีขึ้นดังต่อไปนี้

๑. ผู้บริหารจะต้องมีความรับผิดชอบในเรื่องของการวางแผนการท างานควรจะต้องมีวิธีการท างาน

อย่างไร งานที่ต้องด าเนินการจ าเป็นต้องใช้เครื่องมืออะไรบ้าง เครื่องมือที่เหมาะสมกับการท างานเป็น

อย่างไร
๒. ต้องใช้หลักเกณฑ์ในการแบ่งงานตามความถนัด (Specialization) ให้มากที่สุด ด้วยการจ ากัดคนงาน


แต่ละคนได้ท างานแต่เพยงส่วนน้อยของงานภายใต้การวางแผนก าหนดวิธีการท างาน เครื่องมือที่จะ
น ามาใช้ และค าแนะน าในการท างานของผู้เชี่ยวชาญที่ก าหนดขึ้นมาอย่างชัดเจน

๓. ไม่ควรจ ากัดผลผลิตของคนงาน (ว่าเอาแต่มาตรฐานเท่านั้น) แต่ควรมุ่งเน้นไปที่ผลผลิตสูงสุด โดยต้อง

ใช้การเสนอค่าจ้างแบบจูงใจ พร้อมทั้งมีการก าหดมาตรฐานของงาน การเลือกเครื่องมือที่ถูกต้อง

การฝึกอบรมหรือการสอนวิธีการท างานที่ถูกต้องให้แก่คนงาน ทั้งนี้เพอยกระดับมาตรฐานการท างาน
ื่
ของตนงานอันจะส่งผลให้พวกเขาได้รับค่าตอบแทนที่สูงขึ้นเนื่องจากการที่พวกเขาสามารถปฏิบัติงาน
ได้สูงกว่ามาตรฐานที่ก าหนดไว้เมื่อเป็นเช่นนี้คนงานก็จะมีความพยายามเพมประสิทธิภาพ
ิ่

๒๓

ในการท างานของตนเองให้มากขึ้น ให้สูงกว่ามาตรฐานเพราะมีค่าจ้างงานที่สูงขึ้นเป็นแรงจูงใจท าให้

ผู้บริหารสามารถเลือกจ้างแต่ละคนงานที่มีประสิทธิภาพได้

เทย์เลอร์ เห็นว่าหากการด าเนินการตามแนวทางวิทยาศาสตร์การจัดการแล้วจะสามารถลดความขัดแย้ง

ระหว่างนายจ้างกับลูกจ้างได้ เนื่องจากทุกฝุายต่างมีความเข้าใจในหลักเกณฑ์ของการท างานเป็นอย่างดีและ

คนงานก็สามารถได้รับค่าจ้างแรงงานที่สูงขึ้นหากเพิ่มประสิทธิภาพในการท างานของตนเองให้สูงกว่ามาตรฐาน

ได้

วิทยาศาสตร์ของเทย์เลอร์นี้แม้ว่าจะดูเป็นสิ่งที่มีความเป็นเหตุผลสูง แต่ก็ได้รับการวิพากษ์วิจารณ์ รวมทั้ง
๑๐
การต่อต้านจากหลายฝุาย ดังกรณีที่จะยกมาต่อไปนี้

การถูกปฏิเสธจากสหภาพการค้า แนวทางการบริหารของเทย์เลอร์ถูกปฏิเสธจากสหภาพการค้าของ

สหรัฐอเมริกา ซึ่งถือว่าวิทยาศาสตร์การจัดการเป็นวิธีใหม่ในการใช่ประโยชน์ของชนชั้นแรงงานมากขึ้นแต่มติ

หนึ่งของสหภาพแรงงานอเมริกัน (The American Federation of Labour) ยังเรียกมันว่าแผนที่โหดร้าย

ในการลดความเป็นมนุษย์ให้เป็นแค่เครื่องจักรคนงานถูกบอกให้ท าตัวเหมือนเครื่องจักร


ความขุ่นเคืองใจจากผู้บริหาร วิธีการของเทย์เลอร์ไม่เพยงแต่ท าให้หัวหน้ากลุ่มเท่านั้นที่มีความขุ่นเคือง
แต่ยังสร้างความขุ่นเคืองให้กับผู้บริหารระดับสูงด้วย ผู้ที่ได้ต าแหน่งการบริหารที่สูงขึ้นโดยมีระดับสูงและได้รับ

การฝึกอบรมกลัวว่าจะถูกเทย์เลอร์กล่าวหาว่ามีคุณสมบัติที่ไม่เหมาะสมในการบริหารเป็นที่น่าสังเกตว่า

เทย์เลอร์ถูกบังคับให้ออกจากต าแหน่งแรกของเขาที่ The Midvale Steel Works เพราะการขัดแย้งกับ

ผู้จัดการบริษัทกระทั่งในที่สุดเมื่อ ๑ พฤษภาคม ค.ศ. ๑๙๐๑ บริษัทก็ให้เขาออก

การสอบสวนวิธีการของเทย์เลอร์โดยคณะกรรมการคองเกรส ในปี ค.ศ. ๑๙๑๒ คณะกรรมการพเศษ

ของสภาผู้แทนราษฎรของสหรัฐอเมริกาได้เข้าแทรกแทรงสหภาพการค้า โดยการสืบสวนระบบของเทย์เลอร์

ผลที่ตามมาในค.ศ.๑๙๑๕ ก็คือ พวกเขาได้ออกกฎหมายห้ามการใช้นาฬิกาจับเวลาหรือการจ่ายโบนัสในกรม

สรรพาวุธของกองทัพ กฎหมายดังกล่าวมีผลบังคับใช้จนถึงช่วงสงครามโลกครั้งที่ ๒ ในปัจจุบันนี้แนวทาง

วิธีการแบบวิทยาศาสตร์การจัดการของเทย์เลอร์ยังเป็นสิ่งที่ได้รับการน ามาใช้อยู่เสมอ โดยเฉพาะในโรงงาน

ต่างๆ ซึ่งแม้ว่าหนทางที่ดีที่สุดในการท างานจะเป็นยอดปรารถนาในการบริหารงาน แต่จุดออนที่สุดของ


วิทยาศาสตร์การจัดการก็คือการที่หลักการนี้มองคนเป็นเพยงเครื่องจักรเท่านั้นท าให้คนสูญเสียความรู้สึกการ
เป็นมนุษย์สูญเสียคุณค่าของตัวเองไปที่นี่จะได้ยกกรณีโรงงานฟอกช์คอนน์มาเป็นตัวอย่าง

ฟอกช์คอนน์ เทคโนโลยี กรุ๊ป (Foxconn Technology Group) ซึ่งมีบริษัทแม่คือ หงไห่ พรี ซีซัน


อนดัสทรี แห่งไต้หวัน (Hon Hai Precision Industry Co ) เป็นบริษัทสินค้าตามสัญญารายใหญ่ที่สุดในโลก

๑๐
ชาญชัย อาจินสมาจาร, ทฤษฎีการบริหารตามแนวคิดของปราชญ์ตะวันตก, (ส านักพิมพ์ปํญญาชน : กรุงเทพ
,๒๕๕๑), หน้า ๑๑-๑๒.

๒๔


ผลิตชิ้นส่วนคอมพวเตอร์และป็นผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์กับบริษัทแอปเปิ้ลลูกค้ารายใหญ่ของฟอกช์คอนน์
ล้วนเป็นบริษัทข้ามชาติอาทิ Dell Nokia Hewlett Packard Sony IBM Lenovoฟอกช์คอนน์ มีโรงงาน

หลายแห่งในมณฑลต่างๆ ของแผ่นดินใหญ่ มีคนงานโรงงานฟอกช์คอนน์ไท่หยวน มีคนงาน ๗๙,๐๐๐ คน


เป็นหนึ่งในโรงงานผลิต iPhone 5 กลุ่มการติดตามการกดขี่แรงงาน SACOM ที่มีฐานในฮองกงท าการส ารวจ
โดยสัมภาษณ์คนงานของฟอกช์คอนน์กลุ่มหนึ่งในโรงงานภาคใต้และตะวันออกของจีนและได้เผยแพร่รายการ

เมื่อวันที่ ๓ พ.ค. ๒๕๕๔ ระบุว่าเงื่อนไขการท างานที่เลวร้ายมาก คนงานฟอกช์คอนน์ต้องท างานล่วงเวลา

๘๐ – ๑๐๐ ชั่วโมงต่อเดือน นอกเหนือไปจากเวลาที่ต้องท างานปกติเดือนละ๑๗๔ชั่งโมง ซึ่งสูงกว่าที่กฎหมาย

จีนก าหนดไว้ถึง ๓ เท่า ทั้งนี้ แรงงานส่วนมากต้องท างานล่วงเวลาให้มากที่สุดเพราะว่าเงินเดือนปกติพอ

ประทังชีวิต เงินเดือนของฟอกช์คอนน์อยู่ที่ ๒๐๐ เหรียญหรือประมาณ ๖๐๐๐ บาท นอกจากนี้โฆษก

Geoffrey Crothallของ China Labour Bulletin ซึ่งมีฐานในฮองกงระบุฟอกช์คอนน์เลี่ยงสื่อในด้านการ

จัดการแบบเผด็จการและใช้วินัยเหล็กชนิดสุดโต่ง การท างานในสภาพแวดล้อมแบบนี้คนงานไม่ผิดอะไรกับ

หน่วยหนึ่งของการผลิตหมือนหุ่นยนต์ ไม่ใช่มนุษย์


กรณีฟอกช์คอนน์นี้เป็นเพยงตัวอย่างหนึ่งในตัวอย่างจ านวนมากมายมหาศาลที่เกิดขึ้นจากการใช้
วิทยาศาสตร์การจัดการ การจะแก้ปัญหาเช่นนี้ควรจะอยู่ที่การหาจุดสมดุลระหว่างวิทยาศาสตร์กับความเป็น

มนุษย์ให้เจอเพื่อที่คนงานในระบบเช่นนี้จะได้ไม่เป็นเพียงเครื่องจักรกลที่มีลมหายใจ แต่วิธีการที่ว่านี้ก็ดูจะเป็น

เรื่องที่ท าได้ยากแสนภายใต้แนวคิดแบบก าไรสูงสุด

๓.หลักการบริหาร ของ เฮนรี่ ฟาโยล์ ( Henri Fayol)

เฮนรี ฟาโยล์ เป็นชาวฝรั่งเศส มีชีวิตอยู่ระหว่าง ค.ศ. ๑๘๔๑ – ๑๙๒๕ เขามีอาชีพเป็นวิศวกรเหมือง

แร่และของบริษัทเหมืองแร่ การที่เขาได้รับการขนานนามว่าเป็นผู้บุกเบิกทฤษฎีหลักการบริหาร ฟาโยล์มีทัศคติ

ต่อการบริหารว่าเป็นกิจกรรมของทุกๆคน คนไม่ว่าจะเป็นในบ้านในธุรกิจเอกชนหรือภาครัฐบาล เขาเน้นย้ าว่า

ไม่มีทฤษฎีทางการบริหารทฤษฎีหนึ่งส าหรับเรื่องราวของรัฐและเมื่อการผู้ที่สนับสนุนให้มีการฝึกอบรมทางการ

บริหารส าหรับบุคลากรทุกๆระดับ เพราะเขาไม่เชื่อว่าการบริหารจะสามารถพัฒนาได้จากการเรียนรู้ด้วยตัวเอง

เพียงล าพัง

ฟาโยล์ให้ความส าคัญกับการบริหารมากจนถึงเสนอว่าการเรียนการสอนด้านการบริหารนั้นควรจะมี

ตั้งแต่ในโรงเรียนประถมเลยทีเดียวและเพื่อท าให้บริหารด าเนินไปอย่างถูกต้องเหมาะสมการบริหารทุกอย่างจึง

ควรที่จะใช้หลักการเดียวกัน ฟาโยล์ ให้ความส าคัญกับการด าเนินงานขององคกรแบบบนสู่ล่าง (Top-Down )

เขาได้ใช้เวลายาวนานในการพัฒนาทฤษฎีในการบริหารและในที่สุดเขาก็ได้ข้อก าหนดหลักกานบริหาร ๑๔ ข้อ

โดยเขามองว่าหลักการนี้มีความยืดหยุ่นเพียงพอที่จะปรับใช้ได้กับการด าเนินการทุกๆองค์กร มีดังต่อไปนี้

๒๕

๑. การแบ่งงานกันท า ( Division of work )

หลักการท างานของฟาโยล์ก็เป็นเช่นเดียวกับการแบ่งแยกโรงงานของแมกช์ เวเบอร์ นั่นคือการ

แบ่งแยกหน้าที่ในการท างานตามแนวราบ บุคลากรแต่ละคนต้องช านาญเฉพาะอย่าง ซึ่งจะก่อให้เกิดความ

ช านาญงานอย่างเฉพาะ(specialization )ขึ้น ฝุายธุรกิจ ฝุายผลิต ฝุายบุคคล ฝุายการเงิน ฝุายขนส่ง

เป็นต้น

๒. อ านาจหน้าที่และความรับผัดชอบ ( Authority And Responsibility )

อานาจหน้าที่และความรับผิดชอบนั้นเป็นของที่ต้องอยู่คู่และมีความสัมพนธ์กันอย่างใกล้ชิดเพราะ

ื่
อานาจหน้าที่คือ สิทธิที่จะต้องออกค าสั่งและปฏิบัติการเพอได้มาซึ่งการยอมรับในสังคมนั้น แต่เมื่อ

บุคลากรใดมีอานาจหน้าที่สูงขึ้นแล้วบุคลากรนั้นจ าเป็นต้องมีความรับผิดชอบสูงขึ้นตามไปด้วยทั้งนี้
ื่
คนทั่วไปจะต้องการรับแต่ชอบไม่ต้องการรับผิด ดังนั้นองค์กรจึงต้องมีมาตรการพเศษต่างๆขึ้นเพอจูงใจ

บุคลากรยอมรับความรับผิดชอบในขณะที่มีอานาจหน้าที่
๓. วินัย (Discipline)

องค์กรที่ประสบความส าเร็จนั้นมักเป็นองค์กรที่มีบุคลากรที่เป็นผู้มีวินัยปฏิบัติข้อบังคับที่องค์กร

ก าหนดไว้เรื่องนี้เป็นสิ่งที่ต้องได้รับความร่วมมือจากบุคลากรทุกๆคนการสร้างวินัยให้เกิดขึ้นในตัวบุคลากร

ขององค์กรเป็นหน้าที่ส าคัญของผู้น าองค์กร ดังนั้นจึงต้องมีการก าหนดบทลงโทษให้ชัดเจนและยุติธรรม

บังคับใช้โดยทั่วไปเพื่อส่งเสริมให้บุคลากรมีระเบียบวินัยอย่างเคร่งครัด

๔. เอกภาพในการบังคับบัญชา (Unityof command)

หลักการของเรื่องนี้คือ การที่เจ้านายคนหนึ่งจะมีลูกน้องกี่คนก็ได้แต่ข้อส าคัญคือลูกน้องคนหนึ่ง


จะต้องมีเจ้านายได้เพยงคนเดียว เมื่อเป็นดังนี้แล้วเอกภาพในการบังคับบัญชาจึงจะเกิดขึ้นได้ เนื่องจาก
ลูกน้องที่ต้องรับค าสั่งจากเจ้านายพร้อมกันถึงสองคนคงจะสามารถอยู่รอดได้ยาก

๕. เอกภาพในการอ านวยการ (Unity of direction)

เอกภพในการอานวยการคือการที่องค์กรหนึ่งๆควรมีเปูาหมายหลักอยู่เพยงเปูาหมายเดียวและ

ื่
กิจกรรมหรือการด าเนินงานขององคาพยพทุกส่วนขององค์กรจะต้องด าเนินไปเพอให้องค์กรสมารถก้าวไป
ถึงเมื่อผู้บังคับบัญชาในทุกระดับเข้าใจเปูาหมายถูกต้องตรงกันอย่างชัดเเจ้งแล้ว การสั่งการก็จะเป็นไปใน

ทิศทางเดียวกันด้วย

๒๖

๖. การค านึงถึงผลประโยชน์ส่วนรวมมากกวาผลประโยชน์ส่วนตัว (Subordination of

individual interest to the general interest)

การปล่อยให้ผลประโยชน์ส่วนตัวของบุคลากรคนใดคนหนึ่งหรือกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งมาอยู่เหนือ

ผลประโยชน์ขององค์กรแล้ว ก็ไม่ต่างอะไรกับการจ้างโจรมาเป็นเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยนั่นเอง

ทั้งนี้ หลักการ นี้ยังรวมไปถึงเรื่องของการน าเอาอารมณ์ส่วนตัวมาปะปนกับกับท างานอีกด้วย

๗. การให้ผลประโยชน์ตอบแทน (Remuneration)

การจ่ายค่าตอบแทนแก่บุคลากรควรเป็นไปตามความยุติธรรมในการให้ผลประโยชน์ตอบแทนแก่


บุคลากรจะต้องค านึงถึงปัจจัยหลากหลายประการในการพจารณา เช่น ค่าครองชีพ คุณสมบัติของ
บุคลากร ภาระหน้าที่ของต าแหน่ง สภาพผลประกอบการขององค์กร

๘. การรวมอ านาจ (Centralization)

การรวมอานาจเข้าสู่ศูนกลางนั้นเป็นเรื่องธรรมชาติขององค์ขนาดใหญ่ทั่วไป แม้ว่าจะได้มีการแบ่ง

อานาจออกไปให้ผู้บังคับบัญชาชั้นต่างๆก็ตาม แต่ที่สุดอานาจการตัดสินครั้งสุดท้ายก็ยังคงเป็นของ

ผู้บังคับบัญชาขั้นสูงสุดอยู่ดี ทั้งนี้การที่องค์กรใดจะแบ่งอานาจหรือกระจายอานาจไปแต่ระดับชั้นแค่ไหน

อย่างไรก็ขึ้นอยู่กับสภาพหรือองค์กรนั้นๆเป็นส าคัญ

๙. สายการบังคับบัญชา (Scalar chain)

สายการบังคับบัญชานี้ฟาโยล์แสดงให้เห็นว่าผู้บังคับบัญชาในแต่ละดับชั้นล้วนเป็นส่วนหนึ่งของอานาจ

หน้าที่ซึ่งต่อเนื่องกันเป็นห่วงโซ่ ดังนั้น การติดต่อสื่อสารกันระหว่างของบุคลากรที่อยู่ต่างแผนกกัน

ในองค์กรเป็นทางการจึงต้องด าเนินการไปตามล าดับชั้นของการบังคับบัญชาหรือสายการบังคับบัญชา

แต่วิธีการเช่นที่ว่านี้ก็มีความเป็นไปได้ที่จะก่อให้เกิดความวุ่นวายเกินความจ าเป็นขึ้นมา

๑๐ การจัดระเบียบ (Order)


การจัดระเบียนทั้งส่วนของเครื่องมือเครื่องใช้ อปกรณ์การท างาน วัตถุดิบในการผลิต รวมไปถึง
บุคลากร เมื่อด าเนินการแล้วก็จะช่วยให้เกิดความสะดวกและมีประสิทธิภาพในการท างาน ในส่วนของ

สิ่งของ อุปกรณ์ การจัดระเบียบควรอยู่ใต้หลักการที่ว่า หยิบก็ง่าย หายก็รู้ ดูก็งามตา ส่วนการจัดระเบียบ

ของบุคลากรควรอยู่ภายใต้หลักการใช้คนให้ถูกงาน เพราะบุคลากรแต่ละคนควรอยู่ในต าแหน่งไหนที่

เหมาะสมกับคุณสมบัติและความสามารถ

๑๑ ความเสมอภาค (Equity)

บุคลากรทุกคนในองค์กรควรจะได้รับการปฏิบัติอย่างเสมอภาคหรือเท่าเทียมกันเข้าท านอง

ฝนตกทั่วฟูา เท่าที่จะสามารถเป็นไปได้หรืออาจกล่าวอกอย่างหนึ่งได้ว่าปฏิบัติต่อบุคลากรในกรณีเดียวกัน

ควรต้องเป็นไปแนวทางเดียวกันไม่ปฏิบัติอย่างสองมาตรฐาน

๒๗

๑๒ ความมั่นคงในหน้าที่การงาน (Stability of tenure of personnel)

ความมั่นคงในหน้าที่การงานของบุคลากรถือเป็นขวัญใจก าลังใจประการส าคัญของบุคลากรที่มี

หลักประกันว่าบุคลากรจะไม่ถูกไล่ออกจากงานโดยไม่มีเหตุผลหรือไม่มีความผิดตามกฎระเบียบข้อบังคับ

ที่องค์กรได้ก าหนดไว้จึงเป็นเรี่องส าคัญ

๑๓ ความคิดริเริ่ม (Initiative)

ความคิดริเริ่มถือเป็นอาวุธส าคัญประการหนึ่งในการสร้างความเข้มแข็งให้แก่องค์กร ดังนั้นผู้บริหารที่

ดีจึงต้องส่งเสริมบุคลากรให้มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ปัจจัยส าคัญประการหนึ่งคือ

ื่
ผู้บริหารหรือผู้บังคับบัญชาจะต้องเปิดใจกว้างลดทิฐิมานะของตนเองเพอรับฟงความคิดใหม่ของ

ผู้ใต้บังคับบัญชา

๑๔ ความสามัคคี (Esprit de corps of union is strength)

ิ่
ความสามัคคีของบุคลากรในองค์กร จะท าให้ความสามารถขององค์กรเพมพนขึ้น ฟาโยล์ เห็นว่าการ


แบ่งแยกก าลังของศัตรูให้ออนแอลงเป็นการกระท าที่ชาญฉลาด ดังนั้น ผู้บริหารจึงมีหน้าที่ในการในการ
ส่งเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคลากรในองค์การ

หลักการบริหารของเฮนรี ฟาโยล์ มีเนื้อหาที่ครอบคลุมการปฏิบัติงานเกี่ยวกับองค์กรอย่างกว้างขวาง

แต่ก็ให้ความส าคัญเกี่ยวกับเรื่องประสิทธิภาพในการท างาน การตอบสนองต่อความรู้สึกของบุคลากร

และการบริหารงานที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมภายในองค์กร อย่างไรก็ดี คุณูปการส าคัญที่เฮนรี ฟาโยล์

ได้มอบให้แก่การศึกษาศาสตร์การบริหารก็คือ ความพยายามในการวางหลักการทางการบริหารที่เป็น

สากลขึ้นมา

๔.หลักการ POSDCoRB ของ กูลิค และอูร์วิก( Luther H. Gulick and LyndallUrwick)

ภายหลังจากที่เฮนรี ฟาโยล์ ได้วางหลักการบริหาร ๑๔ ข้อ เอาไว้แนวคิดเกี่ยวกับหลักการบริหาร


ก็ได้รับความสนใจศึกษาและพฒนาต่อมา อาจกล่าวได้ว่าแนวคิดหลักการบริหารได้รับการพฒนามาถึงจุดที่

เฟองฟที่สุดใน ค.ศ. ๑๙๓๗ เมื่อลูเธอร์ เอช กูลิค และ แลนดอลล์ อร์วิค (Luther H. Gulick and


ื่
LyndallUrwick) ได้ร่วมกันเป็นบรรณาธิการหนังสือชื่อ “เอกสารว่าด้วยศาสตร์การบริหาร” (Papers on the
Science of Administration) เอกสารชิ้นนี้ได้รวบรวมแนวคิดของนักคิดที่เชื่อในแนวคิดที่เชื่อในแนวทาง

หลักการบริหารเอาไว้

กูลิค เป็นชาวอเมริกันแต่เขาเกิดที่เมืองโอซาก้า ประเทศญี่ปุุน ใน ค.ศ. ๑๙๘๒ จบการศึกษาปริญญาเอก



มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย ส่วนอร์วิค เป็นชาวองกฤษ เกิดที่เมือง Worchectershire ประเทศองกฤษเมื่อ ค.ศ.


๑๘๙๑ จบสาขาวิชาประวัติศาสตร์จากมหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ด ทั้งสองเคยด ารงต าแหน่งต่างๆ มากมาย

๒๘

ื่
พวกเขาได้สรุปหลักการส าคัญที่ผู้บริหารจะต้องปฏิบัติเพอด าเนินภารกิจขององค์กรเป็นหลักการบริหารทั้งสิ้น
๗ ประการ ด้วยกัน และเป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางในนามของ “POSDCoRB” มีรายละเอียดดังต่อไปนี้

๑. Planning การวางแผน

๒. Organizing การจัดองค์การ

๓. Staffing การบริหารงานบุคคล

๔. Directing การอ านวยการ
๕. Coordinating การประสานงาน

๖. Reporting การรายงาน

๗. Budgeting การงบประมาณ

Planning การวางแผน คือ การก าหนดเปูาหมาย หรือวัตถุประสงค์ขององค์กรว่าจะด าเนินการไปได้

อย่างไร และวิธีการปฏิบัติที่จะท าให้บรรลุเปูาหมายนั้นต้องด าเนินการอย่างไรบ้าง

Organizing การจัดองค์การ คือ การจัดตั้งโครงสร้างอ านาจอย่างเป็นทางการภายในองค์กร เพอให้
ื่
ปฏิบัติงานและการประสานงานต่างๆ ระหว่างภายในหน่วยงานองค์กรสามารถด าเนินไปได้อย่างเป็นระบบที่มี

ระเบียบ

Staffing การบริหารงานบุคคล คือ การด าเนินการเกี่ยวกับการสรรหา บรรจุ พัฒนารักษาบุคลากรองค์กร

รวมไปถึงการสร้างบรรยากาศที่ดีต่อการท างานให้เกิดขึ้นภายในองค์การด้วย

Directing การอานวยการ คือ การตัดสินใจด าเนินการเรื่องต่างๆ และแปลงการตัดสินใจนั้นออกมาเป็น
ค าสั่งการและค าแนะน าให้แก่บุคลากรในองค์กร นอกจากนี้ยังรวมไปถึงการสร้างภาวะผู้น าของผู้บริหารหรือ

ผู้บังคับบัญชาอีกด้วย

Coordinating การประสานงาน คือ การเชื่อมโยงการท างานของหน่วยงานต่างภายในองค์กรเข้าด้วยกัน

เพื่อให้เกิดการท างานที่มีความสอดคล้อง สัมพันธ์และไปในทิศทางเดียวกันกับเปูาหมายขององค์กร


Reporting การรายงาน คือ การแจ้งข้อมูล รายละเอยด ความเคลื่อนไหวขององค์กรให้บังคับบัญชาหรือ
บุคลากรที่มีหน้าที่เกี่ยวกับข้องได้รับทราบ

Budgeting การงบประมาณ คือ การวางแผนรายรับ-รายจ่าย รวมทั้งการจัดท าบัญชีขององค์กร

ื้
หลักการ POSDCoRB นี้ถือได้ว่าเป็นหลักการพนฐานทางการบริหารองค์กรโดยทั่วไปใช้ในการด าเนินงาน
ื่
ิ่
ิ่
ขององค์กรจนกระทั่งถึงปัจจุบัน และถึงแม้ว่าจะมีการปรับปรุงเพมเติมในประเด็นอนเพมขึ้นมาบ้าง แต่ก็ถือว่า
เป็นหัวข้อย่อยที่แยกจากแนวทางหลักทั้ง ๗ ประการ แนวคิดนี้จึงเป็นแนวคิดที่ทรงอทธิพลอย่างยิ่งในการ

บริหารงาน